ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาชนไทย (พ.ศ. 2535)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''พรรคประชาชนไทย (2535)''' พรรคประชาชนไทยจดทะเบียนจัดตั้งพรร...
 
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''พรรคประชาชนไทย (2535)'''
'''พรรคประชาชนไทย (2535)'''


พรรคประชาชนไทยจดทะเบียนจัดตั้งพรรคขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 79 หน้า 54</ref> โดยมี นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคและนายปรีดี หิรัญพฤกษ์ ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค <ref>เพิ่งอ้าง หน้าเดียวกัน</ref>หลังจากนั้นอีกเพียง 2 วันคือวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ในการประชุมใหญ่ครั้งแรกของพรรคได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อพรรค ภาพเครื่องหมายพรรคและสถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของพรรค <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 80 หน้า 6</ref> โดยชื่อพรรคนั้นได้เปลี่ยนจากพรรคประชาชนไทยไปเป็นพรรคเสรีธรรม
พรรคประชาชนไทยจดทะเบียนจัดตั้งพรรคขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 79 หน้า 54</ref> โดยมี นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่งเป็น[[หัวหน้าพรรค]]และนายปรีดี หิรัญพฤกษ์ ดำรงตำแหน่งเป็น[[เลขาธิการพรรค]] <ref>เพิ่งอ้าง หน้าเดียวกัน</ref>หลังจากนั้นอีกเพียง 2 วันคือวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ในการประชุมใหญ่ครั้งแรกของพรรคได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อพรรค ภาพเครื่องหมายพรรคและสถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของพรรค <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 80 หน้า 6</ref> โดยชื่อพรรคนั้นได้เปลี่ยนจากพรรคประชาชนไทยไปเป็นพรรคเสรีธรรม




บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 13:
2.เทิดทูลและจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์  
2.เทิดทูลและจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์  


3.ยึดหลักประชาธิปไตยที่มีวินัย
3.ยึดหลัก[[ประชาธิปไตย]]ที่มีวินัย


4.ให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างถ้วนหน้า  
4.ให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างถ้วนหน้า  
บรรทัดที่ 36: บรรทัดที่ 36:
3.กระจายทุนและระดมทุนเพื่อให้ประเทศก้าวหน้า  
3.กระจายทุนและระดมทุนเพื่อให้ประเทศก้าวหน้า  


4.ยึดหลักทุนนิยมเสรี            
4.ยึดหลัก[[ทุนนิยมเสรี]]            


5.ป้องกันการลงทุนจากต่างชาติที่ทำให้ไทยเสียเปรียบ  
5.ป้องกันการลงทุนจากต่างชาติที่ทำให้ไทยเสียเปรียบ  
บรรทัดที่ 87: บรรทัดที่ 87:
5.เสริมสร้างความสามัคคีในชาติ  
5.เสริมสร้างความสามัคคีในชาติ  


6.จัดฝึกอบรมให้ประชาชนมีความรักชาติ สถาบันกษัตริย์และมีความเสียสละ
6.จัดฝึกอบรมให้ประชาชนมีความรักชาติ [[สถาบันกษัตริย์]]และมีความเสียสละ



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:56, 10 กรกฎาคม 2553

พรรคประชาชนไทย (2535)

พรรคประชาชนไทยจดทะเบียนจัดตั้งพรรคขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 [1] โดยมี นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคและนายปรีดี หิรัญพฤกษ์ ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค [2]หลังจากนั้นอีกเพียง 2 วันคือวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ในการประชุมใหญ่ครั้งแรกของพรรคได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อพรรค ภาพเครื่องหมายพรรคและสถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของพรรค [3] โดยชื่อพรรคนั้นได้เปลี่ยนจากพรรคประชาชนไทยไปเป็นพรรคเสรีธรรม


รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ [4]


ด้านสังคม

1.ส่งเสริมทุกศาสนา

2.เทิดทูลและจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์

3.ยึดหลักประชาธิปไตยที่มีวินัย

4.ให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างถ้วนหน้า

5.สร้างความปลอดภัยให้ชีวิตและทรัพย์สิน

6.ป้องกันวัฒนธรรมที่ไม่สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมต่างชาติ

7.พัฒนาชนบทในทุกๆด้าน

8.ขจัดผู้มีอิทธิพล

9.เร่งรัดการสร้างงาน


ด้านเศรษฐกิจ

1.ป้องกันการผูกขาด

2.กำหนดกฎเกณฑ์การใช้พื้นที่ให้แน่นอน เช่น ที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรม การเกษตร

3.กระจายทุนและระดมทุนเพื่อให้ประเทศก้าวหน้า

4.ยึดหลักทุนนิยมเสรี

5.ป้องกันการลงทุนจากต่างชาติที่ทำให้ไทยเสียเปรียบ

6.ส่งเสริมทรัพยากรบุคคลให้เพียงพอกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

7.ส่งเสริมการวางแผนครอบครัว

8.ขยายความเจริญไปสู่ชนบท

9.ยกระดับค่าครองชีพและความเป็นอยู่ของประชาชน

10.ออกมาตรการควบคุมราคาสินค้า

11.ปรับปรุงระบบภาษี

12.ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบสหกรณ์


ด้านการเมือง

1.สนับสนุนให้ทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมทางการเมือง

2.ส่งเสริมสถาบันพรรคการเมืองและเสริมสร้างเสถียรภาพทางการเมือง

3.สร้างนักการเมืองที่มีอุดมการณ์ มีระเบียบวินัย มีสัจจะและคุณธรรม


ด้านต่างประเทศ

1.ผูกมิตรกับประเทศที่ไม่มุ่งร้ายต่อประเทศอื่นๆทั้งการค้าและการเมือง

2.ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในสมาคมอาเซียน

3.ปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติ

4.ดำเนินนโยบายต่างประเทศอย่างอิสระ


ด้านการป้องกันประเทศ

1.พัฒนากองทัพให้เข้มแข็งในทุกๆด้าน

2.จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอกับการพัฒนากองทัพให้ทันสมัย

3.ให้สวัสดิการครอบครัวทหาร ตำรวจที่บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่

4.ส่งเสริมประชาชนให้สนับสนุนกองทัพในการป้องกันชาติ

5.เสริมสร้างความสามัคคีในชาติ

6.จัดฝึกอบรมให้ประชาชนมีความรักชาติ สถาบันกษัตริย์และมีความเสียสละ


ด้านการเงินและการคลัง

1.ปรับปรุงระบบการคลังให้เหมาะสมกับการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ

2.รักษาเสถียรภาพของเงินตราและดุลการค้า

3.ระวังมิให้เกิดภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด รักษา ระมัดระวัง ควบคุม

4.ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 79 หน้า 54
  2. เพิ่งอ้าง หน้าเดียวกัน
  3. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 80 หน้า 6
  4. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนที่ 79 หน้า 53-61