ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหาร 2557 (คสช.)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย '''ผู้..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย
'''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ


 
 


<span style="font-size:x-large;">'''รัฐประหาร 25''''''57 (คสช.)'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''รัฐประหาร 2557&nbsp;(คสช.)'''</span>


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; รัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มี'''พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา''' เป็นหัวหน้าคณะรัฐประหารได้ยึดอำนาจรัฐบาลรักษาการ'''นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล'''&nbsp;นับเป็นรัฐประหารครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์ไทย รัฐประหารดังกล่าวเกิดขึ้นหลังวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 เพื่อคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ และอิทธิพลของ'''นายทักษิณ ชินวัตร'''&nbsp;ในการเมืองไทย หลังรัฐประหาร มีประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงยกเว้นหมวด 2 คณะรัฐมนตรีรักษาการหมดอำนาจ ตลอดจนให้ยุบวุฒิสภา จนเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557&nbsp;มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภาฯ มีมติเลือก&nbsp;พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี หลายประเทศประณามรัฐประหารครั้งนี้ ส่วนในประเทศไทยมีการตอบสนองทั้งสนับสนุนและต่อต้าน
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; รัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มี'''พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา''' เป็นหัวหน้าคณะรัฐประหารได้ยึดอำนาจรัฐบาลรักษาการ'''นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล'''&nbsp;นับเป็นรัฐประหารครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์ไทย รัฐประหารดังกล่าวเกิดขึ้นหลังวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 เพื่อคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ และอิทธิพลของ'''นายทักษิณ ชินวัตร'''&nbsp;ในการเมืองไทย หลังรัฐประหาร มีประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงยกเว้นหมวด 2 คณะรัฐมนตรีรักษาการหมดอำนาจ ตลอดจนให้ยุบวุฒิสภา จนเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557&nbsp;มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภาฯ มีมติเลือก&nbsp;พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี หลายประเทศประณามรัฐประหารครั้งนี้ ส่วนในประเทศไทยมีการตอบสนองทั้งสนับสนุนและต่อต้าน


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลของรัฐประหารทำให้สิทธิพลเมืองและสิทธิการเมืองถูกระงับ กองทัพมีอำนาจในการเมืองไทยมากขึ้น ความเหลื่อมล้ำและการผูกขาดเศรษฐกิจโดยกลุ่มธุรกิจใหญ่ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560]] ซึ่งกำเนิดขึ้นในช่วงนี้ ซึ่งมีการวางระบบอย่างจงใจทำให้พรรคการเมืองครองเสียงข้างมากได้ยากและมีการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเท่ากับทำให้ประเทศเข้าสู่ยุคที่กองทัพชี้นำประชาธิปไตย[[#_ftn1|[1]]] อีกทั้งในบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญยังบัญญัติให้มีสมาชิกวุฒิสภาในวาระ 5 ปีแรกมาจากการสรรหาและเสนอแต่งตั้งโดย คสช.&nbsp;จำนวน 250 คน แม้ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ นำไปสู่การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 และมีการจัดตั้งรัฐบาลที่ประกอบด้วยพรรคการเมืองซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แต่หลักประกันในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชน หรือสิทธิทางการเมืองในมิติอื่น ๆ ยังถูกจำกัดอยู่ อาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ประชาธิปไตยไทยหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 เป็นต้นมาอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า '''“ประชาธิปไตยที่ถูกควบคุมกำกับ”''' หรือเป็นระบอบการเมืองแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยกับเผด็จการ '''(''''''Hybrid Regime)'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลของรัฐประหารทำให้สิทธิพลเมืองและสิทธิการเมืองถูกระงับ กองทัพมีอำนาจในการเมืองไทยมากขึ้น ความเหลื่อมล้ำและการผูกขาดเศรษฐกิจโดยกลุ่มธุรกิจใหญ่ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560]] ซึ่งกำเนิดขึ้นในช่วงนี้ ซึ่งมีการวางระบบอย่างจงใจทำให้พรรคการเมืองครองเสียงข้างมากได้ยากและมีการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเท่ากับทำให้ประเทศเข้าสู่ยุคที่กองทัพชี้นำประชาธิปไตย[[#_ftn1|[1]]] อีกทั้งในบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญยังบัญญัติให้มีสมาชิกวุฒิสภาในวาระ 5 ปีแรกมาจากการสรรหาและเสนอแต่งตั้งโดย คสช.&nbsp;จำนวน 250 คน แม้ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ นำไปสู่การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 และมีการจัดตั้งรัฐบาลที่ประกอบด้วยพรรคการเมืองซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แต่หลักประกันในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชน หรือสิทธิทางการเมืองในมิติอื่น ๆ ยังถูกจำกัดอยู่ อาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ประชาธิปไตยไทยหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 เป็นต้นมาอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า '''“ประชาธิปไตยที่ถูกควบคุมกำกับ”'''หรือเป็นระบอบการเมืองแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยกับเผด็จการ'''''<i>('</i>'''Hybrid Regime)'''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 พรรคเพื่อไทยชนะเลือกตั้ง และจัดตั้งรัฐบาลใหม่โดยมี'''นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร''' เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาในช่วง พ.ศ. 2556 – 2557 มีการประท้วงต่อต้านการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ นำโดย'''นายสุเทพ เทือกสุบรรณ''' อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ภายหลังมีการตั้งคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.)&nbsp;โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตั้ง '''“สภาประชาชน”''' ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งทำหน้าที่ดูแลการปฏิรูปการเมือง กลุ่มนิยมรัฐบาล รวมทั้งแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จัดชุมนุมเช่นกัน มีความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ[[#_ftn2|[2]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 พรรคเพื่อไทยชนะเลือกตั้ง และจัดตั้งรัฐบาลใหม่โดยมี'''นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร''' เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาในช่วง พ.ศ. 2556 – 2557 มีการประท้วงต่อต้านการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ นำโดย'''นายสุเทพ เทือกสุบรรณ''' อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ภายหลังมีการตั้งคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.)&nbsp;โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตั้ง '''“สภาประชาชน”''' ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งทำหน้าที่ดูแลการปฏิรูปการเมือง กลุ่มนิยมรัฐบาล รวมทั้งแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จัดชุมนุมเช่นกัน มีความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ[[#_ftn2|[2]]]
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 กำลังทหารพร้อมอาวุธเข้าควบคุมสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ตามคำสั่ง&nbsp;พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก ซึ่งประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร และจัดตั้งกองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ กอ.รส. และออกคำสั่งเรียกตัวแทนจากคู่ขัดแย้งฝ่ายต่าง ๆ&nbsp;เข้าร่วมประชุมที่สโมสรกองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยไม่สามารถหาข้อสรุปจากการเจรจาหารือได้ จนกระทั่งวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 16.30 น. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศยึดอำนาจและตั้ง '''“คณะรักษาความสงบแห่งชาติ” (คสช.)'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 กำลังทหารพร้อมอาวุธเข้าควบคุมสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ตามคำสั่ง&nbsp;พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก ซึ่งประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร และจัดตั้งกองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ กอ.รส. และออกคำสั่งเรียกตัวแทนจากคู่ขัดแย้งฝ่ายต่าง ๆ&nbsp;เข้าร่วมประชุมที่สโมสรกองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยไม่สามารถหาข้อสรุปจากการเจรจาหารือได้ จนกระทั่งวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 16.30 น. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศยึดอำนาจและตั้ง '''“คณะรักษาความสงบแห่งชาติ” (คสช.)'''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมา คสช. ออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 5/2557 ให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงชั่วคราว เว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ให้คณะรัฐมนตรีรักษาการสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่ แต่ให้วุฒิสภาเท่าที่มีอยู่ ศาลทั้งหลาย องค์กรอิสระ และองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป[[#_ftn6|[6]]] นอกจากนี้ ยังมีการออกประกาศให้หัวหน้า คสช. ใช้อำนาจของนายกรัฐมนตรีและมีอำนาจนิติบัญญัติได้อีกด้วย ส่วนอำนาจตุลาการยังให้ดำเนินการได้ภายใต้คำสั่งของ คสช. จนกระทั่งมีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557]] ในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมา คสช. ออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 5/2557 ให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงชั่วคราว เว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ให้คณะรัฐมนตรีรักษาการสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่ แต่ให้วุฒิสภาเท่าที่มีอยู่ ศาลทั้งหลาย องค์กรอิสระ และองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป[[#_ftn6|[6]]] นอกจากนี้ ยังมีการออกประกาศให้หัวหน้า คสช. ใช้อำนาจของนายกรัฐมนตรีและมีอำนาจนิติบัญญัติได้อีกด้วย ส่วนอำนาจตุลาการยังให้ดำเนินการได้ภายใต้คำสั่งของ คสช. จนกระทั่งมีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557]] ในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตยและเสริมอำนาจให้กับ คสช. เช่น มาตรา 48 ที่บัญญัติให้บรรดาการกระทำทั้งหลายซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการรัฐประหารครั้งนี้ของหัวหน้า คสช. และ คสช. รวมทั้งการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำดังกล่าวหรือของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากหัวหน้า คสช. หรือ คสช. หรือของผู้ซึ่งได้รับคำสั่งจากผู้ได้รับมอบหมายดังกล่าว หากการกระทำนั้นผิดต่อกฎหมายให้ผู้กระทำพ้นจากความผิดและความ<br/> รับผิดโดยสิ้นเชิง กล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการนิรโทษกรรมความผิดของ คสช. ทั้งในอดีตและอนาคต และให้คำสั่ง คสช. ถือว่าชอบด้วยกฎหมาย นอกจากนี้ บทบัญญัติมาตรา 44 ยังให้อำนาจแก่หัวหน้า คสช. มีอำนาจสั่งการระงับยับยั้ง หรือกระทำการใด ๆ ได้ ทั้งในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำ รวมทั้งการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว เป็นคำสั่งหรือการกระทำ หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตยและเสริมอำนาจให้กับ คสช. เช่น มาตรา 48 ที่บัญญัติให้บรรดาการกระทำทั้งหลายซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการรัฐประหารครั้งนี้ของหัวหน้า คสช. และ คสช. รวมทั้งการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำดังกล่าวหรือของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากหัวหน้า คสช. หรือ คสช. หรือของผู้ซึ่งได้รับคำสั่งจากผู้ได้รับมอบหมายดังกล่าว หากการกระทำนั้นผิดต่อกฎหมายให้ผู้กระทำพ้นจากความผิดและความ<br/> รับผิดโดยสิ้นเชิง กล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการนิรโทษกรรมความผิดของ คสช. ทั้งในอดีตและอนาคต และให้คำสั่ง คสช. ถือว่าชอบด้วยกฎหมาย นอกจากนี้ บทบัญญัติมาตรา 44 ยังให้อำนาจแก่หัวหน้า คสช. มีอำนาจสั่งการระงับยับยั้ง หรือกระทำการใด ๆ ได้ ทั้งในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำ รวมทั้งการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว เป็นคำสั่งหรือการกระทำ หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว คสช. ได้แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จำนวน 250 คน และได้ลงมติเลือกพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมามีการแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จำนวน 250 คน โดยมีอำนาจเสนอข้อเสนอปฏิรูปและรับรองรัฐธรรมนูญใหม่ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 36 คน มีที่มาจาก 1) สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) เสนอชื่อจำนวน 20 คน 2) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน 3) คณะรัฐมนตรี (ครม.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน<br/> 4) คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน และเลือกประธานกรรมาธิการ อีก 1 คน อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมา สปช. ก็ได้ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ จึงมีการยุบสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ และ คสช. ได้ตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ จำนวน 21 คน รวมทั้งแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) จำนวน 200 คน เพื่อขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปของ คสช.
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว คสช. ได้แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จำนวน 250 คน และได้ลงมติเลือก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมามีการแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จำนวน 250 คน โดยมีอำนาจเสนอข้อเสนอปฏิรูปและรับรองรัฐธรรมนูญใหม่ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 36 คน มีที่มาจาก
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1) สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) เสนอชื่อจำนวน 20 คน&nbsp;
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน&nbsp;
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3) คณะรัฐมนตรี (ครม.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน&nbsp;
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 4) คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน และเลือกประธานกรรมาธิการ อีก 1 คน
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมา สปช. ก็ได้ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ จึงมีการยุบสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ และ คสช. ได้ตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ จำนวน 21 คน รวมทั้งแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) จำนวน 200 คน เพื่อขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปของ คสช.


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้ยกร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ คณะกรรมการการเลือกตั้งได้จัดให้มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทยพร้อมคำถามพ่วงให้สมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญนี้มีอำนาจร่วมลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรช่วง 5 ปีแรกนับแต่มีรัฐสภา การลงประชามติเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 จากจำนวนผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติ 50,071,589 คน มีผู้มาใช้สิทธิ&nbsp; 29,740,677 คน คิดเป็นร้อยละ 59.40 เห็นชอบรับร่างรัฐธรรมนูญ 16,820,402 คะแนน (ร้อยละ 61.35)&nbsp;ไม่เห็นชอบ 10,598,037 คะแนน (ร้อยละ 38.65) เห็นชอบคำถามพ่วง 15,132,050 คะแนน (ร้อยละ 58.07)&nbsp;ไม่เห็นชอบ 10,926,648 คะแนน (ร้อยละ 41.93)[[#_ftn7|[7]]] นำไปสู่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้ยกร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ คณะกรรมการการเลือกตั้งได้จัดให้มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทยพร้อมคำถามพ่วงให้สมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญนี้มีอำนาจร่วมลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรช่วง 5 ปีแรกนับแต่มีรัฐสภา การลงประชามติเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 จากจำนวนผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติ 50,071,589 คน มีผู้มาใช้สิทธิ&nbsp; 29,740,677 คน คิดเป็นร้อยละ 59.40 เห็นชอบรับร่างรัฐธรรมนูญ 16,820,402 คะแนน (ร้อยละ 61.35)&nbsp;ไม่เห็นชอบ 10,598,037 คะแนน (ร้อยละ 38.65) เห็นชอบคำถามพ่วง 15,132,050 คะแนน (ร้อยละ 58.07)&nbsp;ไม่เห็นชอบ 10,926,648 คะแนน (ร้อยละ 41.93)[[#_ftn7|[7]]] นำไปสู่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560
บรรทัดที่ 36: บรรทัดที่ 46:
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>
<div><div id="ftn1">
<div><div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] Montesano, Michael J, 2019. "The Place of the Provinces in Thailand's Twenty-Year National Strategy: Toward Community Democracy in a Commercial Nation?." '''ISEAS Perspective.''' 2019 (60): 1–11. [[อ้างถึงใน วิกิพีเดีย, (คสช.)|อ้างถึงใน วิกิพีเดีย, ]]2021. '''รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. ''''''2557.''' สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2021 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_พ.ศ._2557
[[#_ftnref1|[1]]] Montesano, Michael J, 2019. "The Place of the Provinces in Thailand's Twenty-Year National Strategy: Toward Community Democracy in a Commercial Nation?." '''ISEAS Perspective.'''2019 (60): 1–11. [[อ้างถึงใน_วิกิพีเดีย,_(คสช.)|อ้างถึงใน วิกิพีเดีย, ]]2021.'''''<i>รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. '</i>'''2557.''' สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2021 จาก [https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_พ.ศ._2557 https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_พ.ศ._2557]
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] BBC, 2014. "Why is Thailand under military rule?." '''BBC. 2014-05-22.''' สืบค้นเมื่อ 23 May 2014.; The Voice of Russia, 2014. "Death toll in Thai anti-gov't protests reaches four, dozens injured." '''The Voice of Russia 2014-02-18.''' สืบค้นเมื่อ 23 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
[[#_ftnref2|[2]]] BBC, 2014. "Why is Thailand under military rule?." '''BBC. 2014-05-22.''' สืบค้นเมื่อ 23 May 2014.; The Voice of Russia, 2014. "Death toll in Thai anti-gov't protests reaches four, dozens injured." '''The Voice of Russia 2014-02-18.''' สืบค้นเมื่อ 23 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
บรรทัดที่ 42: บรรทัดที่ 52:
[[#_ftnref3|[3]]] The Nation, 2014. "Constitutional Court nullifies Feb 2 election." '''The Nation 2014-03-21.''' สืบค้นเมื่อ 22 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
[[#_ftnref3|[3]]] The Nation, 2014. "Constitutional Court nullifies Feb 2 election." '''The Nation 2014-03-21.''' สืบค้นเมื่อ 22 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] Bangkok Post, 2014. "Yingluck, 9 ministers removed from office." '''Bangkokpost 7 May 2014.''' สืบค้นเมื่อ 22 May 2014. อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.; Manager online, 2014. "อวสานยิ่งลักษณ์ พ่วง รมต. ! ศาล รธน.ฟันสิ้นสุดความเป็นรมต.ย้ายถวิลมิชอบใช้อำนาจเอื้อเพรียวพันธ์." '''Manager online 2014-05-07.''' สืบค้นเมื่อ 7 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
[[#_ftnref4|[4]]] Bangkok Post, 2014. "Yingluck, 9 ministers removed from office." '''Bangkokpost 7 May 2014.''' สืบค้นเมื่อ 22 May 2014. อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.; Manager online, 2014. "อวสานยิ่งลักษณ์ พ่วง รมต.&nbsp;! ศาล รธน.ฟันสิ้นสุดความเป็นรมต.ย้ายถวิลมิชอบใช้อำนาจเอื้อเพรียวพันธ์." '''Manager online 2014-05-07.''' สืบค้นเมื่อ 7 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] Bangkok Post, 2014. "Yingluck removed, Niwatthamrong acting PM." '''Bangkok Post 2014-05-07.&nbsp;'''สืบค้นเมื่อ 7 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
[[#_ftnref5|[5]]] Bangkok Post, 2014. "Yingluck removed, Niwatthamrong acting PM." '''Bangkok Post 2014-05-07.&nbsp;'''สืบค้นเมื่อ 7 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.
บรรทัดที่ 48: บรรทัดที่ 58:
[[#_ftnref6|[6]]] ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 5/2557 เรื่อง การสิ้นสุดชั่วคราวของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
[[#_ftnref6|[6]]] ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 5/2557 เรื่อง การสิ้นสุดชั่วคราวของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] โพสต์ทูเดย์, 2559. “กกต. แถลงผลประชามติเป็นทางการคนเห็นชอบร่าง รธน. 61.35%.” หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ 10 ส.ค. 2559 สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2021 จาก https://www.posttoday.com/politic/news/447841
[[#_ftnref7|[7]]] โพสต์ทูเดย์, 2559. “กกต. แถลงผลประชามติเป็นทางการคนเห็นชอบร่าง รธน. 61.35%.” หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ 10 ส.ค. 2559 สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2021 จาก [https://www.posttoday.com/politic/news/447841 https://www.posttoday.com/politic/news/447841]
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:รัฐประหาร]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]][[Category:ปฏิวัติ]]
[[Category:รัฐประหาร]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] [[Category:ปฏิวัติ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:57, 28 มีนาคม 2565

ผู้เรียบเรียง : รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ

 

รัฐประหาร 2557 (คสช.)

          รัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นหัวหน้าคณะรัฐประหารได้ยึดอำนาจรัฐบาลรักษาการนายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล นับเป็นรัฐประหารครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์ไทย รัฐประหารดังกล่าวเกิดขึ้นหลังวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 เพื่อคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ และอิทธิพลของนายทักษิณ ชินวัตร ในการเมืองไทย หลังรัฐประหาร มีประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงยกเว้นหมวด 2 คณะรัฐมนตรีรักษาการหมดอำนาจ ตลอดจนให้ยุบวุฒิสภา จนเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภาฯ มีมติเลือก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี หลายประเทศประณามรัฐประหารครั้งนี้ ส่วนในประเทศไทยมีการตอบสนองทั้งสนับสนุนและต่อต้าน

          ผลของรัฐประหารทำให้สิทธิพลเมืองและสิทธิการเมืองถูกระงับ กองทัพมีอำนาจในการเมืองไทยมากขึ้น ความเหลื่อมล้ำและการผูกขาดเศรษฐกิจโดยกลุ่มธุรกิจใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560 ซึ่งกำเนิดขึ้นในช่วงนี้ ซึ่งมีการวางระบบอย่างจงใจทำให้พรรคการเมืองครองเสียงข้างมากได้ยากและมีการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเท่ากับทำให้ประเทศเข้าสู่ยุคที่กองทัพชี้นำประชาธิปไตย[1] อีกทั้งในบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญยังบัญญัติให้มีสมาชิกวุฒิสภาในวาระ 5 ปีแรกมาจากการสรรหาและเสนอแต่งตั้งโดย คสช. จำนวน 250 คน แม้ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ นำไปสู่การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 และมีการจัดตั้งรัฐบาลที่ประกอบด้วยพรรคการเมืองซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แต่หลักประกันในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชน หรือสิทธิทางการเมืองในมิติอื่น ๆ ยังถูกจำกัดอยู่ อาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ประชาธิปไตยไทยหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 เป็นต้นมาอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า “ประชาธิปไตยที่ถูกควบคุมกำกับ”'หรือเป็นระบอบการเมืองแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยกับเผด็จการ('Hybrid Regime)

          หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 พรรคเพื่อไทยชนะเลือกตั้ง และจัดตั้งรัฐบาลใหม่โดยมีนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาในช่วง พ.ศ. 2556 – 2557 มีการประท้วงต่อต้านการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ นำโดยนายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ภายหลังมีการตั้งคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตั้ง “สภาประชาชน” ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งทำหน้าที่ดูแลการปฏิรูปการเมือง กลุ่มนิยมรัฐบาล รวมทั้งแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จัดชุมนุมเช่นกัน มีความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ[2]

          ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และกำหนดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 แต่การเลือกตั้งไม่เสร็จสมบูรณ์ในวันนั้นเพราะถูกผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลขัดขวาง ศาลรัฐธรรมนูญสั่งเพิกถอนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา[3] ตามคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 5/2557 และในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยเป็นเอกฉันท์ให้นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรและรัฐมนตรีที่มีมติคณะรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งอันเนื่องมาจาการโยกย้ายข้าราชการระดับสูง[4] ตามคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2557 รัฐมนตรีที่เหลืออยู่เลือกนายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นผู้ปฏิบัติราชการนายกรัฐมนตรีแทนนางสาวยิ่งลักษณ์[5]

          วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 กำลังทหารพร้อมอาวุธเข้าควบคุมสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ตามคำสั่ง พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก ซึ่งประกาศใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร และจัดตั้งกองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ กอ.รส. และออกคำสั่งเรียกตัวแทนจากคู่ขัดแย้งฝ่ายต่าง ๆ เข้าร่วมประชุมที่สโมสรกองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยไม่สามารถหาข้อสรุปจากการเจรจาหารือได้ จนกระทั่งวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 16.30 น. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศยึดอำนาจและตั้ง “คณะรักษาความสงบแห่งชาติ” (คสช.)

          ต่อมา คสช. ออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 5/2557 ให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลงชั่วคราว เว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ให้คณะรัฐมนตรีรักษาการสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่ แต่ให้วุฒิสภาเท่าที่มีอยู่ ศาลทั้งหลาย องค์กรอิสระ และองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป[6] นอกจากนี้ ยังมีการออกประกาศให้หัวหน้า คสช. ใช้อำนาจของนายกรัฐมนตรีและมีอำนาจนิติบัญญัติได้อีกด้วย ส่วนอำนาจตุลาการยังให้ดำเนินการได้ภายใต้คำสั่งของ คสช. จนกระทั่งมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557 ในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

          การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตยและเสริมอำนาจให้กับ คสช. เช่น มาตรา 48 ที่บัญญัติให้บรรดาการกระทำทั้งหลายซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการรัฐประหารครั้งนี้ของหัวหน้า คสช. และ คสช. รวมทั้งการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำดังกล่าวหรือของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากหัวหน้า คสช. หรือ คสช. หรือของผู้ซึ่งได้รับคำสั่งจากผู้ได้รับมอบหมายดังกล่าว หากการกระทำนั้นผิดต่อกฎหมายให้ผู้กระทำพ้นจากความผิดและความ
รับผิดโดยสิ้นเชิง กล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการนิรโทษกรรมความผิดของ คสช. ทั้งในอดีตและอนาคต และให้คำสั่ง คสช. ถือว่าชอบด้วยกฎหมาย นอกจากนี้ บทบัญญัติมาตรา 44 ยังให้อำนาจแก่หัวหน้า คสช. มีอำนาจสั่งการระงับยับยั้ง หรือกระทำการใด ๆ ได้ ทั้งในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำ รวมทั้งการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว เป็นคำสั่งหรือการกระทำ หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด

          หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว คสช. ได้แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จำนวน 250 คน และได้ลงมติเลือก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมามีการแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จำนวน 250 คน โดยมีอำนาจเสนอข้อเสนอปฏิรูปและรับรองรัฐธรรมนูญใหม่ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 36 คน มีที่มาจาก

          1) สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) เสนอชื่อจำนวน 20 คน 

          2) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน 

          3) คณะรัฐมนตรี (ครม.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน 

          4) คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เสนอชื่อจำนวน 5 คน และเลือกประธานกรรมาธิการ อีก 1 คน

          อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมา สปช. ก็ได้ลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ จึงมีการยุบสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ และ คสช. ได้ตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ จำนวน 21 คน รวมทั้งแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) จำนวน 200 คน เพื่อขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปของ คสช.

          เมื่อคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้ยกร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ คณะกรรมการการเลือกตั้งได้จัดให้มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทยพร้อมคำถามพ่วงให้สมาชิกวุฒิสภาชุดแรกตามบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญนี้มีอำนาจร่วมลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรช่วง 5 ปีแรกนับแต่มีรัฐสภา การลงประชามติเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 จากจำนวนผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติ 50,071,589 คน มีผู้มาใช้สิทธิ  29,740,677 คน คิดเป็นร้อยละ 59.40 เห็นชอบรับร่างรัฐธรรมนูญ 16,820,402 คะแนน (ร้อยละ 61.35) ไม่เห็นชอบ 10,598,037 คะแนน (ร้อยละ 38.65) เห็นชอบคำถามพ่วง 15,132,050 คะแนน (ร้อยละ 58.07) ไม่เห็นชอบ 10,926,648 คะแนน (ร้อยละ 41.93)[7] นำไปสู่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560

          รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ถูกวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการสืบทอดอำนาจของ คสช. และการสร้างประชาธิปไตยแบบถูกควบคุมกำกับไว้ในบทบัญญัติต่าง ๆ เช่น การให้อำนาจกับวุฒิสภาที่มาจากการเสนอแต่งตั้งของ คสช. ตามบทเฉพาะกาล การมีกฎหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติที่มาจากการเสนอแต่งตั้งของ คสช. การใช้ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม โดยเฉพาะมาตรา 279 ที่รับรองบรรดาประกาศ คำสั่ง และการกระทำของ คสช. หรือของหัวหน้า คสช. ที่มีผลใช้บังคับในทางรัฐธรรมนูญ ทางนิติบัญญัติ ทางบริหาร หรือทางตุลาการ ให้ชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้และกฎหมาย และมีผลใช้บังคับโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป อีกนัยหนึ่งจึงเป็นการรับรองและไม่อาจตรวจสอบอำนาจพิเศษของ คสช. ได้

          ในเวลาต่อมามีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 นำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กลับเข้าสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง ส่งผลให้ คสช. สิ้นสุดลงโดยผลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยให้โอนอำนาจหน้าที่ภารกิจที่คงค้างของ คสช. ให้แก่คณะรัฐมนตรีและกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ต่อไป

          อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวเรียกร้องให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อหยุดการสืบทอดอำนาจของ คสช. อันเป็นผลพวงจากการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องแม้จะมีการเลือกตั้งก็ตาม รวมทั้งเกิดการเคลื่อนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมอย่างมากมายในช่วง พ.ศ. 2563 – 2564 เพื่อขับไล่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ ยุติการสืบทอดอำนาจของ คสช. ผนวกกับเป็นการสะท้อนความเดือดร้อนของประชาชนทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมอันเป็นผลมาจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การรัฐประหาร พ.ศ. 2557 เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญประการหนึ่งในสังคมการเมืองไทย

 

อ้างอิง

[1] Montesano, Michael J, 2019. "The Place of the Provinces in Thailand's Twenty-Year National Strategy: Toward Community Democracy in a Commercial Nation?." ISEAS Perspective.'2019 (60): 1–11. อ้างถึงใน วิกิพีเดีย, 2021.รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. '2557. สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2021 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_พ.ศ._2557

[2] BBC, 2014. "Why is Thailand under military rule?." BBC. 2014-05-22. สืบค้นเมื่อ 23 May 2014.; The Voice of Russia, 2014. "Death toll in Thai anti-gov't protests reaches four, dozens injured." The Voice of Russia 2014-02-18. สืบค้นเมื่อ 23 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.

[3] The Nation, 2014. "Constitutional Court nullifies Feb 2 election." The Nation 2014-03-21. สืบค้นเมื่อ 22 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.

[4] Bangkok Post, 2014. "Yingluck, 9 ministers removed from office." Bangkokpost 7 May 2014. สืบค้นเมื่อ 22 May 2014. อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.; Manager online, 2014. "อวสานยิ่งลักษณ์ พ่วง รมต. ! ศาล รธน.ฟันสิ้นสุดความเป็นรมต.ย้ายถวิลมิชอบใช้อำนาจเอื้อเพรียวพันธ์." Manager online 2014-05-07. สืบค้นเมื่อ 7 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.

[5] Bangkok Post, 2014. "Yingluck removed, Niwatthamrong acting PM." Bangkok Post 2014-05-07. สืบค้นเมื่อ 7 May 2014 อ้างถึงใน เรื่องเดียวกัน.

[6] ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 5/2557 เรื่อง การสิ้นสุดชั่วคราวของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

[7] โพสต์ทูเดย์, 2559. “กกต. แถลงผลประชามติเป็นทางการคนเห็นชอบร่าง รธน. 61.35%.” หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ 10 ส.ค. 2559 สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2021 จาก https://www.posttoday.com/politic/news/447841