ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)"
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ ม..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
| | ||
''' กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)''' กลุ่มดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งใน[[พรรคพลังประชารัฐ]]ที่สื่อมวลชนตั้งให้แก่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 6 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย | ''' กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)''' กลุ่มดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งใน[[พรรคพลังประชารัฐ|พรรคพลังประชารัฐ]]ที่สื่อมวลชนตั้งให้แก่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 6 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย | ||
''' '''(1) | ''' '''(1) นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี หรือ ฉายา '''“มาดามเดียร์”''' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน ซึ่งถือเป็นแกนนำของกลุ่มดาวฤกษ์ | ||
''' '''(2) | ''' '''(2) นายศิริพงษ์ รัสมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตหนองจอก อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน | ||
''' '''(3) | ''' '''(3) นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตคลองเตย-วัฒนา อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การพัฒนาเศรษฐกิจ | ||
''' '''(4) | ''' '''(4) นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตราชเทวี-พญาไท-จตุจักร อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม | ||
''' '''(5) | ''' '''(5) นางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตบางกะปิ-วังทองหลาง อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การสวัสดิการสังคม | ||
''' '''(6) | ''' '''(6) นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตดุสิต-บางซื่อ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน | ||
''' '''กลุ่มดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นเกิดจากความคุ้นเคยกันระหว่างสมาชิกตั้งแต่ช่วงหาเสียงเลือกตั้งใหญ่ รวมทั้งมีความสนิทสนมในการทำงานร่วมกันจากการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยได้มีการสร้างความร่วมมือกันในการหยิบยกปัญหาในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้นมาหารือ เพื่อแบ่งปันข้อมูลและความคิดเห็นในการจัดการแก้ปัญหาที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและได้นำเสนอต่อที่ประชุมของพรรค โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเมืองที่ดีและขับเคลื่อนอย่างสร้างสรรค์[[#_ftn1|[1]]] | ''' '''กลุ่มดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นเกิดจากความคุ้นเคยกันระหว่างสมาชิกตั้งแต่ช่วงหาเสียงเลือกตั้งใหญ่ รวมทั้งมีความสนิทสนมในการทำงานร่วมกันจากการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยได้มีการสร้างความร่วมมือกันในการหยิบยกปัญหาในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้นมาหารือ เพื่อแบ่งปันข้อมูลและความคิดเห็นในการจัดการแก้ปัญหาที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและได้นำเสนอต่อที่ประชุมของพรรค โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเมืองที่ดีและขับเคลื่อนอย่างสร้างสรรค์[[#_ftn1|[1]]] | ||
บรรทัดที่ 24: | บรรทัดที่ 24: | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์[[#_ftn2|[2]]]</p> | <p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์[[#_ftn2|[2]]]</p> | ||
[[File:Palang pracharath party (1).png|center]] | [[File:Palang pracharath party (1).png|center|Palang pracharath party (1).png]] | ||
''' '''ความโดดเด่นของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ในช่วงที่มีการผลักดันให้ '''“กลุ่ม 4 กุมาร”''' นำโดย นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวหน้าทีมเศรษฐกิจของรัฐบาล [[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|พลเอกประยุทธ จันทรโอชา]] ถูกกดดันจากกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพลังประชารัฐกดดันให้พ้นจากตำแหน่งและบทบาทนำของพรรค ซึ่งกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้การนำของ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ และนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตแกนนำ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ([[กปปส.]]) ภายในพลังประชารัฐได้สนับสนุนให้ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ให้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหรือโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี [[#_ftn3|[3]]] แต่ไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งจากพรรค | | ||
''' '''ความโดดเด่นของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ในช่วงที่มีการผลักดันให้ '''“กลุ่ม 4 กุมาร”''' นำโดย นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวหน้าทีมเศรษฐกิจของรัฐบาล [[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|พลเอกประยุทธ จันทรโอชา]] ถูกกดดันจากกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพลังประชารัฐกดดันให้พ้นจากตำแหน่งและบทบาทนำของพรรค ซึ่งกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้การนำของ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ และนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตแกนนำ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ([[กปปส.|กปปส.]]) ภายในพลังประชารัฐได้สนับสนุนให้ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ให้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหรือโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี [[#_ftn3|[3]]] แต่ไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งจากพรรค | |||
บทบาทของกลุ่มดาวฤกษ์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างมากจากการนำเสนอมุมมองต่อการเคลื่อนไหวของม็อบราษฎร โดยนำเสนอต่อเวทีสภาผู้แทนราษฎรให้มองแก่นหรือต้นตอของปัญหาที่เป็นเหตุให้นักศึกษาเยาวชนและประชาชนจึงออกมาชุมนุม ทั้งยังเสนอให้เปิดพื้นที่ให้ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงใจ แก้ไขสิ่งที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน[[#_ftn4|[4]]] รวมทั้งการเสนอให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนำเงินจ่ายขาดสะสมงบประมาณปี 2564 มาซื้อวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้คนกรุงเทพ จากปัญหาเนื่องจากวัคซีนมีไม่เพียงพอ[[#_ftn5|[5]]] รวมไปถึงผลักดันโครงการต่าง ๆ ไปยังรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการภาพยนตร์ไทย การลงพื้นที่แก้ปัญหาตึกสูงในพื้นที่เขตพญาไทและเขตเอกมัยในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนยังแสดงบทบาทในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการอภิปราย ร้องเรียน ตั้งกระทู้ เกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน[[#_ftn6|[6]]] เป็นต้น | บทบาทของกลุ่มดาวฤกษ์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างมากจากการนำเสนอมุมมองต่อการเคลื่อนไหวของม็อบราษฎร โดยนำเสนอต่อเวทีสภาผู้แทนราษฎรให้มองแก่นหรือต้นตอของปัญหาที่เป็นเหตุให้นักศึกษาเยาวชนและประชาชนจึงออกมาชุมนุม ทั้งยังเสนอให้เปิดพื้นที่ให้ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงใจ แก้ไขสิ่งที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน[[#_ftn4|[4]]] รวมทั้งการเสนอให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนำเงินจ่ายขาดสะสมงบประมาณปี 2564 มาซื้อวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้คนกรุงเทพ จากปัญหาเนื่องจากวัคซีนมีไม่เพียงพอ[[#_ftn5|[5]]] รวมไปถึงผลักดันโครงการต่าง ๆ ไปยังรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการภาพยนตร์ไทย การลงพื้นที่แก้ปัญหาตึกสูงในพื้นที่เขตพญาไทและเขตเอกมัยในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนยังแสดงบทบาทในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการอภิปราย ร้องเรียน ตั้งกระทู้ เกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน[[#_ftn6|[6]]] เป็นต้น | ||
บรรทัดที่ 34: | บรรทัดที่ 36: | ||
| | ||
[[File:Palang pracharath party (2).jpg|center]] | [[File:Palang pracharath party (2).jpg|center|Palang pracharath party (2).jpg]] | ||
อย่างไรก็ดีบทบาทและชื่อของกลุ่มดาวฤกษ์ได้รับความสนใจและถูกจับตาอย่างมากในการงดออกเสียงในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลในส่วนของ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยให้เหตุผลว่า นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ในฐานะรัฐมนตรีผู้ถูกอภิปรายไม่มีการชี้แจงที่ชัดเจนเพียงพอในการตอบคำอภิปรายของพรรคฝ่ายค้านและทำให้สังคมตั้งข้อกังขา ข้อสงสัยในสองประเด็นหลักที่ยังไม่ได้รับคำตอบที่ชัดเจน คือ เรื่องการเปลี่ยนเงื่อนไขและการล้มการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และข้ออภิปรายเรื่องการไม่ปกป้องหรือเรียกคืนที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทยในพื้นที่เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ได้พยายามอย่างที่สุดในการปฏิบัติตามมติพรรค ด้วยการไม่ลงคะแนนไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องปฏิบัติตามจิตวิญญาณความเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยการงดอออกเสียง[[#_ftn8|[8]]] | อย่างไรก็ดีบทบาทและชื่อของกลุ่มดาวฤกษ์ได้รับความสนใจและถูกจับตาอย่างมากในการงดออกเสียงในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลในส่วนของ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยให้เหตุผลว่า นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ในฐานะรัฐมนตรีผู้ถูกอภิปรายไม่มีการชี้แจงที่ชัดเจนเพียงพอในการตอบคำอภิปรายของพรรคฝ่ายค้านและทำให้สังคมตั้งข้อกังขา ข้อสงสัยในสองประเด็นหลักที่ยังไม่ได้รับคำตอบที่ชัดเจน คือ เรื่องการเปลี่ยนเงื่อนไขและการล้มการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และข้ออภิปรายเรื่องการไม่ปกป้องหรือเรียกคืนที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทยในพื้นที่เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ได้พยายามอย่างที่สุดในการปฏิบัติตามมติพรรค ด้วยการไม่ลงคะแนนไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องปฏิบัติตามจิตวิญญาณความเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยการงดอออกเสียง[[#_ftn8|[8]]] | ||
บรรทัดที่ 40: | บรรทัดที่ 42: | ||
ทั้งนี้ผลจากการฝ่าฝืนมติของพรรคในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล โดยได้มีสมาชิกพรรคภูมิใจไทยเรียกร้องถึง '''“มารยาททางการเมือง”''' และแสดงท่าที่ไปยังพรรคพลังประชารัฐให้มีการตักเตือนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนเอง[[#_ftn9|[9]]] ความไม่พอใจดังกล่าวส่งผลให้พรรคพลังประชารัฐได้มีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงกลุ่มดาวฤกษ์ และมีคำสั่งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากการทำงานในคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (ปสส.) ซึ่งมีบทบาทดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา รวมถึงการถอด ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากตำแหน่งทางการเมืองทุกตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งในกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรเป็นระยะเวลา 3 เดือน และให้ขอโทษไปยังพรรคภูมิใจไทย โดยอ้างถึงการสร้างบรรทัดฐานทางการเมือง และเป็นแนวทางการทำงานของพรรคพลังประชารัฐ[[#_ftn10|[10]]] | ทั้งนี้ผลจากการฝ่าฝืนมติของพรรคในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล โดยได้มีสมาชิกพรรคภูมิใจไทยเรียกร้องถึง '''“มารยาททางการเมือง”''' และแสดงท่าที่ไปยังพรรคพลังประชารัฐให้มีการตักเตือนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนเอง[[#_ftn9|[9]]] ความไม่พอใจดังกล่าวส่งผลให้พรรคพลังประชารัฐได้มีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงกลุ่มดาวฤกษ์ และมีคำสั่งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากการทำงานในคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (ปสส.) ซึ่งมีบทบาทดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา รวมถึงการถอด ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากตำแหน่งทางการเมืองทุกตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งในกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรเป็นระยะเวลา 3 เดือน และให้ขอโทษไปยังพรรคภูมิใจไทย โดยอ้างถึงการสร้างบรรทัดฐานทางการเมือง และเป็นแนวทางการทำงานของพรรคพลังประชารัฐ[[#_ftn10|[10]]] | ||
อย่างไรก็ดี ในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเดือนกันยายน พ.ศ.2564 นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ลงมติฝ่าฝืนมติพรรคอีกครั้ง โดยลงคะแนนงดออกเสียงให้กับ นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเหตุผลว่าคำชี้แจงของนายอนุทินต่อการอภิปรายข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านถึงความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อวัคซีน รวมถึงความสามารถในการบริหารงานด้านสาธารณสุขในช่วงของการระบาดของ COVID-19 ไม่ได้รับความชัดเจนและไม่สามารถตอบข้อสงสัยของประชาชนได้ โดยการลงมติฝืนมติพรรคในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์คนอื่น ๆ ได้ลงมติตามที่พรรคพลังประชารัฐกำหนดไว้ทุกประการ ยกเว้น น.ส.ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ที่ในขณะนั้นอยู่ระหว่างการหยุดปฏิบัติหน้าที่[[#_ftn11|[11]]] ระหว่างการพิจารณากรณีฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร ส.ส. | อย่างไรก็ดี ในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเดือนกันยายน พ.ศ.2564 นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ลงมติฝ่าฝืนมติพรรคอีกครั้ง โดยลงคะแนนงดออกเสียงให้กับ นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเหตุผลว่าคำชี้แจงของนายอนุทินต่อการอภิปรายข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านถึงความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อวัคซีน รวมถึงความสามารถในการบริหารงานด้านสาธารณสุขในช่วงของการระบาดของ COVID-19 ไม่ได้รับความชัดเจนและไม่สามารถตอบข้อสงสัยของประชาชนได้ โดยการลงมติฝืนมติพรรคในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์คนอื่น ๆ ได้ลงมติตามที่พรรคพลังประชารัฐกำหนดไว้ทุกประการ ยกเว้น น.ส.ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ที่ในขณะนั้นอยู่ระหว่างการหยุดปฏิบัติหน้าที่[[#_ftn11|[11]]] ระหว่างการพิจารณากรณีฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร ส.ส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร[[#_ftn12|[12]]] | ||
| | ||
บรรทัดที่ 46: | บรรทัดที่ 48: | ||
<span style="font-size:x-large;">'''สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566'''</span> | <span style="font-size:x-large;">'''สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566'''</span> | ||
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ถือเป็นจุดเปลี่ยนในการยุติการรวมกลุ่มของกลุ่มดาวฤกษ์ในทางการเมืองไทย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ได้ย้ายออกจากพรรคพลังประชารัฐเกือบทั้งหมด ยกเว้นนายศิริพงษ์ รัสมี ที่ยังคงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดพรรคพลังประชารัฐ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ย้ายไปเป็นสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์]] และได้ลงสมัครเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ส่วนนางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา และนางสาวภาดาท์ วรกานนท์ ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตในกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคภูมิใจไทย[[#_ftn13|[13]]] ส่วนนางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ ย้ายไปลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[[#_ftn14|[14]]] อย่างไรก็ดีอดีตสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 และสมาชิกบางส่วนได้ยุติบทบาททางการเมืองไป ได้แก่ ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ เนื่องจากมีพฤติการณ์ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร สส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดชีวิต[[#_ftn15| | ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ถือเป็นจุดเปลี่ยนในการยุติการรวมกลุ่มของกลุ่มดาวฤกษ์ในทางการเมืองไทย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ได้ย้ายออกจากพรรคพลังประชารัฐเกือบทั้งหมด ยกเว้นนายศิริพงษ์ รัสมี ที่ยังคงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดพรรคพลังประชารัฐ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ย้ายไปเป็นสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]] และได้ลงสมัครเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ส่วนนางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา และนางสาวภาดาท์ วรกานนท์ ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตในกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคภูมิใจไทย[[#_ftn13|[13]]] ส่วนนางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ ย้ายไปลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[[#_ftn14|[14]]] อย่างไรก็ดีอดีตสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 และสมาชิกบางส่วนได้ยุติบทบาททางการเมืองไป ได้แก่ ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ เนื่องจากมีพฤติการณ์ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร สส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดชีวิต[[#_ftn15|[15]]] | ||
| | ||
บรรทัดที่ 52: | บรรทัดที่ 54: | ||
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>''' | '''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>''' | ||
<div><div id="ftn1"> | <div><div id="ftn1"> | ||
[[#_ftnref1|[1]]] “เจาะใจ “ดาวฤกษ์” พลังประชารัฐโหวตสวนมติพรรค: | [[#_ftnref1|[1]]] “เจาะใจ “ดาวฤกษ์” พลังประชารัฐโหวตสวนมติพรรค: ยอมหักไม่ยอมงอ”. สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024 https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
[[#_ftnref2|[2]]] เด็กภูมิใจไทย โพสต์เหน็บ ส.ส.ดาวฤกษ์ โหวตหักหน้า 'เนวิน' ฉุนไม่รักษามารยาทการเมือง https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref2|[2]]] เด็กภูมิใจไทย โพสต์เหน็บ ส.ส.ดาวฤกษ์ โหวตหักหน้า 'เนวิน' ฉุนไม่รักษามารยาทการเมือง [https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] 6 ดาวฤกษ์ สู่ ดาวเคราะห์ ประกาศิต “บิ๊กป้อม” แช่แข็งเก้าอี้การเมือง https://www.prachachat.net/politics/news-637776 (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref3|[3]]] 6 ดาวฤกษ์ สู่ ดาวเคราะห์ ประกาศิต “บิ๊กป้อม” แช่แข็งเก้าอี้การเมือง [https://www.prachachat.net/politics/news-637776 https://www.prachachat.net/politics/news-637776] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] ‘กลุ่มดาวฤกษ์’ ชี้ เสียงเยาวชนสะท้อนปัญหาหลายปม วอนอย่าก้าวล่วงสถาบัน https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083 (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref4|[4]]] ‘กลุ่มดาวฤกษ์’ ชี้ เสียงเยาวชนสะท้อนปัญหาหลายปม วอนอย่าก้าวล่วงสถาบัน [https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083 https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn5"> | </div> <div id="ftn5"> | ||
[[#_ftnref5|[5]]] “"ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์" เสนอ นำเงินจ่ายขาดสะสมปี 64 ซื้อวัคซีนโควิด ให้คน กทม.”. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497 (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref5|[5]]] “"ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์" เสนอ นำเงินจ่ายขาดสะสมปี 64 ซื้อวัคซีนโควิด ให้คน กทม.”. สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497 https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn6"> | </div> <div id="ftn6"> | ||
[[#_ftnref6|[6]]] “ดาวฤกษ์โชว์”. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref6|[6]]] “ดาวฤกษ์โชว์”. สืบค้นจาก [https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13 https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13] เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] “กาวใจ? "มาดามเดียร์" นำทีม 6 ส.ส. พลังประชารัฐ วอนผู้ใหญ่หยุดทะเลาะกัน”. สืบค้นจาก https://www.sanook.com/news/8179666/ (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref7|[7]]] “กาวใจ? "มาดามเดียร์" นำทีม 6 ส.ส. พลังประชารัฐ วอนผู้ใหญ่หยุดทะเลาะกัน”. สืบค้นจาก [https://www.sanook.com/news/8179666/ https://www.sanook.com/news/8179666/] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn8"> | </div> <div id="ftn8"> | ||
[[#_ftnref8|[8]]] “มาดามเดียร์ เผยเหตุ กลุ่มดาวฤกษ์ งดออกเสียง ไว้วางใจ ศักดิ์สยาม! ”. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref8|[8]]] “มาดามเดียร์ เผยเหตุ กลุ่มดาวฤกษ์ งดออกเสียง ไว้วางใจ ศักดิ์สยาม! ”. สืบค้นจาก [https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13 https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13] เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn9"> | </div> <div id="ftn9"> | ||
[[#_ftnref9|[9]]] “ส่องปรากฏการณ์ กลุ่มดาวฤกษ์งดโหวต ‘ศักดิ์สยาม’-เทียบภูมิใจไทยงดโหวต ‘ประยุทธ์’”.สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763 (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref9|[9]]] “ส่องปรากฏการณ์ กลุ่มดาวฤกษ์งดโหวต ‘ศักดิ์สยาม’-เทียบภูมิใจไทยงดโหวต ‘ประยุทธ์’”.สืบค้นจาก [https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763 https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn10"> | </div> <div id="ftn10"> | ||
[[#_ftnref10|[10]]] “พปชร. ลงดาบส.ส.ดาวฤกษ์ถอดจากทุกตำแหน่งการเมือง หลังโหวตสวนมติพรรค”. สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/2021/73644 (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref10|[10]]] “พปชร. ลงดาบส.ส.ดาวฤกษ์ถอดจากทุกตำแหน่งการเมือง หลังโหวตสวนมติพรรค”. สืบค้นจาก [https://www.infoquest.co.th/2021/73644 https://www.infoquest.co.th/2021/73644] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn11"> | </div> <div id="ftn11"> | ||
[[#_ftnref11|[11]]] “กลุ่มดาวฤกษ์" แตก! "มาดามเดียร์" โพสต์แจงงดออกเสียงหนุน "อนุทิน" ขอแสดงจุดยืนตัวแทนปชช.”. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/277609 (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref11|[11]]] “กลุ่มดาวฤกษ์" แตก! "มาดามเดียร์" โพสต์แจงงดออกเสียงหนุน "อนุทิน" ขอแสดงจุดยืนตัวแทนปชช.”. สืบค้นจาก [https://siamrath.co.th/n/277609 https://siamrath.co.th/n/277609] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn12"> | </div> <div id="ftn12"> | ||
[[#_ftnref12|[12]]] “ศาลฎีกานักการเมือง พิพากษาจำคุก 1 ปี ปรับ 2 แสน ‘ธณิกานต์’ ส.ส. พลังประชารัฐ ปมเสียบบัตรเเทนกัน รอลงอาญา 2 ปี”. สืบค้นจาก https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/ (13 เมษายน 2566). | [[#_ftnref12|[12]]] “ศาลฎีกานักการเมือง พิพากษาจำคุก 1 ปี ปรับ 2 แสน ‘ธณิกานต์’ ส.ส. พลังประชารัฐ ปมเสียบบัตรเเทนกัน รอลงอาญา 2 ปี”. สืบค้นจาก [https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/ https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/] (13 เมษายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn13"> | </div> <div id="ftn13"> | ||
[[#_ftnref13|[13]]] “‘กรณิศ’ กอด ‘วัน ภาดาท์’ เข้าพรรคภูมิใจไทย”. สืบค้นจาก https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/ (30 พฤษภาคม 2566). | [[#_ftnref13|[13]]] “‘กรณิศ’ กอด ‘วัน ภาดาท์’ เข้าพรรคภูมิใจไทย”. สืบค้นจาก [https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/ https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/] (30 พฤษภาคม 2566). | ||
</div> <div id="ftn14"> | </div> <div id="ftn14"> | ||
[[#_ftnref14|[14]]] “ฐิติภัสร์” เตรียมเลือกตั้ง ส.ส.กทม.ในนาม “รทสช.” ภูมิใจ 4 ปี ตั้งใจทุ่มเททำงาน รับใช้ชาวบางกะปิ วังทองหลาง”. สืบค้นจาก https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783 (30 พฤษภาคม 2566). | [[#_ftnref14|[14]]] “ฐิติภัสร์” เตรียมเลือกตั้ง ส.ส.กทม.ในนาม “รทสช.” ภูมิใจ 4 ปี ตั้งใจทุ่มเททำงาน รับใช้ชาวบางกะปิ วังทองหลาง”. สืบค้นจาก [https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783 https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783] (30 พฤษภาคม 2566). | ||
</div> <div id="ftn15"> | </div> <div id="ftn15"> | ||
[[#_ftnref15|[15]]] “ศาลฎีกาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ‘ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์’ อดีต สส. พปชร. ตลอดชีวิต ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบเสียบบัตรแทนกัน”สืบค้นจาก https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/ (31 สิงหาคม 2566). | [[#_ftnref15|[15]]] “ศาลฎีกาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ‘ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์’ อดีต สส. พปชร. ตลอดชีวิต ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบเสียบบัตรแทนกัน”สืบค้นจาก [https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/ https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/] (31 สิงหาคม 2566). | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:นักการเมือง]][[Category:พรรคการเมือง]][[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:ว่าด้วยพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]] | [[Category:นักการเมือง]] [[Category:พรรคการเมือง]] [[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]] [[Category:ว่าด้วยพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:38, 6 กันยายน 2566
ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ มีจั่น
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ) กลุ่มดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งในพรรคพลังประชารัฐที่สื่อมวลชนตั้งให้แก่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 6 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย
(1) นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี หรือ ฉายา “มาดามเดียร์” สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน ซึ่งถือเป็นแกนนำของกลุ่มดาวฤกษ์
(2) นายศิริพงษ์ รัสมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตหนองจอก อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน
(3) นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตคลองเตย-วัฒนา อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การพัฒนาเศรษฐกิจ
(4) นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตราชเทวี-พญาไท-จตุจักร อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(5) นางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตบางกะปิ-วังทองหลาง อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การสวัสดิการสังคม
(6) นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตดุสิต-บางซื่อ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลุ่มดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นเกิดจากความคุ้นเคยกันระหว่างสมาชิกตั้งแต่ช่วงหาเสียงเลือกตั้งใหญ่ รวมทั้งมีความสนิทสนมในการทำงานร่วมกันจากการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยได้มีการสร้างความร่วมมือกันในการหยิบยกปัญหาในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้นมาหารือ เพื่อแบ่งปันข้อมูลและความคิดเห็นในการจัดการแก้ปัญหาที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและได้นำเสนอต่อที่ประชุมของพรรค โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเมืองที่ดีและขับเคลื่อนอย่างสร้างสรรค์[1]
ภาพ : สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์[2]

ความโดดเด่นของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ในช่วงที่มีการผลักดันให้ “กลุ่ม 4 กุมาร” นำโดย นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวหน้าทีมเศรษฐกิจของรัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ถูกกดดันจากกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพลังประชารัฐกดดันให้พ้นจากตำแหน่งและบทบาทนำของพรรค ซึ่งกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้การนำของ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ และนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตแกนนำ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ภายในพลังประชารัฐได้สนับสนุนให้ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ให้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหรือโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี [3] แต่ไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งจากพรรค
บทบาทของกลุ่มดาวฤกษ์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างมากจากการนำเสนอมุมมองต่อการเคลื่อนไหวของม็อบราษฎร โดยนำเสนอต่อเวทีสภาผู้แทนราษฎรให้มองแก่นหรือต้นตอของปัญหาที่เป็นเหตุให้นักศึกษาเยาวชนและประชาชนจึงออกมาชุมนุม ทั้งยังเสนอให้เปิดพื้นที่ให้ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงใจ แก้ไขสิ่งที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน[4] รวมทั้งการเสนอให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนำเงินจ่ายขาดสะสมงบประมาณปี 2564 มาซื้อวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้คนกรุงเทพ จากปัญหาเนื่องจากวัคซีนมีไม่เพียงพอ[5] รวมไปถึงผลักดันโครงการต่าง ๆ ไปยังรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการภาพยนตร์ไทย การลงพื้นที่แก้ปัญหาตึกสูงในพื้นที่เขตพญาไทและเขตเอกมัยในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนยังแสดงบทบาทในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการอภิปราย ร้องเรียน ตั้งกระทู้ เกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน[6] เป็นต้น
นอกจากนี้กลุ่มดาวฤกษ์ยังได้แสดงบทบาทในการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาความขัดแย้งภายในพรรคพลังประชารัฐ จากกรณีกรรมการบริหารพรรค 18 คน ลาออกจากตำแหน่ง โดยเรียกร้องให้แกนนำของพรรคพลังประชารัฐ ซึ่งเป็นพรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาลยุติความขัดแย้ง มุ่งหน้าแก้ไขปัญหาความทุกข์ร้อนของประชาชนตามสัญญาที่ให้ไว้ โดยใช้แฮชแท็กว่า "#หยุดทะเลาะเพื่อประชาชน #AllLivesMatter"[7] ในการเผยแพร่จุดยืนของกลุ่มตนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น

อย่างไรก็ดีบทบาทและชื่อของกลุ่มดาวฤกษ์ได้รับความสนใจและถูกจับตาอย่างมากในการงดออกเสียงในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลในส่วนของ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยให้เหตุผลว่า นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ในฐานะรัฐมนตรีผู้ถูกอภิปรายไม่มีการชี้แจงที่ชัดเจนเพียงพอในการตอบคำอภิปรายของพรรคฝ่ายค้านและทำให้สังคมตั้งข้อกังขา ข้อสงสัยในสองประเด็นหลักที่ยังไม่ได้รับคำตอบที่ชัดเจน คือ เรื่องการเปลี่ยนเงื่อนไขและการล้มการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และข้ออภิปรายเรื่องการไม่ปกป้องหรือเรียกคืนที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทยในพื้นที่เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ได้พยายามอย่างที่สุดในการปฏิบัติตามมติพรรค ด้วยการไม่ลงคะแนนไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องปฏิบัติตามจิตวิญญาณความเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยการงดอออกเสียง[8]
ทั้งนี้ผลจากการฝ่าฝืนมติของพรรคในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล โดยได้มีสมาชิกพรรคภูมิใจไทยเรียกร้องถึง “มารยาททางการเมือง” และแสดงท่าที่ไปยังพรรคพลังประชารัฐให้มีการตักเตือนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนเอง[9] ความไม่พอใจดังกล่าวส่งผลให้พรรคพลังประชารัฐได้มีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงกลุ่มดาวฤกษ์ และมีคำสั่งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากการทำงานในคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (ปสส.) ซึ่งมีบทบาทดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา รวมถึงการถอด ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากตำแหน่งทางการเมืองทุกตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งในกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรเป็นระยะเวลา 3 เดือน และให้ขอโทษไปยังพรรคภูมิใจไทย โดยอ้างถึงการสร้างบรรทัดฐานทางการเมือง และเป็นแนวทางการทำงานของพรรคพลังประชารัฐ[10]
อย่างไรก็ดี ในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเดือนกันยายน พ.ศ.2564 นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ลงมติฝ่าฝืนมติพรรคอีกครั้ง โดยลงคะแนนงดออกเสียงให้กับ นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเหตุผลว่าคำชี้แจงของนายอนุทินต่อการอภิปรายข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านถึงความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อวัคซีน รวมถึงความสามารถในการบริหารงานด้านสาธารณสุขในช่วงของการระบาดของ COVID-19 ไม่ได้รับความชัดเจนและไม่สามารถตอบข้อสงสัยของประชาชนได้ โดยการลงมติฝืนมติพรรคในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์คนอื่น ๆ ได้ลงมติตามที่พรรคพลังประชารัฐกำหนดไว้ทุกประการ ยกเว้น น.ส.ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ที่ในขณะนั้นอยู่ระหว่างการหยุดปฏิบัติหน้าที่[11] ระหว่างการพิจารณากรณีฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร ส.ส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร[12]
สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ถือเป็นจุดเปลี่ยนในการยุติการรวมกลุ่มของกลุ่มดาวฤกษ์ในทางการเมืองไทย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ได้ย้ายออกจากพรรคพลังประชารัฐเกือบทั้งหมด ยกเว้นนายศิริพงษ์ รัสมี ที่ยังคงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดพรรคพลังประชารัฐ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ย้ายไปเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และได้ลงสมัครเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ส่วนนางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา และนางสาวภาดาท์ วรกานนท์ ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตในกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคภูมิใจไทย[13] ส่วนนางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ ย้ายไปลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[14] อย่างไรก็ดีอดีตสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 และสมาชิกบางส่วนได้ยุติบทบาททางการเมืองไป ได้แก่ ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ เนื่องจากมีพฤติการณ์ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร สส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดชีวิต[15]
อ้างอิง
[1] “เจาะใจ “ดาวฤกษ์” พลังประชารัฐโหวตสวนมติพรรค: ยอมหักไม่ยอมงอ”. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024 (13 เมษายน 2566).
[2] เด็กภูมิใจไทย โพสต์เหน็บ ส.ส.ดาวฤกษ์ โหวตหักหน้า 'เนวิน' ฉุนไม่รักษามารยาทการเมือง https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w (13 เมษายน 2566).
[3] 6 ดาวฤกษ์ สู่ ดาวเคราะห์ ประกาศิต “บิ๊กป้อม” แช่แข็งเก้าอี้การเมือง https://www.prachachat.net/politics/news-637776 (13 เมษายน 2566).
[4] ‘กลุ่มดาวฤกษ์’ ชี้ เสียงเยาวชนสะท้อนปัญหาหลายปม วอนอย่าก้าวล่วงสถาบัน https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083 (13 เมษายน 2566).
[5] “"ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์" เสนอ นำเงินจ่ายขาดสะสมปี 64 ซื้อวัคซีนโควิด ให้คน กทม.”. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497 (13 เมษายน 2566).
[6] “ดาวฤกษ์โชว์”. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13 เมษายน 2566).
[7] “กาวใจ? "มาดามเดียร์" นำทีม 6 ส.ส. พลังประชารัฐ วอนผู้ใหญ่หยุดทะเลาะกัน”. สืบค้นจาก https://www.sanook.com/news/8179666/ (13 เมษายน 2566).
[8] “มาดามเดียร์ เผยเหตุ กลุ่มดาวฤกษ์ งดออกเสียง ไว้วางใจ ศักดิ์สยาม! ”. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13 เมษายน 2566).
[9] “ส่องปรากฏการณ์ กลุ่มดาวฤกษ์งดโหวต ‘ศักดิ์สยาม’-เทียบภูมิใจไทยงดโหวต ‘ประยุทธ์’”.สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763 (13 เมษายน 2566).
[10] “พปชร. ลงดาบส.ส.ดาวฤกษ์ถอดจากทุกตำแหน่งการเมือง หลังโหวตสวนมติพรรค”. สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/2021/73644 (13 เมษายน 2566).
[11] “กลุ่มดาวฤกษ์" แตก! "มาดามเดียร์" โพสต์แจงงดออกเสียงหนุน "อนุทิน" ขอแสดงจุดยืนตัวแทนปชช.”. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/277609 (13 เมษายน 2566).
[12] “ศาลฎีกานักการเมือง พิพากษาจำคุก 1 ปี ปรับ 2 แสน ‘ธณิกานต์’ ส.ส. พลังประชารัฐ ปมเสียบบัตรเเทนกัน รอลงอาญา 2 ปี”. สืบค้นจาก https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/ (13 เมษายน 2566).
[13] “‘กรณิศ’ กอด ‘วัน ภาดาท์’ เข้าพรรคภูมิใจไทย”. สืบค้นจาก https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/ (30 พฤษภาคม 2566).
[14] “ฐิติภัสร์” เตรียมเลือกตั้ง ส.ส.กทม.ในนาม “รทสช.” ภูมิใจ 4 ปี ตั้งใจทุ่มเททำงาน รับใช้ชาวบางกะปิ วังทองหลาง”. สืบค้นจาก https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783 (30 พฤษภาคม 2566).
[15] “ศาลฎีกาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ‘ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์’ อดีต สส. พปชร. ตลอดชีวิต ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบเสียบบัตรแทนกัน”สืบค้นจาก https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/ (31 สิงหาคม 2566).