ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2485"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 11: บรรทัดที่ 11:




ในปี พ.ศ.2485 ได้มีการประกาศให้พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๔๘๕<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ ) พุทธศักราช 2485,  ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32 หน้า 1041-1043.</ref>  ซึ่งตราขึ้นในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2485
ในปี พ.ศ.2485 ได้มีการประกาศให้[[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485]]<ref>[[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485]],  ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32 หน้า 1041-1043.</ref>  ซึ่งตราขึ้นในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2485


ใจความหลักของพระราชบัญญัติฉบับนี้ เป็นการยกเลิกมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พุทธศักราช 2482 โดยให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
ใจความหลักของพระราชบัญญัติฉบับนี้ เป็นการยกเลิกมาตรา 21 แห่ง[[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พุทธศักราช 2482]]] โดยให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
“ มาตรา 21 ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น
“ มาตรา 21 ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ใน[[จังหวัด]]ใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็น[[สมาชิกสภาจังหวัด]]ในจังหวัดนั้น


ห้ามมิให้พนักงานเทศบาลซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกแห่งสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น
ห้ามมิให้พนักงาน[[เทศบาล]]ซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกแห่งสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น


ห้ามมิให้ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลซึ่งมีเงินเดือนประจำในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น
ห้ามมิให้ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลซึ่งมีเงินเดือนประจำในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น


ในกรณีที่ไม่ต้องตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการพนักงานเทศบาล ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลผู้ใดได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัดแล้ว ผู้นั้นต้องลาออกจากตำแหน่ง ในส่วนของข้าราชการนั้นให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญด้วยเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ และถ้าเป็นข้าราชการทหารก็อาจได้รับเบี้ยหวัดบำนาญตามระเบียบของทหาร
ในกรณีที่ไม่ต้องตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการพนักงานเทศบาล ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของ[[รัฐบาล]]ผู้ใดได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัดแล้ว ผู้นั้นต้องลาออกจากตำแหน่ง ในส่วนของข้าราชการนั้นให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญด้วยเหตุทดแทนตาม[[กฎหมาย]]ว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ และถ้าเป็นข้าราชการทหารก็อาจได้รับเบี้ยหวัดบำนาญตามระเบียบของทหาร
ความในมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง”
ความในมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง”
เมื่อพิจารณามาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๔๘๕ เปรียบเทียบกับกฎหมายเดิมคือ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พุทธศักราช ๒๔๘๒ แล้วพบว่า ในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๔๘๕ ได้เพิ่มข้อความขึ้นมาวรรคหนึ่ง นั่นคือวรรคสุดท้ายที่ว่า “ความในมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง” นอกจากนั้นมาตรา 21 ของกฎหมายทั้ง 2 ฉบับมีข้อความที่เหมือนกันหมด
เมื่อพิจารณามาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485 เปรียบเทียบกับกฎหมายเดิมคือ [[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พุทธศักราช 2482]] แล้วพบว่า ในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485 ได้เพิ่มข้อความขึ้นมาวรรคหนึ่ง นั่นคือวรรคสุดท้ายที่ว่า “ความในมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง” นอกจากนั้นมาตรา 21 ของกฎหมายทั้ง 2 ฉบับมีข้อความที่เหมือนกันหมด


ตำแหน่งข้าราชการการเมือง มีการกล่าวถึงครั้งแรกในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 โดยในกฎหมายเรียกว่า ข้าราชการพลเรือนการเมือง เป็นหนึ่งในห้าประเภทของข้าราชการพลเรือน หมายถึง ผู้ซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองตามบทพระราชบัญญัติ<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 51 หน้า 45 วันที่ 24 เมษายน 2477, มาตรา 5.</ref>  และในบัญชีอัตราเงินเดือนซึ่งอยู่ท้ายพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 ได้แสดงให้เห็นว่าตำแหน่งข้าราชการการเมือง  <ref>เพิ่งอ้าง, บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน. น.76.</ref>ได้แก่
ตำแหน่งข้าราชการการเมือง มีการกล่าวถึงครั้งแรกใน[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476]] โดยในกฎหมายเรียกว่า ข้าราชการพลเรือนการเมือง เป็นหนึ่งในห้าประเภทของข้าราชการพลเรือน หมายถึง ผู้ซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองตามบทพระราชบัญญัติ<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 51 หน้า 45 วันที่ 24 เมษายน 2477, มาตรา 5.</ref>  และในบัญชีอัตราเงินเดือนซึ่งอยู่ท้ายพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 ได้แสดงให้เห็นว่าตำแหน่งข้าราชการการเมือง  <ref>เพิ่งอ้าง, บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน. น.76.</ref>ได้แก่


1. นายกรัฐมนตรี
1. [[นายกรัฐมนตรี]]


2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
2. [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวง]]


3. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรีว่าการทะบวง
3. [[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง]] และ [[รัฐมนตรีว่าการทบวง]]


4. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
4. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง


5. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการทะบวง หรือ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
5. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวง หรือ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การกล่าวถึงตำแหน่งข้าราชการการเมือง นอกจากพบในบัญชีอัตราเงินเดือนซึ่งอยู่ท้ายพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 แล้ว ยังมีการกล่าวถึงอีกครั้งในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๔๗๙ และ กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี
การกล่าวถึงตำแหน่งข้าราชการการเมือง นอกจากพบในบัญชีอัตราเงินเดือนซึ่งอยู่ท้าย[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476]] แล้ว ยังมีการกล่าวถึงอีกครั้งใน[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479]] และ กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตร


โดยในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๔๗๙ ได้กล่าวถึงตำแหน่ง รัฐมนตรีที่ไม่ใช่ว่าการหรือช่วยว่าการกระทรวงหรือทบวง<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 หน้าที่ 974 วันที่ 27 ธันวาคม 2479, บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน.</ref>  เพิ่มขึ้นมาและในกฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี ได้มีการกล่าวถึงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขานุการนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการนายกรัฐมนตรี<ref>กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 1 วันที่ 1 มกราคม 2500, น.13-14.</ref>  เพิ่มขึ้นมา
โดยในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479 ได้กล่าวถึงตำแหน่ง รัฐมนตรีที่ไม่ใช่ว่าการหรือช่วยว่าการกระทรวงหรือทบวง<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 หน้าที่ 974 วันที่ 27 ธันวาคม 2479, บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน.</ref>  เพิ่มขึ้นมาและในกฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี ได้มีการกล่าวถึงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขานุการนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการนายกรัฐมนตรี<ref>กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 1 วันที่ 1 มกราคม 2500, น.13-14.</ref>  เพิ่มขึ้นมา


ตำแหน่งข้าราชการการเมือง เป็นตำแหน่งที่แต่งตั้งขึ้นมาสนับสนุนการทำงานของฝ่ายการเมือง และมีการปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย เช่น ในยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการแต่งตั้งตำแหน่งการเมืองใหม่ขึ้นมา เช่น ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการทำเนียบนายกรัฐมนตรี เลขาธิการบริหารนายกรัฐมนตรี รองปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการบริหารของนายกรัฐมนตรี<ref>แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 28 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2502, ฉบับพิเศษ น.1-2.,</ref>  เป็นต้น
ตำแหน่งข้าราชการการเมือง เป็นตำแหน่งที่แต่งตั้งขึ้นมาสนับสนุนการทำงานของฝ่ายการเมือง และมีการปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย เช่น ในยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการแต่งตั้งตำแหน่งการเมืองใหม่ขึ้นมา เช่น ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการทำเนียบนายกรัฐมนตรี เลขาธิการบริหารนายกรัฐมนตรี รองปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการบริหารของนายกรัฐมนตรี<ref>แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 28 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2502, ฉบับพิเศษ น.1-2.,</ref>  เป็นต้น
บรรทัดที่ 45: บรรทัดที่ 45:
ตำแหน่งข้าราชการการเมืองมามีกฎหมายชัดเจนเมื่อ พ.ศ.2518<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 92 ตอนที่ 26 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, ฉบับพิเศษ น.80-81.</ref> คือพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518  ซึ่งได้กำหนดข้าราชการการเมือง ได้แก่ตำแหน่งต่อไปนี้
ตำแหน่งข้าราชการการเมืองมามีกฎหมายชัดเจนเมื่อ พ.ศ.2518<ref>พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 92 ตอนที่ 26 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, ฉบับพิเศษ น.80-81.</ref> คือพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518  ซึ่งได้กำหนดข้าราชการการเมือง ได้แก่ตำแหน่งต่อไปนี้
1. นายกรัฐมนตรี
1. [[นายกรัฐมนตรี]]
2. รองนายกรัฐมนตรี
2. [[รองนายกรัฐมนตรี]]
3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
3. [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวง]]
4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
4. [[รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]]
5. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
5. [[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง]]
6. รัฐมนตรีว่าการทบวง
6. รัฐมนตรีว่าการทบวง
บรรทัดที่ 59: บรรทัดที่ 59:
7. รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง
7. รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง
8. รัฐมนตรี
8. [[รัฐมนตรี]]
9. ที่ปรึกษานายรัฐมนตรี
9. [[ที่ปรึกษานายรัฐมนตรี]]
10. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
10. [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]
11. รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
11. รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:36, 30 สิงหาคม 2553

ผู้เรียบเรียง อลงกรณ์ อรรคแสง


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485

ในปี พ.ศ.2485 ได้มีการประกาศให้พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485[1] ซึ่งตราขึ้นในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2485

ใจความหลักของพระราชบัญญัติฉบับนี้ เป็นการยกเลิกมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พุทธศักราช 2482] โดยให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 21 ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น

ห้ามมิให้พนักงานเทศบาลซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกแห่งสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น

ห้ามมิให้ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลซึ่งมีเงินเดือนประจำในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาจังหวัดในจังหวัดนั้น

ในกรณีที่ไม่ต้องตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการพนักงานเทศบาล ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลผู้ใดได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัดแล้ว ผู้นั้นต้องลาออกจากตำแหน่ง ในส่วนของข้าราชการนั้นให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญด้วยเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ และถ้าเป็นข้าราชการทหารก็อาจได้รับเบี้ยหวัดบำนาญตามระเบียบของทหาร ความในมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง”

เมื่อพิจารณามาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485 เปรียบเทียบกับกฎหมายเดิมคือ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พุทธศักราช 2482 แล้วพบว่า ในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485 ได้เพิ่มข้อความขึ้นมาวรรคหนึ่ง นั่นคือวรรคสุดท้ายที่ว่า “ความในมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง” นอกจากนั้นมาตรา 21 ของกฎหมายทั้ง 2 ฉบับมีข้อความที่เหมือนกันหมด

ตำแหน่งข้าราชการการเมือง มีการกล่าวถึงครั้งแรกในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 โดยในกฎหมายเรียกว่า ข้าราชการพลเรือนการเมือง เป็นหนึ่งในห้าประเภทของข้าราชการพลเรือน หมายถึง ผู้ซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองตามบทพระราชบัญญัติ[2] และในบัญชีอัตราเงินเดือนซึ่งอยู่ท้ายพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 ได้แสดงให้เห็นว่าตำแหน่งข้าราชการการเมือง [3]ได้แก่

1. นายกรัฐมนตรี

2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

3. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรีว่าการทบวง

4. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

5. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวง หรือ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

การกล่าวถึงตำแหน่งข้าราชการการเมือง นอกจากพบในบัญชีอัตราเงินเดือนซึ่งอยู่ท้ายพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476 แล้ว ยังมีการกล่าวถึงอีกครั้งในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479 และ กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตร

โดยในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479 ได้กล่าวถึงตำแหน่ง รัฐมนตรีที่ไม่ใช่ว่าการหรือช่วยว่าการกระทรวงหรือทบวง[4] เพิ่มขึ้นมาและในกฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี ได้มีการกล่าวถึงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขานุการนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการนายกรัฐมนตรี[5] เพิ่มขึ้นมา

ตำแหน่งข้าราชการการเมือง เป็นตำแหน่งที่แต่งตั้งขึ้นมาสนับสนุนการทำงานของฝ่ายการเมือง และมีการปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย เช่น ในยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการแต่งตั้งตำแหน่งการเมืองใหม่ขึ้นมา เช่น ปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการทำเนียบนายกรัฐมนตรี เลขาธิการบริหารนายกรัฐมนตรี รองปลัดบัญชาการสำนักนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการบริหารของนายกรัฐมนตรี[6] เป็นต้น

ตำแหน่งข้าราชการการเมืองมามีกฎหมายชัดเจนเมื่อ พ.ศ.2518[7] คือพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518 ซึ่งได้กำหนดข้าราชการการเมือง ได้แก่ตำแหน่งต่อไปนี้

1. นายกรัฐมนตรี

2. รองนายกรัฐมนตรี

3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

5. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง

6. รัฐมนตรีว่าการทบวง

7. รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง

8. รัฐมนตรี

9. ที่ปรึกษานายรัฐมนตรี

10. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

11. รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

12. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี

13. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง

14. เลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

15. เลขาธิการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

16. โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

17. รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

18. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

19. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

20. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวง

21. เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

22. ผู้ช่วยเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร


ที่มา

กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 1 วันที่ 1 มกราคม 2500.

แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 28 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2502.

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉะบับที่ ๒) พุทธศักราช 2485, ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 92 ตอนที่ 26 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2477, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 51 วันที่ 14 ตุลาคม 2477.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 51 วันที่ 24 เมษายน 2477.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 หน้าที่ 974 วันที่ 27 ธันวาคม 2479.


อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485, ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32 หน้า 1041-1043.
  2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2476, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 51 หน้า 45 วันที่ 24 เมษายน 2477, มาตรา 5.
  3. เพิ่งอ้าง, บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน. น.76.
  4. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช 2479, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 หน้าที่ 974 วันที่ 27 ธันวาคม 2479, บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน.
  5. กฎ ก.พ. ฉบับที่ 117 (พ.ศ.2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งข้าราชการการเมืองในตำแหน่งที่ต่ำกว่ารัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 1 วันที่ 1 มกราคม 2500, น.13-14.
  6. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 28 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2502, ฉบับพิเศษ น.1-2.,
  7. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ.2518, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 92 ตอนที่ 26 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2518, ฉบับพิเศษ น.80-81.