ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาหลง"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง'''รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์ | '''ผู้เรียบเรียง'''รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์ | ||
---- | |||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ | |||
---- | ---- | ||
'''หมาหลง''' แปลตามคำศัพท์ว่า สุนัขที่พลัดถิ่นหลงทาง | '''หมาหลง''' แปลตามคำศัพท์ว่า สุนัขที่พลัดถิ่นหลงทาง ในทางการเมืองใช้เปรียบเทียบกับผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ใช่คนในพื้นที่[[เขตเลือกตั้ง]]ที่ตนสมัคร โดยทั่วไปแล้วจะไม่มีผู้คนในเขตเลือกตั้งนั้นรู้จักมาก่อน แต่ผู้สมัครนั้นคิดว่าตนอาจจะมีโอกาสได้รับเลือกตั้งมากกว่าการสมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งอื่น ดังนั้นจึงต้องย้ายภูมิลำเนาทางทะเบียนก่อนวันสมัครรับเลือกตั้งเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ หรืออาจเป็นเขตเลือกตั้งที่ตนเคยทำงานหรือรับราชการมาก่อนในอดีต เพื่อให้ได้คุณสมบัติสมัครรับเลือกตั้งตามที่[[กฎหมาย]]กำหนดไว้ | ||
เมื่อ[[ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง]]ในเขตเลือกตั้งที่มี “หมาหลง” ลงสมัครรับเลือกตั้งไม่รู้จัก “หมาหลง” ผู้นั้นมาก่อน โอกาสที่ “หมาหลง” จะประสบความสำเร็จในการได้รับเลือกตั้งจึงแทบจะไม่มี แต่ในอดีตเมื่อครั้งที่การเลือกตั้งที่มีการใช้เงินซื้อเสียงมากและไม่มี[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)]] มากลั่นกรองว่า [[การเลือกตั้ง]]เป็นไปโดย[[สุจริต]]และ[[เที่ยงธรรม]]หรือไม่ ไม่มีการให้ “[[ใบเหลือง]]” หรือ “[[ใบแดง]]” หรือสั่งให้มีการเลือกตั้งใหม่ก่อน[[การประกาศผลเลือกตั้ง ]] คะแนนเสียงทุกคะแนนถือว่าเป็นคะแนนเสียงที่ดีนับเป็นคะแนนทั้งหมด ในบางเขตเลือกตั้งที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งใช้เงิน[[ซื้อเสียง]]หรือ[[ทุจริตการเลือกตั้ง]]แล้วทำให้ได้รับคะแนนเสียงท่วมท้นชนะการเลือกตั้งได้โดยง่าย บรรดา “หมาหลง” ทั้งหลายที่ใช้วิธีดังกล่าวก็อาจได้รับคะแนนเสียงสูงสุดในการเลือกตั้งนั้น และได้รับเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] | |||
[[หมวดหมู่:สารานุกรมการเมืองไทย]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:36, 28 พฤษภาคม 2555
ผู้เรียบเรียงรศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
หมาหลง แปลตามคำศัพท์ว่า สุนัขที่พลัดถิ่นหลงทาง ในทางการเมืองใช้เปรียบเทียบกับผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ใช่คนในพื้นที่เขตเลือกตั้งที่ตนสมัคร โดยทั่วไปแล้วจะไม่มีผู้คนในเขตเลือกตั้งนั้นรู้จักมาก่อน แต่ผู้สมัครนั้นคิดว่าตนอาจจะมีโอกาสได้รับเลือกตั้งมากกว่าการสมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งอื่น ดังนั้นจึงต้องย้ายภูมิลำเนาทางทะเบียนก่อนวันสมัครรับเลือกตั้งเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ หรืออาจเป็นเขตเลือกตั้งที่ตนเคยทำงานหรือรับราชการมาก่อนในอดีต เพื่อให้ได้คุณสมบัติสมัครรับเลือกตั้งตามที่กฎหมายกำหนดไว้
เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่มี “หมาหลง” ลงสมัครรับเลือกตั้งไม่รู้จัก “หมาหลง” ผู้นั้นมาก่อน โอกาสที่ “หมาหลง” จะประสบความสำเร็จในการได้รับเลือกตั้งจึงแทบจะไม่มี แต่ในอดีตเมื่อครั้งที่การเลือกตั้งที่มีการใช้เงินซื้อเสียงมากและไม่มีคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มากลั่นกรองว่า การเลือกตั้งเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรมหรือไม่ ไม่มีการให้ “ใบเหลือง” หรือ “ใบแดง” หรือสั่งให้มีการเลือกตั้งใหม่ก่อนการประกาศผลเลือกตั้ง คะแนนเสียงทุกคะแนนถือว่าเป็นคะแนนเสียงที่ดีนับเป็นคะแนนทั้งหมด ในบางเขตเลือกตั้งที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งใช้เงินซื้อเสียงหรือทุจริตการเลือกตั้งแล้วทำให้ได้รับคะแนนเสียงท่วมท้นชนะการเลือกตั้งได้โดยง่าย บรรดา “หมาหลง” ทั้งหลายที่ใช้วิธีดังกล่าวก็อาจได้รับคะแนนเสียงสูงสุดในการเลือกตั้งนั้น และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร