ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม 2489"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' ชาย  ไชยชิต
'''ผู้เรียบเรียง''' ชาย  ไชยชิต
----


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 7:
----
----


 
==การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489==
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489'''
การเลือกตั้งครั้งที่สี่นี้เป็นการเลือกตั้งด้วยวิธีแบ่งเขต โดยประชาชนเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรในเขตของตนเองโดยตรง มีเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตคือ ประชาชนสองแสนคนต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน เหตุที่มีการจัดการเลือกตั้งครั้งนี้ขึ้นเนื่องจากมีพระราชบัญญัติยุบสภาเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นการประกาศยุบสภาครั้งที่สอง การเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนผู้แทนราษฎรได้ทั้งหมด 96 คน  
[[การเลือกตั้ง]]ครั้งที่สี่นี้เป็นการเลือกตั้งด้วยวิธีแบ่งเขต โดยประชาชนเป็น[[ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎร]]ในเขตของตนเองโดยตรง มีเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตคือ ประชาชนสองแสนคนต่อ[[ผู้แทนราษฎร]]หนึ่งคน เหตุที่มีการจัดการเลือกตั้งครั้งนี้ขึ้นเนื่องจากมี[[พระราชบัญญัติยุบสภา]]เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นการประกาศ[[ยุบสภา]]ครั้งที่สอง การเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนผู้แทนราษฎรได้ทั้งหมด 96 คน  


ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด ,๔๓๑,๘๒๗ คน มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจำนวน 2,091,788 คน คิดเป็นร้อยละ 32.52 ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดบุรีรัมย์ คิดเป็นร้อยละ 54.65 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 13.40
ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,431,827 คน มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจำนวน 2,091,788 คน คิดเป็นร้อยละ 32.52 ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดบุรีรัมย์ คิดเป็นร้อยละ 54.65 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 13.40
   
   
การจัดการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่งกำหนดให้ฝ่ายนิติบัญญัติมีระบบสภาเดียว แต่ในครั้งนี้มีพรรคการเมืองแข่งขันกันส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งทั้งหมด 5 พรรค ได้แก่ พรรคสหชีพ พรรคแนวรัฐธรรมนูญ พรรคอิสระ พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคประชาชน
การจัดการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475]] ซึ่งกำหนดให้[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]มี[[ระบบสภาเดียว]] แต่ในครั้งนี้มีพรรคการเมืองแข่งขันกันส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งทั้งหมด 5 พรรค ได้แก่ [[สหชีพ|พรรคสหชีพ]] [[แนวรัฐธรรมนูญ|พรรคแนวรัฐธรรมนูญ]] [[อิสระ (พ.ศ. 2499)|พรรคอิสระ]] [[ประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2489–2494)|พรรคประชาธิปัตย์]] และ[[ประชาชน|พรรคประชาชน]]


----
==ที่มา==
 
 
'''ที่มา'''
บุญทัน  ดอกไธสง, '''การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย''', กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520
บุญทัน  ดอกไธสง, '''การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย''', กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520
บรรทัดที่ 23: บรรทัดที่ 21:
ฝ่ายพัฒนาการเมืองและการปกครอง สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย, '''อนุสารการเมือง''', มีนาคม 2522
ฝ่ายพัฒนาการเมืองและการปกครอง สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย, '''อนุสารการเมือง''', มีนาคม 2522


 
[[หมวดหมู่:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]
 
[[หมวดหมู่:ชาย ไชยชิต]]
 
[[หมวดหมู่:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:37, 4 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ชาย ไชยชิต


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งครั้งที่สี่นี้เป็นการเลือกตั้งด้วยวิธีแบ่งเขต โดยประชาชนเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรในเขตของตนเองโดยตรง มีเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตคือ ประชาชนสองแสนคนต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน เหตุที่มีการจัดการเลือกตั้งครั้งนี้ขึ้นเนื่องจากมีพระราชบัญญัติยุบสภาเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นการประกาศยุบสภาครั้งที่สอง การเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนผู้แทนราษฎรได้ทั้งหมด 96 คน

ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,431,827 คน มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจำนวน 2,091,788 คน คิดเป็นร้อยละ 32.52 ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดบุรีรัมย์ คิดเป็นร้อยละ 54.65 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 13.40

การจัดการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่งกำหนดให้ฝ่ายนิติบัญญัติมีระบบสภาเดียว แต่ในครั้งนี้มีพรรคการเมืองแข่งขันกันส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งทั้งหมด 5 พรรค ได้แก่ พรรคสหชีพ พรรคแนวรัฐธรรมนูญ พรรคอิสระ พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคประชาชน

ที่มา

บุญทัน ดอกไธสง, การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520

ฝ่ายพัฒนาการเมืองและการปกครอง สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย, อนุสารการเมือง, มีนาคม 2522