ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย"
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทค..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข | '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' เอกวีร์ มีสุข | ||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ''' | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
| | ||
'''ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (''''''plurality system | <span style="font-size:x-large;">'''ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (''''''plurality system)'''</span> | ||
การทำความเข้าใจความหมายของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย แบ่งการอธิบายออกเป็น 5 ส่วน คือ หนึ่ง การอธิบายนิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย และสอง การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย | การทำความเข้าใจความหมายของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย แบ่งการอธิบายออกเป็น 5 ส่วน คือ หนึ่ง การอธิบายนิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย และสอง การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย ส่วนที่เหลือจะจำแนกและอธิบายรายละเอียดระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ หนึ่ง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน สอง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และสาม ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ | ||
= <span style="font-size:x-large;">'''นิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย'''</span> = | |||
'''นิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย''' | |||
| ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (simple majority) หรือระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) คือ ระบบการเลือกตั้งพื้นฐานและเรียบง่ายที่สุดที่กำหนดให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าผู้สมัครคนอื่นที่แข่งขันกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง[[#_ftn1|[1]]] ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A ให้มีผู้แทนได้หนึ่งคน ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดอันดับแรกถือเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายไม่ได้กำหนด จำนวน/ร้อยละ ของคะแนนเป็นเงื่อนไขในการชนะการเลือกตั้ง แตกต่างจากระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากเด็ดขาด (majority system) ที่กำหนดเงื่อนไขให้ผู้สมัครต้องได้คะแนนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่งหรือมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด[[#_ftn2|[2]]] ข้อดีของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย คือ เป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถตัดสินใจได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นระบบที่สะดวกและต้นทุนต่ำในการจัดการเลือกตั้งมากกว่าระบบอื่น[[#_ftn3|[3]]] | ||
'''การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย''' | = <span style="font-size:x-large;">'''การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย'''</span> = | ||
ในการจำแนกประเภทของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากแบบง่ายมีนักวิชาการได้จำแนกได้หลายลักษณะและให้รายละเอียดแตกต่างกัน เช่น สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2561) ได้จำแนกโดยเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) แบ่งออกเป็นห้าประเภท[[#_ftn4|[4]]] ขณะที่อรรถสิทธิ พานแก้ว (2564) ได้จำแนกโดยเรียกชื่อว่าระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงข้างมาก (Majoritarian system) แบ่งออกเป็นสามประเภท[[#_ftn5|[5]]] ส่วนงานของ International IDEA (2005) เรียกว่าระบบคะแนนนำ (Plurality System) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท[[#_ftn6|[6]]] ส่วนของ FairVote (2021) เรียกว่าระบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (Plurality System) แบ่งเป็น 2 ประเภท[[#_ftn7|[7]]] | ในการจำแนกประเภทของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากแบบง่ายมีนักวิชาการได้จำแนกได้หลายลักษณะและให้รายละเอียดแตกต่างกัน เช่น สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2561) ได้จำแนกโดยเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) แบ่งออกเป็นห้าประเภท[[#_ftn4|[4]]] ขณะที่อรรถสิทธิ พานแก้ว (2564) ได้จำแนกโดยเรียกชื่อว่าระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงข้างมาก (Majoritarian system) แบ่งออกเป็นสามประเภท[[#_ftn5|[5]]] ส่วนงานของ International IDEA (2005) เรียกว่าระบบคะแนนนำ (Plurality System) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท[[#_ftn6|[6]]] ส่วนของ FairVote (2021) เรียกว่าระบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (Plurality System) แบ่งเป็น 2 ประเภท[[#_ftn7|[7]]] | ||
บรรทัดที่ 24: | บรรทัดที่ 20: | ||
สำหรับการจำแนกในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 ระบบเลือกตั้งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้[[#_ftn8|[8]]] | สำหรับการจำแนกในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 ระบบเลือกตั้งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้[[#_ftn8|[8]]] | ||
| == '''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน''' == | ||
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน (single-member districts/constituencies: SMD) หรือในบางงานเขียนมีชื่อเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) ซึ่งใช้เรียกในประเทศอังกฤษและแคนาดา หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่าย หนึ่งเขตหนึ่งคน (Single-member district plurality voting: SMDP) ที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกา[[#_ftn9|[9]]] ถือเป็นระบบการเลือกตั้งที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน และนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากมีความง่ายและสะดวกในการจัดการเลือกตั้ง การลงคะแนน และการนับคะแนน เป็นระบบที่มีต้นกำเนิดในประเทศอังกฤษแล้วแพร่ขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ที่เคยเป็นอาณานิคม เช่น แคนาดา อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ระบบดังกล่าวยังเป็นที่นิยมในประเทศภูมิภาคละตินอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาด้วย[[#_ftn10|[10]]] | ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน (single-member districts/constituencies: SMD) หรือในบางงานเขียนมีชื่อเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) ซึ่งใช้เรียกในประเทศอังกฤษและแคนาดา หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่าย หนึ่งเขตหนึ่งคน (Single-member district plurality voting: SMDP) ที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกา[[#_ftn9|[9]]] ถือเป็นระบบการเลือกตั้งที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน และนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากมีความง่ายและสะดวกในการจัดการเลือกตั้ง การลงคะแนน และการนับคะแนน เป็นระบบที่มีต้นกำเนิดในประเทศอังกฤษแล้วแพร่ขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ที่เคยเป็นอาณานิคม เช่น แคนาดา อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ระบบดังกล่าวยังเป็นที่นิยมในประเทศภูมิภาคละตินอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาด้วย[[#_ftn10|[10]]] | ||
สำหรับประเทศไทยได้ใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550[[#_ftn11|[11]]] และ พ.ศ. 2560 โดยใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2562 คู่ขนานไปกับการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตไว้แตกต่างกัน ดังนี้ | |||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 1''' ''':''' จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ</p> | |||
'''ตารางที่ '''''' | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 150px; text-align: center;" | | ||
'''สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร''' | |||
''' | |||
| style="width:170px;" | | | style="width: 170px; text-align: center;" | | ||
''' | '''รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540''' | ||
''' | | style="width: 200px;" | | ||
'''รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 '''(แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2554) | |||
| style="width:166px;" | | | style="width: 166px; text-align: center;" | | ||
''' | '''รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560''' | ||
|- | |- | ||
| style="width:94px;" | | | style="width:94px;" | <p style="text-align: center;">'''แบ่งเขต'''</p> | ||
'''แบ่งเขต''' | | style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">400 คน</p> | ||
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">375 คน</p> | |||
| style="width:170px;" | | | style="width:166px;" | <p style="text-align: center;">350 คน</p> | ||
400 คน | |||
| style="width:170px;" | | |||
375 คน | |||
| style="width:166px;" | | |||
350 คน | |||
|- | |- | ||
| style="width:94px;" | | | style="width:94px;" | <p style="text-align: center;">'''บัญชีรายชื่อ'''</p> | ||
'''บัญชีรายชื่อ''' | | style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">100 คน</p> | ||
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">125 คน</p> | |||
| style="width:170px;" | | | style="width:166px;" | <p style="text-align: center;">150 คน</p> | ||
100 คน | |||
| style="width:170px;" | | |||
125 คน | |||
| style="width:166px;" | | |||
150 คน | |||
|- | |- | ||
| style="width:94px;" | | | style="width:94px;" | <p style="text-align: center;">'''รวม'''</p> | ||
'''รวม''' | | style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">500 คน</p> | ||
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">500 คน</p> | |||
| style="width:170px;" | | | style="width:166px;" | <p style="text-align: center;">500 คน</p> | ||
500 คน | |||
| style="width:170px;" | | |||
500 คน | |||
| style="width:166px;" | | |||
500 คน | |||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา :''' รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560</p> | |||
'''ที่มา: | ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน จะกำหนดให้มีเขตเลือกตั้งที่ให้เลือกผู้แทนได้ 1 คน โดยใช้ระบบเสียงข้างมากอย่างง่ายโดยเน้นใช้คะแนนเสียงของผู้ที่ได้คะแนนเสียงมากที่สุดในบรรดาผู้สมัครที่ลงแข่งขันในเขตเลือกตั้ง หากใครได้คะแนนมากที่สุดก็ถือเป็นผู้ชนะโดยไม่จำเป็นต้องได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด[[#_ftn12|[12]]] จนเรียกได้ว่าผู้ชนะอาจจะชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเพียงคะแนนเดียวก็ได้[[#_ftn13|[13]]] โดยในบัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งแล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้เพียงคนเดียว จากนั้นจึงรวบรวมบัตรเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนทั้งหมดเพื่อหาผู้สมัครที่ได้คะแนนมากที่สุด[[#_ftn14|[14]]] ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A ผู้สมัครจากพรรคโดราเอมอนได้คะแนน ร้อยละ 60 จึงชนะเลือกตั้ง เช่นเดียวกับเขตเลือกตั้ง C ผู้สมัครจากพรรคอเวนเจอร์ได้คะแนนเพียง ร้อยละ 30 แต่เนื่องจากเป็นผู้ได้คะแนนสูงสุดจึงชนะการเลือกตั้ง ถึงแม้ว่าผู้สมัครจากพรรคอื่นจะได้คะแนนใกล้เคียงกันก็ตาม ดังที่ปรากฏในตารางที่ 2 | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''รูปภาพที่ 1 :''' บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน</p> | |||
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
'''รูปภาพที่ | |||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| colspan="3" style="width:601px;" | | | colspan="3" style="width: 601px; text-align: center;" | | ||
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ | '''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A''' | ||
'''ให้ทำเครื่องหมาย | '''ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครเพียงคนเดียว''' | ||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">'''พรรค'''</p> | ||
'''พรรค''' | | style="width: 300px;" | <p style="text-align: center;">'''ชื่อผู้สมัคร'''</p> | ||
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''เครื่องหมาย'''</p> | |||
| style="width: | |||
'''ชื่อผู้สมัคร''' | |||
| style="width:83px;" | | |||
'''เครื่องหมาย''' | |||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p> | ||
พรรคโดราเอมอน | | style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นายโนบิ โนบิตะ</p> | ||
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p> | |||
| style="width:376px;" | | |||
นายโนบิ โนบิตะ | |||
| style="width:83px;" | | |||
X | |||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์ </p> | ||
พรรคไจแอนด์ | | style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ</p> | ||
| style="width:376px;" | | |||
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ | |||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | | ||
| | ||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p> | ||
พรรคอเวนเจอร์ | | style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นางสาวนาตาชา โรมานอฟ</p> | ||
| style="width:376px;" | | |||
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ | |||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | | ||
| | ||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเทเลทับบี้</p> | ||
พรรคเทเลทับบี้ | | style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นางสาวลาล่า</p> | ||
| style="width:376px;" | | |||
นางสาวลาล่า | |||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | | ||
| | ||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา :''' จำลองโดยผู้เขียน</p> <p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 2''' ''':''' ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน</p> | |||
'''ที่มา: | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:601px;" width="751" | ||
'''ตารางที่ '''''' | |||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:601px;" width="751" | |||
|- | |- | ||
| style="width:104px;height:45px;" | | | style="width: 104px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
'''เขตเลือกตั้ง''' | '''เขตเลือกตั้ง''' | ||
| style="width:94px;height:45px;" | | | style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรค | |||
โดราเอมอน | |||
| style="width:94px;height:45px;" | | | style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรค | |||
ไจแอนด์ | |||
| style="width:94px;height:45px;" | | | style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรค | |||
อเวนเจอร์ | |||
| style="width:94px;height:45px;" | | | style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรค | |||
เทเลทับบี้ | |||
| style="width:119px;height:45px;" | | | style="width: 119px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
'''ผู้ชนะ''' | '''ผู้ชนะ''' | ||
|- | |- | ||
| style="width:104px;height:18px;" | | | style="width:104px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">'''A'''</p> | ||
'''A''' | | style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">'''60'''</p> | ||
| style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">20</p> | |||
| style="width:94px;height:18px;" | | | style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">15</p> | ||
'''60''' | | style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">5</p> | ||
| style="width:119px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p> | |||
| style="width:94px;height:18px;" | | |||
20 | |||
| style="width:94px;height:18px;" | | |||
15 | |||
| style="width:94px;height:18px;" | | |||
5 | |||
| style="width:119px;height:18px;" | | |||
|- | |- | ||
| style="width:104px;height:6px;" | | | style="width:104px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">'''B'''</p> | ||
'''B''' | | style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">30</p> | ||
| style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">'''40'''</p> | |||
| style="width:94px;height:6px;" | | | style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">20</p> | ||
30 | | style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">10</p> | ||
| style="width:119px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์</p> | |||
| style="width:94px;height:6px;" | | |||
'''40''' | |||
| style="width:94px;height:6px;" | | |||
20 | |||
| style="width:94px;height:6px;" | | |||
10 | |||
| style="width:119px;height:6px;" | | |||
|- | |- | ||
| style="width:104px;height:5px;" | | | style="width:104px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">'''C'''</p> | ||
'''C''' | | style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">25</p> | ||
| style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">25</p> | |||
| style="width:94px;height:5px;" | | | style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">'''30'''</p> | ||
25 | | style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">20</p> | ||
| style="width:119px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p> | |||
| style="width:94px;height:5px;" | | |||
25 | |||
| style="width:94px;height:5px;" | | |||
'''30''' | |||
| style="width:94px;height:5px;" | | |||
20 | |||
| style="width:119px;height:5px;" | | |||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา''' ''':''' จำลองโดยผู้เขียน</p> | |||
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน''' | โดยข้อดีของระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน คือ ผลการเลือกตั้งและผู้แทนที่ได้สามารถสะท้อนเสียงและความต้องการของประชาชนในเขตเลือกตั้งให้เข้าไปทำงานแทนตนเองในสภา[[#_ftn15|[15]]] แต่มีข้อเสียที่ผลการเลือกตั้งบางครั้งอาจไม่สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างแท้จริง หากผู้ลงคะแนนเสียงกระจัดกระจายและผู้ชนะอันดับหนึ่งได้คะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งซึ่งน้อยกว่าคะแนนเสียงรวมของผู้แพ้ทั้งหมดจนเกิดปรากฎการณ์ '''“ได้ที่นั่งในสภาเป็นสัดส่วนที่มากกว่าสัดส่วนของคะแนนเสียงโดยรวมที่ได้รับ”''' รวมถึงส่งผลให้เกิดการกีดกันพรรคขนาดเล็กในการแข่งขันการเลือกตั้งเพราะระบบนี้มีแนวโน้มส่งเสริมให้เกิดระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) ที่มีขนาดใหญ่ในการแข่งขัน ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เขตผู้มีอิทธิพลในภูมิภาคหากพื้นที่ดังกล่าวมีพรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีอิทธิพลสูงก็จะทำให้ง่ายที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มดังกล่าวสามารถชนะการเลือกตั้ง หรือทำให้เกิดความพยายามในการกำหนดเขตเลือกตั้งที่เอื้อให้พรรคการเมืองหรือกลุ่มบางกลุ่มได้รับประโยชน์ ให้เขตเลือกตั้งครอบคลุมพื้นที่ที่เป็ขเขตอิทธิพลหรือมีผู้คนที่สนับสนุนพรรคการเมือง หรือที่เรียกว่าการแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ (gerrymandering)[[#_ftn16|[16]]] | ||
| | ||
| == '''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน''' == | ||
| ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน (multi-member district/constituencies: MMD) หรือ ระบบคะแนนเสียงเป็นพวง (Block Vote: BV) หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่ายหนึ่งเขตหลายคน (At-Large Voting) เป็นระบบที่ใช้ในบางประเทศแต่มีจำนวนไม่มากนัก อาทิ เกิร์นซีย์ คูเวต ลาว เลบานอน หมู่เกาะมัลดีฟส์ ปาเลสไตน์ ซีเรีย ตองกา และตูวาลู รวมถึงเคยใช้ในจอร์แดน มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย[[#_ftn17|[17]]] โดยประเทศไทยใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนหรือเรียกว่าระบบ '''“รวมเขตเรียงเบอร์”''' หรือ '''“เขตเดียวหลายคน”''' ในการเลือกตั้งก่อนการมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก่อนที่จะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพื่อใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนใน พ.ศ. 2554 | ||
ระบบดังกล่าวจะกำหนดเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้หลายคนตามที่กำหนด (อาทิ บางเขตเลือกตั้งอาจมีผู้แทนได้ 2 คน หรือมีผู้แทนได้ 3 คน เป็นต้น) พรรคการเมืองจะจัดทำรายชื่อผู้แทนของพรรคการเมืองตามจำนวนของผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งกำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองแต่ละพรรคก็จะส่งผู้สมัครพรรคละ 3 คนในเขตเลือกตั้ง) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้หลายคนแต่ไม่เกินจำนวนของผู้แทนหรือที่นั่งที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้แทนในบัตรเลือกตั้งได้ไม่เกิน 3 คน) โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสามลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn18|[18]]] ทำให้บัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองส่งไม่เกินจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้ไม่เกินจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้ง แต่การเลือกไม่จำเป็นต้องเลือกผู้แทนจากพรรคการเมืองเดียวกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A มีผู้แทนได้ 2 คน ได้ผู้ชนะ คือ สตีฟ โรเจอร์จากพรรคอเวนเจอร์ได้ 15,000 คะแนน และชิซึกะจากพรรคโดราเอมอนได้ 14,000 คะแนน | |||
ระบบดังกล่าวจะกำหนดเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้หลายคนตามที่กำหนด (อาทิ บางเขตเลือกตั้งอาจมีผู้แทนได้ 2 คน หรือมีผู้แทนได้ 3 คน เป็นต้น) พรรคการเมืองจะจัดทำรายชื่อผู้แทนของพรรคการเมืองตามจำนวนของผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งกำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองแต่ละพรรคก็จะส่งผู้สมัครพรรคละ 3 คนในเขตเลือกตั้ง) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้หลายคนแต่ไม่เกินจำนวนของผู้แทนหรือที่นั่งที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้แทนในบัตรเลือกตั้งได้ไม่เกิน 3 คน) โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสามลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn18|[18]]] ทำให้บัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองส่งไม่เกินจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้ไม่เกินจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้ง แต่การเลือกไม่จำเป็นต้องเลือกผู้แทนจากพรรคการเมืองเดียวกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A มีผู้แทนได้ 2 คน ได้ผู้ชนะ คือ สตีฟ โรเจอร์จากพรรคอเวนเจอร์ได้ 15,000 คะแนน และชิซึกะจากพรรคโดราเอมอนได้ 14,000 คะแนน | |||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''รูปภาพที่ 2''' ''':''' บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน</p> | |||
'''รูปภาพที่ '''''' | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| colspan="3" style="width:601px;" | | | colspan="3" style="width: 601px; text-align: center;" | | ||
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ | '''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 2 คน''' | ||
'''ให้ทำเครื่องหมาย | '''ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจำนวน 2 คนเดียว''' | ||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">'''พรรค'''</p> | ||
'''พรรค''' | | style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">'''ชื่อผู้สมัคร'''</p> | ||
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''เครื่องหมาย'''</p> | |||
| style="width:376px;" | | |||
'''ชื่อผู้สมัคร''' | |||
| style="width:83px;" | | |||
'''เครื่องหมาย''' | |||
|- | |- | ||
| rowspan="2" style="width:141px;" | | | rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p> | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นายโดราเอม่อน | นายโดราเอม่อน | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;"> </p> | ||
| |||
|- | |- | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ | นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p> | ||
X | |||
|- | |- | ||
| rowspan="2" style="width:141px;" | | | rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์</p> | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นายโกดะ ทาเคชิ | นายโกดะ ทาเคชิ | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;"> </p> | ||
| |||
|- | |- | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ | นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;"> </p> | ||
| |||
|- | |- | ||
| rowspan="2" style="width:141px;" | | | rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p> | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นายสตีฟ โรเจอร์ | นายสตีฟ โรเจอร์ | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p> | ||
X | |||
|- | |- | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ | นางสาวนาตาชา โรมานอฟ | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;"> </p> | ||
| |||
|- | |- | ||
| rowspan="2" style="width:141px;" | | | rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเทเลทับบี้</p> | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นางสาวลาล่า | นางสาวลาล่า | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;"> </p> | ||
| |||
|- | |- | ||
| style="width:376px;" | | | style="width:376px;" | | ||
นายโพ | นายโพ | ||
| style="width:83px;" | | | style="width:83px;" | <p style="text-align: center;"> </p> | ||
| |||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา''' ''':''' จำลองโดยผู้เขียน</p> | |||
'''ที่มา: | |||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 2''' ''':''' ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน</p> | |||
'''ตารางที่ 2: | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| rowspan="2" style="width:122px;height:45px;" | | | rowspan="2" style="width: 122px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
'''เขตเลือกตั้ง''' | '''เขตเลือกตั้ง''' | ||
| colspan="2" style="width:121px;height:45px;" | | | colspan="2" style="width: 121px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคโดราเอมอน | |||
| colspan="2" style="width:111px;height:45px;" | | | colspan="2" style="width: 111px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคไจแอนด์ | |||
| colspan="2" style="width:135px;height:45px;" | | | colspan="2" style="width: 135px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคอเวนเจอร์ | |||
| colspan="2" style="width:109px;height:45px;" | | | colspan="2" style="width: 109px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคเทเลทับบี้ | |||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
โดราเอม่อน | โดราเอม่อน | ||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
ชิซึกะ | |||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
ไจแอนด์ | ไจแอนด์ | ||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
ซึเนโอะ | ซึเนโอะ | ||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
สตีฟ โรเจอร์ | |||
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | |||
นาตาชา โรมานอฟ | |||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
ลาล่า | ลาล่า | ||
| style="width: | | style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
โพ | โพ | ||
|- | |- | ||
| style="width:122px;height:45px;" | | | style="width:122px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''เขต A'''</p> <p style="text-align: center;">'''มีผู้แทนได้ 2 คน'''</p> | ||
'''เขต | | style="width:63px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">13,000</p> | ||
| style="width:58px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">'''14,000'''</p> | |||
'''มีผู้แทนได้ | | style="width:57px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">4,000</p> | ||
| style="width:54px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">3,400</p> | |||
| style="width:63px;height:45px;" | | | style="width:58px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">'''15,000'''</p> | ||
13,000 | | style="width:77px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">11,000</p> | ||
| style="width:61px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">10,000</p> | |||
| style="width:58px;height:45px;" | | | style="width:49px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">8,500</p> | ||
'''14,000''' | |||
| style="width:57px;height:45px;" | | |||
4,000 | |||
| style="width:54px;height:45px;" | | |||
3,400 | |||
| style="width:58px;height:45px;" | | |||
'''15,000''' | |||
| style="width:77px;height:45px;" | | |||
11,000 | |||
| style="width:61px;height:45px;" | | |||
10,000 | |||
| style="width:49px;height:45px;" | | |||
8,500 | |||
|- | |- | ||
| style="width:122px;height:45px;" | | | style="width:122px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''ผู้ชนะ'''</p> | ||
'''ผู้ชนะ''' | |||
| colspan="8" style="width:478px;height:45px;" | | | colspan="8" style="width:478px;height:45px;" | | ||
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ '''''' | '''ผู้ได้คะแนนอันดับ 1''' ''':''' พรรคอเวนเจอร์ (สตีฟ โรเจอร์) | ||
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ '''''' | '''ผู้ได้คะแนนอันดับ 2''' ''':''' พรรคโดราเอมอน (ชิซึกะ) | ||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา :''' จำลองโดยผู้เขียน</p> | |||
'''ที่มา: | |||
| | ||
สำหรับข้อดีของระบบเลือกตั้งนี้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลโดยที่ไม่จำเป็นต้องเลือกผู้สมัครทั้งหมดมาจากพรรคเดียวกันแต่สามารถเลือกผสมกันต่างพรรคได้ แต่มีข้อเสียในการสร้างความไม่ชัดเจนในรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ออกเสียงเลือกตั้งกับผู้แทนในพื้นที่เนืองจากในเขตเลือกตั้งมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคนทำให้ประชาชนไม่ทราบว่าผู้แทนคนใดควรรับผิดชอบการทำงานของตนอย่างชัดเจน เป็นระบบที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองแตกกระจายเพราะการให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้แทนได้มากกว่าหนึ่งคน ทำให้สมาชิกของพรรคเดียวกันเกิดการแข่งขันกันเองเพื่อเอาชนะในการเลือกตั้ง และเป็นระบบที่ทำให้ได้ผลคะแนนที่ไม่แน่นอนและพลิกผันได้ง่าย[[#_ftn19|[19]]] | สำหรับข้อดีของระบบเลือกตั้งนี้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลโดยที่ไม่จำเป็นต้องเลือกผู้สมัครทั้งหมดมาจากพรรคเดียวกันแต่สามารถเลือกผสมกันต่างพรรคได้ แต่มีข้อเสียในการสร้างความไม่ชัดเจนในรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ออกเสียงเลือกตั้งกับผู้แทนในพื้นที่เนืองจากในเขตเลือกตั้งมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคนทำให้ประชาชนไม่ทราบว่าผู้แทนคนใดควรรับผิดชอบการทำงานของตนอย่างชัดเจน เป็นระบบที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองแตกกระจายเพราะการให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้แทนได้มากกว่าหนึ่งคน ทำให้สมาชิกของพรรคเดียวกันเกิดการแข่งขันกันเองเพื่อเอาชนะในการเลือกตั้ง และเป็นระบบที่ทำให้ได้ผลคะแนนที่ไม่แน่นอนและพลิกผันได้ง่าย[[#_ftn19|[19]]] | ||
| | ||
== '''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้''' == | |||
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ (Single Non-transferable Vote: SNTV) หรือระบบคะแนนเสียงเดียวโอนไม่ได้ หรือคะแนนเสียงเป็นพวงสำหรับพรรค (Party Block Vote: PBV) เป็นระบบการเลือกตั้งที่ใช้ในคาเมรูน ชาด จิบูติ และสิงคโปร์[[#_ftn20| | ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ (Single Non-transferable Vote: SNTV) หรือระบบคะแนนเสียงเดียวโอนไม่ได้ หรือคะแนนเสียงเป็นพวงสำหรับพรรค (Party Block Vote: PBV) เป็นระบบการเลือกตั้งที่ใช้ในคาเมรูน ชาด จิบูติ และสิงคโปร์[[#_ftn20|[20]]] | ||
ระบบดังกล่าวจะกำหนดกำหนดให้เขตเลือกตั้งมีผู้แทนจำนวนมากกว่า 1 คน แต่ให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถลงคะแนนได้เพียง 1 | ระบบดังกล่าวจะกำหนดกำหนดให้เขตเลือกตั้งมีผู้แทนจำนวนมากกว่า 1 คน แต่ให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถลงคะแนนได้เพียง 1 เสียง เพื่อเลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองได้คนเดียวเท่านั้น พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ตามจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคพรรคโดราเอมอนส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน พรรคไจแอนด์ก็ส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้สมัครคนเดียวจากพรรคโดราเอมอน) ตามรูปภาพที่ 3 โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 4 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสี่ลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn21|[21]]] | ||
ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A กำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน | ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A กำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ พรรคละ 3 คน (โดยในที่นี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัคร จำนวน 4 พรรค คือ พรรคโดราเอมอน พรรคไจแอนด์ พรรคอเวนเจอร์ และพรรคเทเลทับบี้) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (อาทิ เลือกนางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะจากพรรคโดราเอมอน ได้เพียงพรรคคนเดียว) ในบัตรเลือกตั้ง ผู้ชนะการเลือกตั้งคือผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดตามลำดับ 3 คนแรก คือ พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) และพรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) ในตารางที่ 3 | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''รูปภาพที่ 3''' ''':''' บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้</p> | |||
'''รูปภาพที่ '''''' | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| colspan="3" style="width:601px;" | | | colspan="3" style="width: 601px; text-align: center;" | | ||
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ | '''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 3 คน''' | ||
'''ให้ทำเครื่องหมาย | '''ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองเพียงคนเดียว''' | ||
|- | |- | ||
| style="width:141px;" | | | style="width: 141px; text-align: center;" | | ||
'''พรรค''' | '''พรรค''' | ||
| style="width:376px;" | | | style="width: 376px; text-align: center;" | | ||
'''ชื่อผู้สมัคร''' | '''ชื่อผู้สมัคร''' | ||
| style="width:83px;" | | | style="width: 83px; text-align: center;" | | ||
'''เครื่องหมาย''' | '''เครื่องหมาย''' | ||
|- | |- | ||
| rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" | | | rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p> | ||
| style="width:376px;height:8px;" | | | style="width:376px;height:8px;" | | ||
นายโดราเอม่อน | นายโดราเอม่อน | ||
บรรทัดที่ 509: | บรรทัดที่ 333: | ||
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ | นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ | ||
| style="width:83px;height:8px;" | | | style="width:83px;height:8px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p> | ||
X | |||
|- | |- | ||
| rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" | | | rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์</p> | ||
| style="width:376px;height:8px;" | | | style="width:376px;height:8px;" | | ||
นายโกดะ ทาเคชิ | นายโกดะ ทาเคชิ | ||
บรรทัดที่ 537: | บรรทัดที่ 357: | ||
|- | |- | ||
| rowspan="3" style="width:141px;height:17px;" | | | rowspan="3" style="width:141px;height:17px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p> | ||
| style="width:376px;height:17px;" | | | style="width:376px;height:17px;" | | ||
นายสตีฟ โรเจอร์ | นายสตีฟ โรเจอร์ | ||
บรรทัดที่ 561: | บรรทัดที่ 379: | ||
|- | |- | ||
| rowspan="3" style="width:141px;height:7px;" | | | rowspan="3" style="width:141px;height:7px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเทเลทับบี้</p> | ||
| style="width:376px;height:7px;" | | | style="width:376px;height:7px;" | | ||
นางสาวลาล่า | นางสาวลาล่า | ||
บรรทัดที่ 585: | บรรทัดที่ 401: | ||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา''' ''':''' จำลองโดยผู้เขียน</p> | |||
'''ที่มา: | |||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 3''' ''':''' ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้</p> | |||
'''ตารางที่ '''''' | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| style="width:113px;height:45px;" | | | style="width: 113px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
'''เขตเลือกตั้ง''' | '''เขตเลือกตั้ง''' | ||
| style="width: | | style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคโดราเอมอน | |||
นางสาวมินาโมโตะ | |||
ชิซึกะ | |||
| style="width: | | style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคโดราเอมอน | |||
นายโดราเอม่อน | นายโดราเอม่อน | ||
| style="width: | | style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคอเวนเจอร์ | |||
นายคลินต์ บาร์ตัน | นายคลินต์ บาร์ตัน | ||
| style="width: | | style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" | | ||
พรรคอเวนเจอร์ | |||
นายสตีฟ โรเจอร์ | นายสตีฟ โรเจอร์ | ||
|- | |- | ||
| style="width:113px;height:45px;" | | | style="width:113px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''A'''</p> <p style="text-align: center;">'''มีผู้แทนได้ 3 คน'''</p> | ||
'''A''' | | style="width:132px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''30'''</p> | ||
| style="width:123px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''25'''</p> | |||
'''มีผู้แทนได้ | | style="width:122px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''25'''</p> | ||
| style="width:109px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">20</p> | |||
| style="width:132px;height:45px;" | | |||
'''30''' | |||
| style="width:123px;height:45px;" | | |||
'''25''' | |||
| style="width:122px;height:45px;" | | |||
'''25''' | |||
| style="width:109px;height:45px;" | | |||
20 | |||
|- | |- | ||
| style="width:113px;height:45px;" | | | style="width:113px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''ผู้ชนะ'''</p> | ||
'''ผู้ชนะ''' | |||
| colspan="4" style="width:488px;height:45px;" | | | colspan="4" style="width:488px;height:45px;" | | ||
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 1: พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) | '''ผู้ได้คะแนนอันดับ 1''' ''':''' พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) | ||
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 2: พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) | '''ผู้ได้คะแนนอันดับ 2''' ''':''' พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) | ||
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ ''''''3: พรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) | '''ผู้ได้คะแนนอันดับ '''''''''3'''''' ''':''' พรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) | ||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา :''' จำลองโดยผู้เขียน</p> | |||
ข้อดีของระบบการเลือกตั้งนี้ คือ สามารถให้หลักประกันให้กับคนกลุ่มน้อยได้รับเลือกตั้งโดยใช้คะแนนเสียงไม่มากนักได้ แต่มีข้อเสียในด้านกลับที่อาจทำให้ผู้ชนะเลือกตั้งสามารถชนะได้ด้วยคะแนนเสียงข้างมากอย่างง่ายเพียงจำนวนเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น ผู้ชนะในเขตเลือกตั้ง A ผู้ชนะแต่ละคนได้คะแนนเสียงที่ ร้อยละ 25-30 เท่านั้นตามตารางที่ 3[[#_ftn22|[22]]] ในกรณีที่มีผู้สมัครลงแข่งขันจำนวนมากและแข็งขันกันอย่างรุนแรง ผู้ชนะเลือกตั้งบางคนอาจชนะด้วยคะแนนเสียงเพียง ร้อยละ 10 ของจำนวนผู้ออกเสียงเลือกตั้งในพื้นที่ก็ได้ | |||
''' | = <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> = | ||
Britannica. "Plurality Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. [https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems]. | |||
Fairvote. "Plurality-Majority Systems." Last modified Accessed 14 July, 2021. [https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems]. | |||
Reynolds, Andrew, Ben Reilly, and Andrew Ellis. ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook''. Stockholm: International IDEA, 2005. | Reynolds, Andrew, Ben Reilly, and Andrew Ellis. ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook''. Stockholm: International IDEA, 2005. | ||
บรรทัดที่ 671: | บรรทัดที่ 465: | ||
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564. | อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564. | ||
<div> | <div> | ||
= '''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>''' = | |||
< | |||
[[#_ftnref1|[1]]] Britannica, "Plurality Systems," accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems. | [[#_ftnref1|[1]]] Britannica, "Plurality Systems," accessed 10 July, 2021. [https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems]. | ||
<div id="ftn2"> | |||
[[#_ftnref2|[2]]] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 295. | [[#_ftnref2|[2]]] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 295. | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
บรรทัดที่ 686: | บรรทัดที่ 480: | ||
[[#_ftnref6|[6]]] Andrew Reynolds, Ben Reilly, and Andrew Ellis, ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook'' (Stockholm: International IDEA, 2005). หรือดูฉบับแปลภาษาไทยใน แอนดรูว์ เรย์โนลด์ส, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส, การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea (กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555). | [[#_ftnref6|[6]]] Andrew Reynolds, Ben Reilly, and Andrew Ellis, ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook'' (Stockholm: International IDEA, 2005). หรือดูฉบับแปลภาษาไทยใน แอนดรูว์ เรย์โนลด์ส, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส, การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea (กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555). | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] Fairvote, "Plurality-Majority Systems," accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems. | [[#_ftnref7|[7]]] Fairvote, "Plurality-Majority Systems," accessed 14 July, 2021. [https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems]. | ||
</div> <div id="ftn8"> | </div> <div id="ftn8"> | ||
[[#_ftnref8|[8]]] ผู้เขียนเลือกใช้คำแปลชื่อระบบเลือกตั้งในภาษาไทยตามงานของสิริพรรณ (2561) เนื่องจากเป็นคำแปลที่แสดงลักษณะของระบบเลือกตั้งได้ชัดเจนและครบถ้วน | [[#_ftnref8|[8]]] ผู้เขียนเลือกใช้คำแปลชื่อระบบเลือกตั้งในภาษาไทยตามงานของสิริพรรณ (2561) เนื่องจากเป็นคำแปลที่แสดงลักษณะของระบบเลือกตั้งได้ชัดเจนและครบถ้วน | ||
บรรทัดที่ 717: | บรรทัดที่ 511: | ||
</div> <div id="ftn22"> | </div> <div id="ftn22"> | ||
[[#_ftnref22|[22]]] Reynolds, Reilly, and Ellis, 47. | [[#_ftnref22|[22]]] Reynolds, Reilly, and Ellis, 47. | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:ระบบการเลือกตั้ง]][[Category:การเลือกตั้ง]][[Category:รูปแบบการเลือกตั้ง]][[Category:ความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้ง]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:46, 7 มีนาคม 2566
ผู้เรียบเรียง : เอกวีร์ มีสุข
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
'ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย ('plurality system)
การทำความเข้าใจความหมายของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย แบ่งการอธิบายออกเป็น 5 ส่วน คือ หนึ่ง การอธิบายนิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย และสอง การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย ส่วนที่เหลือจะจำแนกและอธิบายรายละเอียดระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ หนึ่ง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน สอง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และสาม ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้
นิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย
ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (simple majority) หรือระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) คือ ระบบการเลือกตั้งพื้นฐานและเรียบง่ายที่สุดที่กำหนดให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าผู้สมัครคนอื่นที่แข่งขันกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง[1] ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A ให้มีผู้แทนได้หนึ่งคน ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดอันดับแรกถือเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายไม่ได้กำหนด จำนวน/ร้อยละ ของคะแนนเป็นเงื่อนไขในการชนะการเลือกตั้ง แตกต่างจากระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากเด็ดขาด (majority system) ที่กำหนดเงื่อนไขให้ผู้สมัครต้องได้คะแนนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่งหรือมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด[2] ข้อดีของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย คือ เป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถตัดสินใจได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นระบบที่สะดวกและต้นทุนต่ำในการจัดการเลือกตั้งมากกว่าระบบอื่น[3]
การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย
ในการจำแนกประเภทของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากแบบง่ายมีนักวิชาการได้จำแนกได้หลายลักษณะและให้รายละเอียดแตกต่างกัน เช่น สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2561) ได้จำแนกโดยเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) แบ่งออกเป็นห้าประเภท[4] ขณะที่อรรถสิทธิ พานแก้ว (2564) ได้จำแนกโดยเรียกชื่อว่าระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงข้างมาก (Majoritarian system) แบ่งออกเป็นสามประเภท[5] ส่วนงานของ International IDEA (2005) เรียกว่าระบบคะแนนนำ (Plurality System) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท[6] ส่วนของ FairVote (2021) เรียกว่าระบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (Plurality System) แบ่งเป็น 2 ประเภท[7]
สำหรับการจำแนกในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 ระบบเลือกตั้งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้[8]
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน (single-member districts/constituencies: SMD) หรือในบางงานเขียนมีชื่อเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) ซึ่งใช้เรียกในประเทศอังกฤษและแคนาดา หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่าย หนึ่งเขตหนึ่งคน (Single-member district plurality voting: SMDP) ที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกา[9] ถือเป็นระบบการเลือกตั้งที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน และนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากมีความง่ายและสะดวกในการจัดการเลือกตั้ง การลงคะแนน และการนับคะแนน เป็นระบบที่มีต้นกำเนิดในประเทศอังกฤษแล้วแพร่ขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ที่เคยเป็นอาณานิคม เช่น แคนาดา อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ระบบดังกล่าวยังเป็นที่นิยมในประเทศภูมิภาคละตินอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาด้วย[10]
สำหรับประเทศไทยได้ใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550[11] และ พ.ศ. 2560 โดยใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2562 คู่ขนานไปกับการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตไว้แตกต่างกัน ดังนี้
ตารางที่ 1 : จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร |
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 |
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 (แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2554) |
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 |
แบ่งเขต |
400 คน |
375 คน |
350 คน |
บัญชีรายชื่อ |
100 คน |
125 คน |
150 คน |
รวม |
500 คน |
500 คน |
500 คน |
ที่มา : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน จะกำหนดให้มีเขตเลือกตั้งที่ให้เลือกผู้แทนได้ 1 คน โดยใช้ระบบเสียงข้างมากอย่างง่ายโดยเน้นใช้คะแนนเสียงของผู้ที่ได้คะแนนเสียงมากที่สุดในบรรดาผู้สมัครที่ลงแข่งขันในเขตเลือกตั้ง หากใครได้คะแนนมากที่สุดก็ถือเป็นผู้ชนะโดยไม่จำเป็นต้องได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด[12] จนเรียกได้ว่าผู้ชนะอาจจะชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเพียงคะแนนเดียวก็ได้[13] โดยในบัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งแล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้เพียงคนเดียว จากนั้นจึงรวบรวมบัตรเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนทั้งหมดเพื่อหาผู้สมัครที่ได้คะแนนมากที่สุด[14] ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A ผู้สมัครจากพรรคโดราเอมอนได้คะแนน ร้อยละ 60 จึงชนะเลือกตั้ง เช่นเดียวกับเขตเลือกตั้ง C ผู้สมัครจากพรรคอเวนเจอร์ได้คะแนนเพียง ร้อยละ 30 แต่เนื่องจากเป็นผู้ได้คะแนนสูงสุดจึงชนะการเลือกตั้ง ถึงแม้ว่าผู้สมัครจากพรรคอื่นจะได้คะแนนใกล้เคียงกันก็ตาม ดังที่ปรากฏในตารางที่ 2
รูปภาพที่ 1 : บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน
บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครเพียงคนเดียว | ||
พรรค |
ชื่อผู้สมัคร |
เครื่องหมาย |
พรรคโดราเอมอน |
นายโนบิ โนบิตะ |
X |
พรรคไจแอนด์ |
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ |
|
พรรคอเวนเจอร์ |
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ |
|
พรรคเทเลทับบี้ |
นางสาวลาล่า |
|
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
ตารางที่ 2 : ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน
เขตเลือกตั้ง |
พรรค โดราเอมอน |
พรรค ไจแอนด์ |
พรรค อเวนเจอร์ |
พรรค เทเลทับบี้ |
ผู้ชนะ |
A |
60 |
20 |
15 |
5 |
พรรคโดราเอมอน |
B |
30 |
40 |
20 |
10 |
พรรคไจแอนด์ |
C |
25 |
25 |
30 |
20 |
พรรคอเวนเจอร์ |
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
โดยข้อดีของระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน คือ ผลการเลือกตั้งและผู้แทนที่ได้สามารถสะท้อนเสียงและความต้องการของประชาชนในเขตเลือกตั้งให้เข้าไปทำงานแทนตนเองในสภา[15] แต่มีข้อเสียที่ผลการเลือกตั้งบางครั้งอาจไม่สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างแท้จริง หากผู้ลงคะแนนเสียงกระจัดกระจายและผู้ชนะอันดับหนึ่งได้คะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งซึ่งน้อยกว่าคะแนนเสียงรวมของผู้แพ้ทั้งหมดจนเกิดปรากฎการณ์ “ได้ที่นั่งในสภาเป็นสัดส่วนที่มากกว่าสัดส่วนของคะแนนเสียงโดยรวมที่ได้รับ” รวมถึงส่งผลให้เกิดการกีดกันพรรคขนาดเล็กในการแข่งขันการเลือกตั้งเพราะระบบนี้มีแนวโน้มส่งเสริมให้เกิดระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) ที่มีขนาดใหญ่ในการแข่งขัน ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เขตผู้มีอิทธิพลในภูมิภาคหากพื้นที่ดังกล่าวมีพรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีอิทธิพลสูงก็จะทำให้ง่ายที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มดังกล่าวสามารถชนะการเลือกตั้ง หรือทำให้เกิดความพยายามในการกำหนดเขตเลือกตั้งที่เอื้อให้พรรคการเมืองหรือกลุ่มบางกลุ่มได้รับประโยชน์ ให้เขตเลือกตั้งครอบคลุมพื้นที่ที่เป็ขเขตอิทธิพลหรือมีผู้คนที่สนับสนุนพรรคการเมือง หรือที่เรียกว่าการแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ (gerrymandering)[16]
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน (multi-member district/constituencies: MMD) หรือ ระบบคะแนนเสียงเป็นพวง (Block Vote: BV) หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่ายหนึ่งเขตหลายคน (At-Large Voting) เป็นระบบที่ใช้ในบางประเทศแต่มีจำนวนไม่มากนัก อาทิ เกิร์นซีย์ คูเวต ลาว เลบานอน หมู่เกาะมัลดีฟส์ ปาเลสไตน์ ซีเรีย ตองกา และตูวาลู รวมถึงเคยใช้ในจอร์แดน มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย[17] โดยประเทศไทยใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนหรือเรียกว่าระบบ “รวมเขตเรียงเบอร์” หรือ “เขตเดียวหลายคน” ในการเลือกตั้งก่อนการมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก่อนที่จะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพื่อใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนใน พ.ศ. 2554
ระบบดังกล่าวจะกำหนดเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้หลายคนตามที่กำหนด (อาทิ บางเขตเลือกตั้งอาจมีผู้แทนได้ 2 คน หรือมีผู้แทนได้ 3 คน เป็นต้น) พรรคการเมืองจะจัดทำรายชื่อผู้แทนของพรรคการเมืองตามจำนวนของผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งกำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองแต่ละพรรคก็จะส่งผู้สมัครพรรคละ 3 คนในเขตเลือกตั้ง) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้หลายคนแต่ไม่เกินจำนวนของผู้แทนหรือที่นั่งที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้แทนในบัตรเลือกตั้งได้ไม่เกิน 3 คน) โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสามลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[18] ทำให้บัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองส่งไม่เกินจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้ไม่เกินจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้ง แต่การเลือกไม่จำเป็นต้องเลือกผู้แทนจากพรรคการเมืองเดียวกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A มีผู้แทนได้ 2 คน ได้ผู้ชนะ คือ สตีฟ โรเจอร์จากพรรคอเวนเจอร์ได้ 15,000 คะแนน และชิซึกะจากพรรคโดราเอมอนได้ 14,000 คะแนน
รูปภาพที่ 2 : บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน
บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 2 คน ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจำนวน 2 คนเดียว | ||
พรรค |
ชื่อผู้สมัคร |
เครื่องหมาย |
พรรคโดราเอมอน |
นายโดราเอม่อน |
|
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ |
X | |
พรรคไจแอนด์ |
นายโกดะ ทาเคชิ |
|
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ |
| |
พรรคอเวนเจอร์ |
นายสตีฟ โรเจอร์ |
X |
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ |
| |
พรรคเทเลทับบี้ |
นางสาวลาล่า |
|
นายโพ |
|
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
ตารางที่ 2 : ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน
เขตเลือกตั้ง |
พรรคโดราเอมอน |
พรรคไจแอนด์ |
พรรคอเวนเจอร์ |
พรรคเทเลทับบี้ | ||||
โดราเอม่อน |
ชิซึกะ |
ไจแอนด์ |
ซึเนโอะ |
สตีฟ โรเจอร์ |
นาตาชา โรมานอฟ |
ลาล่า |
โพ | |
เขต A มีผู้แทนได้ 2 คน |
13,000 |
14,000 |
4,000 |
3,400 |
15,000 |
11,000 |
10,000 |
8,500 |
ผู้ชนะ |
ผู้ได้คะแนนอันดับ 1 : พรรคอเวนเจอร์ (สตีฟ โรเจอร์) ผู้ได้คะแนนอันดับ 2 : พรรคโดราเอมอน (ชิซึกะ) |
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
สำหรับข้อดีของระบบเลือกตั้งนี้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลโดยที่ไม่จำเป็นต้องเลือกผู้สมัครทั้งหมดมาจากพรรคเดียวกันแต่สามารถเลือกผสมกันต่างพรรคได้ แต่มีข้อเสียในการสร้างความไม่ชัดเจนในรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ออกเสียงเลือกตั้งกับผู้แทนในพื้นที่เนืองจากในเขตเลือกตั้งมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคนทำให้ประชาชนไม่ทราบว่าผู้แทนคนใดควรรับผิดชอบการทำงานของตนอย่างชัดเจน เป็นระบบที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองแตกกระจายเพราะการให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้แทนได้มากกว่าหนึ่งคน ทำให้สมาชิกของพรรคเดียวกันเกิดการแข่งขันกันเองเพื่อเอาชนะในการเลือกตั้ง และเป็นระบบที่ทำให้ได้ผลคะแนนที่ไม่แน่นอนและพลิกผันได้ง่าย[19]
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ (Single Non-transferable Vote: SNTV) หรือระบบคะแนนเสียงเดียวโอนไม่ได้ หรือคะแนนเสียงเป็นพวงสำหรับพรรค (Party Block Vote: PBV) เป็นระบบการเลือกตั้งที่ใช้ในคาเมรูน ชาด จิบูติ และสิงคโปร์[20]
ระบบดังกล่าวจะกำหนดกำหนดให้เขตเลือกตั้งมีผู้แทนจำนวนมากกว่า 1 คน แต่ให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถลงคะแนนได้เพียง 1 เสียง เพื่อเลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองได้คนเดียวเท่านั้น พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ตามจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคพรรคโดราเอมอนส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน พรรคไจแอนด์ก็ส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้สมัครคนเดียวจากพรรคโดราเอมอน) ตามรูปภาพที่ 3 โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 4 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสี่ลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[21]
ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A กำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ พรรคละ 3 คน (โดยในที่นี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัคร จำนวน 4 พรรค คือ พรรคโดราเอมอน พรรคไจแอนด์ พรรคอเวนเจอร์ และพรรคเทเลทับบี้) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (อาทิ เลือกนางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะจากพรรคโดราเอมอน ได้เพียงพรรคคนเดียว) ในบัตรเลือกตั้ง ผู้ชนะการเลือกตั้งคือผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดตามลำดับ 3 คนแรก คือ พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) และพรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) ในตารางที่ 3
รูปภาพที่ 3 : บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้
บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 3 คน ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองเพียงคนเดียว | ||
พรรค |
ชื่อผู้สมัคร |
เครื่องหมาย |
พรรคโดราเอมอน |
นายโดราเอม่อน |
|
นายโนบิ โนบิตะ |
| |
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ |
X | |
พรรคไจแอนด์ |
นายโกดะ ทาเคชิ |
|
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ |
| |
นางสาวโกดะ ไจโกะ |
| |
พรรคอเวนเจอร์ |
นายสตีฟ โรเจอร์ |
|
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ |
| |
นายคลินต์ บาร์ตัน |
| |
พรรคเทเลทับบี้ |
นางสาวลาล่า |
|
นายโพ |
| |
นายทิงกี้-วิงกี้ |
|
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
ตารางที่ 3 : ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้
เขตเลือกตั้ง |
พรรคโดราเอมอน นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ |
พรรคโดราเอมอน นายโดราเอม่อน |
พรรคอเวนเจอร์ นายคลินต์ บาร์ตัน |
พรรคอเวนเจอร์ นายสตีฟ โรเจอร์ |
A มีผู้แทนได้ 3 คน |
30 |
25 |
25 |
20 |
ผู้ชนะ |
ผู้ได้คะแนนอันดับ 1 : พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) ผู้ได้คะแนนอันดับ 2 : พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) ผู้ได้คะแนนอันดับ ''''3' : พรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) |
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
ข้อดีของระบบการเลือกตั้งนี้ คือ สามารถให้หลักประกันให้กับคนกลุ่มน้อยได้รับเลือกตั้งโดยใช้คะแนนเสียงไม่มากนักได้ แต่มีข้อเสียในด้านกลับที่อาจทำให้ผู้ชนะเลือกตั้งสามารถชนะได้ด้วยคะแนนเสียงข้างมากอย่างง่ายเพียงจำนวนเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น ผู้ชนะในเขตเลือกตั้ง A ผู้ชนะแต่ละคนได้คะแนนเสียงที่ ร้อยละ 25-30 เท่านั้นตามตารางที่ 3[22] ในกรณีที่มีผู้สมัครลงแข่งขันจำนวนมากและแข็งขันกันอย่างรุนแรง ผู้ชนะเลือกตั้งบางคนอาจชนะด้วยคะแนนเสียงเพียง ร้อยละ 10 ของจำนวนผู้ออกเสียงเลือกตั้งในพื้นที่ก็ได้
บรรณานุกรม
Britannica. "Plurality Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems.
Fairvote. "Plurality-Majority Systems." Last modified Accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems.
Reynolds, Andrew, Ben Reilly, and Andrew Ellis. Electoral System Design: The New International Idea Handbook. Stockholm: International IDEA, 2005.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 13 ก, 23 มิถุนายน 2563.
เรย์โนลด์ส, แอนดรูว์, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส. การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea. กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555.
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี. ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2561.
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.
อ้างอิง
[1] Britannica, "Plurality Systems," accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems.
[2] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 295.
[3] Britannica, ibid.
[4] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2561).
[5] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, อ้างแล้ว.
[6] Andrew Reynolds, Ben Reilly, and Andrew Ellis, Electoral System Design: The New International Idea Handbook (Stockholm: International IDEA, 2005). หรือดูฉบับแปลภาษาไทยใน แอนดรูว์ เรย์โนลด์ส, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส, การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea (กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555).
[7] Fairvote, "Plurality-Majority Systems," accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems.
[8] ผู้เขียนเลือกใช้คำแปลชื่อระบบเลือกตั้งในภาษาไทยตามงานของสิริพรรณ (2561) เนื่องจากเป็นคำแปลที่แสดงลักษณะของระบบเลือกตั้งได้ชัดเจนและครบถ้วน
[9] Fairvote, ibid.
[10] Reynolds, Reilly, and Ellis, 35.
[11] รัฐธรรมนูญพ.ศ.2550 ได้มีการแก้ไขในพ.ศ.2554 เพื่อเปลี่ยนระบบการเลือกตั้งแบบระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนที่ใช้ในการเลือกตั้งพ.ศ.2550 มาเป็นระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ดูใน สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 13 ก, (ราชกิจจานุเบกษา, 23 มิถุนายน 2563).
[12] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี. และอรรถสิทธิ์ พานแก้ว, ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, 295.
[13] Reynolds, Reilly, and Ellis, 35.
[14] Fairvote, ibid.
[15] Ibid.
[16] Reynolds, Reilly, and Ellis, 43-44.
[17] Ibid., 44.
[18] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, อ้างแล้ว. อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, 295. และ Reynolds, Reilly, and Ellis, 44.
[19] Reynolds, Reilly, and Ellis, 44.
[20] Ibid., 47.
[21] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, อ้างแล้ว. และ อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, 296.
[22] Reynolds, Reilly, and Ellis, 47.