ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Tora (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เขียน รศ.ชุลีพร  เกษโกวิท'''
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ชุลีพร  เกษโกวิทย์
 
----
----


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ศ.ดร. สุจิต บุญบงการ
----
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) เป็นองค์กรอิสระที่ถูกกำหนดให้จัดตั้งขึ้นตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่ต้องการให้คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ (และวิทยุคมนาคม) เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยให้ กสช. มีหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และกำกับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญมาตรา 40 คือ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ (และกิจการโทรคมนาคม) พ.ศ. 2543 กำหนดให้ กสช. ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คนและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา  จากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ความมั่นคง กฎหมาย หรือกิจการท้องถิ่น อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์ และไม่มีลักษณะต้องห้าม ฯลฯ


กสช. มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว ทั้งนี้ ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนดสามปีจะต้องจับสลากกรรมการออกสามคนและให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ


คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) เป็นองค์กรอิสระที่ถูกกำหนดให้จัดตั้งขึ้นตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 <br/>
นับตั้งแต่ พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประกาศใช้เป็นกำหมายตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) การเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหายังไม่เรียบร้อย กสช. ชุดแรกจึงยังไม่สามารถจัดตั้งขึ้นได้
ที่ต้องการให้คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ (และวิทยุคมนาคม) เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ <br/>
โดยให้ กสช. มีหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และกำกับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์<br/>
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญมาตรา 40 คือ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ (และกิจการโทรคมนาคม) พ.ศ. 2543 <br/>
กำหนดให้ กสช. ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คนและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา  <br/>
จากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ความมั่นคง กฎหมาย หรือกิจการท้องถิ่น <br/>
อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์ <br/>
และไม่มีลักษณะต้องห้าม ฯลฯ<br/><br/>
กสช. มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว<br/>
ทั้งนี้ ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนดสามปีจะต้องจับสลากกรรมการออกสามคนและให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ<br/>
นับตั้งแต่ พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประกาศใช้เป็นกำหมายตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) <br/>
การเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหายังไม่เรียบร้อย กสช. ชุดแรกจึงยังไม่สามารถจัดตั้งขึ้นได้


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 22:
*[[:category:สถาบันทางการเมืองที่ไม่ได้ก่อตั้งตามกฎหมาย|สถาบันทางการเมืองที่ไม่ได้ก่อตั้งตามกฎหมาย]]
*[[:category:สถาบันทางการเมืองที่ไม่ได้ก่อตั้งตามกฎหมาย|สถาบันทางการเมืองที่ไม่ได้ก่อตั้งตามกฎหมาย]]


<br/>


[[หมวดหมู่: สารานุกรมการเมืองไทย]]
[[category:องค์กรตามรัฐธรรมนูญ]]
[[category:องค์กรตามรัฐธรรมนูญ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:14, 30 พฤษภาคม 2555

ผู้เรียบเรียง รศ.ชุลีพร เกษโกวิทย์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร. สุจิต บุญบงการ


คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) เป็นองค์กรอิสระที่ถูกกำหนดให้จัดตั้งขึ้นตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่ต้องการให้คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ (และวิทยุคมนาคม) เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยให้ กสช. มีหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และกำกับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญมาตรา 40 คือ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ (และกิจการโทรคมนาคม) พ.ศ. 2543 กำหนดให้ กสช. ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คนและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ความมั่นคง กฎหมาย หรือกิจการท้องถิ่น อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์ และไม่มีลักษณะต้องห้าม ฯลฯ

กสช. มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว ทั้งนี้ ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนดสามปีจะต้องจับสลากกรรมการออกสามคนและให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ

นับตั้งแต่ พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประกาศใช้เป็นกำหมายตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) การเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหายังไม่เรียบร้อย กสช. ชุดแรกจึงยังไม่สามารถจัดตั้งขึ้นได้

ดูเพิ่มเติม