ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทุนการเงินระหว่างประเทศ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " <br/> IMF กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) เป็นองค์ก..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


<br/> IMF
'''ผู้เรียบเรียง'''&nbsp;''':'''&nbsp;ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์อาภา พิศุทธ์เศรณี


กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) เป็นองค์การระหว่างประเทศ<br/> ซึ่งทำหน้าที่ดูแลอัตราแลกเปลี่ยนและรักษาเสถียรภาพของการเงินโลก สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุล และสามารถให้เงินกู้ฉุกเฉินแก่ประเทศสมาชิกที่ต้องการนำไปแก้ไขปัญหาภายในประเทศ<br/> โดย IMF มีสำนักงานอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และในปัจจุบัน IMF มีสมาชิกจำนวน 190 ประเทศ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ'''&nbsp;''':'''&nbsp;ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไชยวัฒน์ ค้ำชู


ความเป็นมา
&nbsp;


กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ International Monetary Fund (IMF) ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อ 22 กรกฎาคม ค.ศ.1944 จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเงินและการคลัง (United Nations Monetary and Financial Conference) อันมีผลมาจากการอ่อนแอของอังกฤษผู้เป็นมหาอำนาจในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลงสหรัฐอเมริกาจึงได้เข้ามาควบคุมการเงินโลกโดยได้คิดค้นระบบเบรตตันวูดส์ (Bretton Woods System) เพื่อแก้ไขปัญหาการเงินโลกและได้วางหลักการใหม่ 3 หลักการ (Holy Trinity) ที่มีความศักดิ์สิทธิ์และสำคัญมากที่สุดต่่อระบบเบรตตันวูดส์ โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ถูกก่อตั้งขึ้น<br/> เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของหลักการใหม่
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''กองทุนการเงินระหว่างประเทศ''' '''(International Monetary Fund''' ''':''' '''IMF)''' เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งทำหน้าที่ดูแลอัตราแลกเปลี่ยนและรักษาเสถียรภาพของการเงินโลก สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุลและสามารถให้เงินกู้ฉุกเฉินแก่ประเทศสมาชิกที่ต้องการนำไปแก้ไขปัญหาภายในประเทศ โดย IMF มีสำนักงานอยู่ที่ กรุงวอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริกา และในปัจจุบัน IMF มีสมาชิกจำนวน 190 ประเทศ[[#_edn1|[1]]]


ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรที่ ได้สรุปว่าปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมือง<br/> ที่เป็นสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 คือ การลดค่าเงินจนอัตราแลกเปลี่ยนไม่แน่นอนนำไปสู่ความปั่นป่วนของระบบการเงินของโลก และ การแข่งขันทางการค้าโดยการตั้งกำแพงภาษีศุลกากร เพื่อกีดกันสินค้าของประเทศอื่น ก่อให้เกิดความขัดแย้งและลุกลามไปเพิ่มเชื้อไฟให้ความขัดแย้งด้านอื่นๆ ดังนั้น เพื่อป้องกันความขัดแย้ง<br/> ทางเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกาและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร จำนวน 44 ประเทศ จึงได้จัดประชุมที่เมือง<br/> เบรตเตน วู๊ดส์ (Bretten Woods) รัฐนิวแฮมเชอร์ สหรัฐอเมริกา ระหว่าง 1 – 22 กรกฎาคม ค.ศ.1944<br/> เพื่อจัดระบบทางการเงินของโลก การประชุมในครั้งนั้นจึงได้ลงมติทำข้อตกลงที่รู้จักในชื่อ “ข้อตกลง<br/> เบรตเตน วู๊ดส์” (Bretten Woods Agreement) เพื่อจัดระเบียบการเงินโลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยได้วางหลักการใหม่ 3 หลักการ (holy trinity)&nbsp;&nbsp;ดังนี้ 1.กำหนดระบอบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (fixed exchange rate regime) โดยตกลงให้ทองคำและเงินสกุลดอลลาร์ของสหรัฐฯ เป็นเงินสำรองระกว่างประเทศ เป็นการเริ่มใช้ระบบมาตรฐานปริวรรตทองคำ (gold exchange standard) ส่วนเงินสกุลอื่น ๆ ให้เทียบค่าในอัตราแลกเปลี่ยนที่แน่นอนคงที่กับดอลลาร์สหรัฐฯ หรือทองคำ ทั้งนี้โดยมีความยืดหยุ่นผันผวนได้ร้อยละ 1 เท่านั้น 2.ตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund หรือ IMF) เพื่อดูแลอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การเงินและการคลังของประเทศสมาชิก&nbsp;&nbsp;เพื่อรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนของระบบการเงินระหว่างประเทศ 3.ตั้งธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะฟื้นฟูและการพัฒนา (International Bank for Reconstruction and Development หรือ IBRD)&nbsp;&nbsp;หรือมีชื่อสั้นๆว่า “ธนาคารโลก” (world bank) เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการฟื้นฟูบูรณะประเทศที่เสียหายจากสงครามและช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศรษฐกิจ&nbsp;
&nbsp;


IMF เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ ค.ศ.1947 โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1.ส่งเสริมเสถียรภาพและความเป็นระเบียบของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราสกุลต่างๆ และป้องกันการแข่งขันในการลดค่าเงิน 2.ส่งเสริมความร่วมมือ<br/> ทางการเงินระหว่างประเทศ โดยจัดตั้งข้อตกลงแลกเปลี่ยนทางการเงินระหว่างสมาชิก และสนับสนุนให้เกิดการชำระเงินหลายฝ่าย (multilateral system of payment) และพยายามขจัดการควบคุมแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นอุปสรรคต่อความเจริญเติบโตของการค้าโลก 3.อำนวยความสะดวกและส่งเสริมการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศอย่างสมดุล ซึ่งจะช่วยพัฒนาการใช้ทรัพยากรวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ 4.ช่วยแก้ไขปัญหาขาดดุลการชำระเงินของประเทศสมาขิก เพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อระบบการเงินโลก 5.สร้างความเชื่อมั่นแก่ประเทศสมาขิกและให้ประเทศสมาขิกมีสิทธิใช้ทรัพยากรของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงดุลการชำระเงินให้มีเสถียรภาพ&nbsp;
<span style="font-size:x-large;">'''ความเป็นมา'''</span>


อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่สุดของระบบเบรตตัน วู๊ดส์ ได้ล่มลง ใน ค.ศ.1971 เมื่อสหรัฐฯ ประกาศยกเลิกการผูกอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์กับทองคำ ทำให้ดอลลาร์ลอยตัว และถือเป็นการสิ้นสุดของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และต่อมาเงินสกุลอื่นๆ ของประเทศร่ำรวยก็ถูกปล่อยให้ลอยตัว คือ เงินปอนด์ลอยตัวในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1972 เงินฟรังก์สวิสลอยตัวในเดือนมกราคม ค.ศ.1973 ดังนั้น นับตั้งแต่ ค.ศ.1973<br/> จนถึงปัจจุบัน ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของโลกเป็นระบบลอยตัว (floating exchange rate) เป็นส่วนใหญ่แต่ละประเทศได้ดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนตามความเหมาะสมของเศรษฐกิจการเมืองของตน แต่ถึงกระนั้น IMF ก็ยังคงอยู่ ไม่ได้ล้มไป&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ International Monetary Fund (IMF) ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเงินและการคลัง (United Nations Monetary and Financial Conference) อันมีผลมาจากการอ่อนแอของอังกฤษผู้เป็นมหาอำนาจในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่_2|สงครามโลกครั้งที่_2]] เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลงสหรัฐอเมริกาจึงได้เข้ามาควบคุมการเงินโลกโดยได้คิดค้น ระบบเบรตตันวูดส์ (Bretton Woods System) เพื่อแก้ไขปัญหาการเงินโลกและได้วางหลักการใหม่ 3 หลักการ (Holy Trinity) ที่มีความศักดิ์สิทธิ์และสำคัญมากที่สุดต่อระบบเบรตตันวูดส์ โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของหลักการใหม่[[#_edn2|[2]]]


ในการดำเนินการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีเงินทุนหรือทรัพยากร (resources) ซึ่งมาจาก โควต้าและเงินกู้พิเศษ โดยประเทศสมาชิกต้องนำทุนสำรองส่วนหนึ่งฝากไว้กับ IMF ทุนสำรองนี้จะเป็นทองคำจำนวนหนึ่งและเงินตราของประเทศตนเองจำนวนหนึ่ง ทุนสำรองในรูปเงินฝากกับ IMF นี้ เรียกว่า โควตา ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศนั้น เช่น ขนาดการค้า ขนาดทุนสำรอง และระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนเงินกู้พิเศษ ได้มาจากการกู้ยืมจากกลุ่ม G-1 ซึ่งเป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 7 ประเทศ ต่อมาใน ค.ศ.1967 กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้จัดทำสินเชื่อพิเศษเรียกว่า SDR หรือ “สิทธิพิเศษในการถอนเงิน” (Special Drawing Rights) ซึ่งเป็นหน่วยบัญชีสินเชื่อพิเศษ มีค่าประดุจเงินตรา ความเชื่อถือใน SDR อยู่บนรากฐานของการยอมรับข้อตกลงระหว่างชาติที่ให้ไว้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ SDR จะเป็นเงินสำรองอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการขาดดุลชำระเงินของประเทศสมาชิก เดิมค่าของ SDR จะเท่ากับค่าเฉลี่ยของเงินสกุลสำคัญของโลก 16 สกุล แต่ต่อมาได้เทียบค่ากับ “ตะกร้าเงิน” ของสกุลหลักเพียง 1.375 เหรียญสหรัฐฯ ประเทศที่มีปัญหาค่าเงินตกต่ำ อาจกู้ยืมเงิน SDR อยู่ไม่มากนัก เพียง 11.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็นจำนวนน้อยมากเมื่อเทียบกับปัญหาทางการเงินที่หลายๆประเทศประสบอยู่ ต่อมาในทศวรรษที่ 1990 กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้เข้าไปช่วยเหลือประเทศที่กำลังปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจจากสังคมนิยมมาเป็นทุนนิยม<br/> เช่น รัสเซียและสาธารณรัฐที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตโดยได้ให้กู้ยืมเงินไปปรับโครงสร้างเศรษฐกิจประมาณ 39.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรที่ ได้สรุปว่าปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่เป็นสาเหตุของ[[สงครามโลกครั้งที่_1|สงครามโลกครั้งที่_1]] และ 2 คือ การลดค่าเงินจนอัตราแลกเปลี่ยนไม่แน่นอนนำไปสู่ความปั่นป่วนของระบบการเงินของโลกและการแข่งขันทางการค้าโดยการตั้งกำแพงภาษีศุลกากร เพื่อกีดกันสินค้าของประเทศอื่น ก่อให้เกิดความขัดแย้งและลุกลามไปเพิ่มเชื้อไฟให้ความขัดแย้งด้านอื่น ๆ ดังนั้นเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกาและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร จำนวน 44 ประเทศ จึงได้จัดประชุมที่เมืองเบรตเตน วู๊ดส์ (Bretten Woods) รัฐนิวแฮมเชอร์ สหรัฐอเมริกา ระหว่าง 1-22 กรกฎาคม ค.ศ. 1944&nbsp;เพื่อจัดระบบทางการเงินของโลก การประชุมในครั้งนั้นจึงได้ลงมติทำข้อตกลงที่รู้จักในชื่อ '''“ข้อตกลงเบรตเตน วู๊ดส์”''' '''(Bretten Woods Agreement)''' เพื่อจัดระเบียบการเงินโลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยได้วางหลักการใหม่ 3 หลักการ (holy trinity) ดังนี้


ต่อมาใน ค.ศ.1997 ประเทศกำลังพัฒนาในเอเชียหลายประเทศ เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย<br/> ประสบวิกฤตทางการเงิน จนต้องลดค่าเงิน วิกฤตนี้ได้ลุกลามขยายตัวไปยังประเทศในเอเชียอื่นๆรวมทั้งเกาหลีใต้ ทำให้กองทุนการเงินระหว่างประเทศต้องเข้ามามีบทบาทในการระดมเงินเกือบ 100 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ<br/> เพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์และฟื้นฟูเศรษฐกิจ กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้กลายเป็น “เจ้าหน้าพิจารณาเงินกู้<br/> ของโลก” (World Loan Officer) ซึ่งได้คำแนะนำแก่นายทุนระหว่างชาติว่า ควรให้เงินกู้ หรือควรเจรจาผ่อนผันการชำระหนี้ หรือไม่ควรให้กู้อีกต่อไป
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. กำหนดระบอบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (fixed exchange rate regime) โดยตกลงให้ทองคำและเงินสกุลดอลลาร์ของสหรัฐฯ เป็นเงินสำรองระกว่างประเทศ เป็นการเริ่มใช้ระบบมาตรฐานปริวรรตทองคำ (gold exchange standard) ส่วนเงินสกุลอื่น ๆ ให้เทียบค่าในอัตราแลกเปลี่ยนที่แน่นอนคงที่กับดอลลาร์สหรัฐฯ หรือทองคำ ทั้งนี้โดยมีความยืดหยุ่นผันผวนได้ ร้อยละ 1 เท่านั้น


IMF กับข้อวิจารณ์
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund หรือ IMF) เพื่อดูแลอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การเงินและการคลังของประเทศสมาชิก เพื่อรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนของระบบการเงินระหว่างประเทศ


แม้ว่ากองทุนการเงินระหว่างประเทศจะแสดงบทบาทสำคัญในการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินโลก แต่ประเทศสมาชิกจำนวนมากได้วิจารณ์ IMF อย่างกว้างขวางทั้งในเวทีการประชุมระหว่างประเทศและในรัฐสภาของประเทศสมาชิก ดังนี้&nbsp;&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.ตั้งธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะฟื้นฟูและการพัฒนา (International Bank for Reconstruction and Development หรือ IBRD) &nbsp;หรือมีชื่อสั้น ๆ ว่า '''“ธนาคารโลก”''' '''(world bank)''' เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการฟื้นฟูบูรณะประเทศที่เสียหายจากสงครามและช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศรษฐกิจ[[#_edn3|[3]]]


ข้อวิจารณ์ประการแรก คือ การลงมติตัดสินในปัญหาสำคัญของสภาผู้ว่าการขึ้นอยู่กับปริมาณโควตา<br/> หรือสัดส่วนของเงินลงทุนของประเทศตนในกองทุนฯส่งผลให้สหรัฐอเมริกา “เสียงดัง” ที่สุด เพราะมีปริมาณ<br/> ถึงร้อยละ 20 ของเสียงทั้งหมด ส่วนสหราชอาณาจักร (อังกฤษ) ฝรั่งเศส เยอรมนี และญี่ปุ่น แต่ละประเทศมีร้อยละ 4-7 ประเทศเหล่านี้รวมทั้งซาอุดิอาระเบียซึ่งมีเสียงร้อยละ 3.4 จะมีเสียงมากกว่าครึ่งหนึ่งของทั้งหมด<br/> ในขณะเดียวกันประเทศเกือบ 40 ประเทศในแอฟริกามีคะแนนเสียงรวมกันเพียงร้อยละ 5 ของทั้งหมด<br/> ความแตกต่างเหลื่อมล้ำดังกล่าวทำให้ประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายวิจารณ์ว่า กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ถูกควบคุมโดยประเทศอุตสาหกรรมและเป็นเครื่องมือของสหรัฐอเมริกาในการครอบงำและควบคุมประเทศกำลังพัฒนาและประเทศยากจน&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;


ข้อวิจารณ์ที่สอง คือ กองทุนการเงินระหว่างประเทศกำหนดเงือนไขที่ค่อนข้าง “โหด” ทั้งไม่ยุติธรรม<br/> และไม่เหมาะสมต่อประเทศที่ขอใช้เงินกู้ของกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ บางมาตรการอาจดีและจำเป็นต่อการแก้ปัญหา แต่หลายๆมาตรการไม่เหมาะสม และยังสร้างปัญหาให้กับรัฐบาลและประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนยากจน ทั้งนี้ เงื่อนไขของกองทุนการเงินระหว่างประเทศที่ถูกวิจารณ์บ่อยๆ เช่น เรียกร้องให้รัฐบาล<br/> ของประเทศที่กำลังพัฒนาลดบทบาทในการแทรกแซงทางเศรษฐกิจ ทั้งในภาคการผลิตและการวางแผน โดยให้เป็นไปตามกลไกตลาดอย่างเสรี และให้มีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นของเอกชน&nbsp;&nbsp;หรือเรียกร้องให้กับประเทศที่กำลังพัฒนาเปิดระบบเศรษฐกิจให้เสรีมากขึ้นต่อการลงทุนของต่างชาติและต่อการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งดูเหมือนว่าประโยชน์ส่วนใหญ่จะตกกับระบบทุนนิยมโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศอุตสาหกรรมทุนนิยมตะวันตก แม้ว่ากองทุนจะตระหนักถึงความยากลำบากที่จำเป็นในการปรับโครสร้างเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว แต่ในความเป็นจริง มาตรการที่เข้มงวดเหล่านี้อาจเพื่อให้สามารถกู้คืนเงินกู้และจ่ายคือหนี้สินต่างๆ ให้กับธนาคารของประเทศอุตสาหกรรม&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; IMF เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ ค.ศ. 1947 โดยมีวัตถุประสงค์ คือ


นอกจากนั้น กองทุนการเงินระหว่างประเทศมักกดดันให้มีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ดังเช่นที่ปรากฏ<br/> ในการจัดการวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ เช่น เม็กซิโก (ค.ศ.1995) ไทย อินโดนีเซีย<br/> และเกาหลีใต้ (ค.ศ.1997) ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มพูนความสามารถของรัฐบาลในการหารายได้มาคืนเงินกู้ยืม มากกว่าความยากลำบากของประชาชน ทำให้เกิดผลกระทบทางสังคม เช่น ลดการนำเข้า ระงับการซื้อเงินค่าจ้าง<br/> เพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลดรายจ่ายของรัฐบาลในด้านต่างๆ ลง แม้ว่ามาตรการเหล่านี้จะเป็นมาตรการที่อาจถูกต้องในสายตา IMF ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ แต่ในทางปฏิบัติแล้ว มาตรการเหล่านี้มีจุดอ่อนหลายประการและนำไปสู่ความยากลำบากทางสังคมและความไร้เสถียรภาพทางการเมืองของประเทศผู้ขอความช่วยเหลือ<br/> ยังเป็นลดระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศเหล่านั้นอีกด้วย เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ<br/> อาจลดลง อีกทั้งรัฐบาลถูกบังคับให้ตัดงบประมาณด้านบริการต่างๆเพื่อจัดงบประมาณให้สมดุล การแช่แข็งค่าจ้างแรงงานสร้างปัญหากับสหภาพแรงงานและกลุ่มพลังงานทางการเมืองได้ และส่งต่อเสถียรภาพของการปกครองแบบประชาธิปไตยที่กำลังพัฒนาในประเทศเหล่านี้ การกำหนดเงื่อนไขเหล่านี้ยังถูกวิจารณ์ว่า เป็นการละเมิดอธิปไตยและแทรกแซงกระบวนการกำหนดนโยบายของประเทศที่กำลังพัฒนาเหล่านี้อีกด้วย
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. ส่งเสริมเสถียรภาพและความเป็นระเบียบของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราสกุลต่าง ๆ และป้องกันการแข่งขันในการลดค่าเงิน


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ปัจจุบัน IMF ประสบกับความท้าทายจากสถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศในปัจจุบัน&nbsp;&nbsp;สถานการณ์แรกคือสงครามระหว่างยูเครนและรัสเซีย ซึ่งยูเครนเป็น&nbsp;&nbsp;หนึ่งในประเทศสมาชิก IMF ทำให้ IMF<br/> ได้อนุมัติเงินทุนฉุกเฉินจำนวน 1,400 ล้านเหรียญสหรัฐเพื่อช่วยเหลือยูเครน โดยความช่วยเหลือครั้งนี้จึงมีเงื่อนไขว่ายูเครนจะต้องร่วมกับ IMF เพื่อออกแบบโครงการเศรษฐกิจที่เหมาะสมโดยเน้นที่การฟื้นฟูและการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจภายหลังการสงบลงของสงคราม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สถานการณ์ที่สองคือเศรษฐกิจโลกยังคงอยู่ในภาวะอ่อนแอจากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19&nbsp;&nbsp;สถานการณ์ที่สามคือสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศ<br/> G7 ได้ยืนหยัดช่วยเหลือยูเครนและต่อต้านรัสเซียซึ่งเป็นประเทศคู่สงครามของยูเครน โดยการออกมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซีย ทำให้สถานการณ์ในระบบเศรษฐกิจโลกอยู่ในภาวะที่ตึงเครียดผันผวน จนคาดเดาอนาคตได้ยากอย่างยิ่ง&nbsp;&nbsp;&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ส่งเสริมความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ โดยจัดตั้งข้อตกลงแลกเปลี่ยนทางการเงินระหว่างสมาชิกและสนับสนุนให้เกิดการชำระเงินหลายฝ่าย (multilateral system of payment) และพยายามขจัดการควบคุมแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นอุปสรรคต่อความเจริญเติบโตของการค้าโลก
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. อำนวยความสะดวกและส่งเสริมการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศอย่างสมดุล ซึ่งจะช่วยพัฒนาการใช้ทรัพยากรวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ช่วยแก้ไขปัญหาขาดดุลการชำระเงินของประเทศสมาขิกเพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. สร้างความเชื่อมั่นแก่ประเทศสมาขิกและให้ประเทศสมาขิกมีสิทธิใช้ทรัพยากรของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงดุลการชำระเงินให้มีเสถียรภาพ[[#_edn4|[4]]]
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่สุดของระบบเบรตตัน วู๊ดส์ ได้ล่มลง ใน ค.ศ. 1971 เมื่อสหรัฐฯ ประกาศยกเลิกการผูกอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์กับทองคำ ทำให้ดอลลาร์ลอยตัวและถือเป็นการสิ้นสุดของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และต่อมาเงินสกุลอื่น ๆ ของประเทศร่ำรวยก็ถูกปล่อยให้ลอยตัวคือ เงินปอนด์ลอยตัวในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1972 เงินฟรังก์สวิสลอยตัวในเดือนมกราคม ค.ศ. 1973 ดังนั้น นับตั้งแต่ ค.ศ. 1973&nbsp;จนถึงปัจจุบัน ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของโลกเป็นระบบลอยตัว (floating exchange rate) เป็นส่วนใหญ่แต่ละประเทศได้ดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนตามความเหมาะสมของเศรษฐกิจการเมืองของตน[[#_edn5|[5]]] แต่ถึงกระนั้น IMF ก็ยังคงอยู่ไม่ได้ล้มไป
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในการดำเนินการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีเงินทุนหรือทรัพยากร (resources) ซึ่งมาจากโควต้าและเงินกู้พิเศษ โดยประเทศสมาชิกต้องนำทุนสำรองส่วนหนึ่งฝากไว้กับ IMF ทุนสำรองนี้จะเป็นทองคำจำนวนหนึ่งและเงินตราของประเทศตนเองจำนวนหนึ่ง ทุนสำรองในรูปเงินฝากกับ IMF นี้ เรียกว่า '''โควตา''' ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศนั้น เช่น ขนาดการค้า ขนาดทุนสำรอง และระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนเงินกู้พิเศษได้มาจากการกู้ยืมจาก กลุ่ม G-1 ซึ่งเป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 7 ประเทศ ต่อมาใน ค.ศ. 1967 กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้จัดทำสินเชื่อพิเศษเรียกว่า '''SDR''' หรือ '''“สิทธิพิเศษในการถอนเงิน”''' '''(Special Drawing Rights)''' ซึ่งเป็นหน่วยบัญชีสินเชื่อพิเศษมีค่าประดุจเงินตรา ความเชื่อถือใน SDR อยู่บนรากฐานของการยอมรับข้อตกลงระหว่างชาติที่ให้ไว้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ SDR จะเป็นเงินสำรองอีกรูปแบบหนึ่งและเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการขาดดุลชำระเงินของประเทศสมาชิก เดิมค่าของ SDR จะเท่ากับค่าเฉลี่ยของเงินสกุลสำคัญของโลก 16 สกุล แต่ต่อมาได้เทียบค่ากับ '''“ตะกร้าเงิน”''' ของสกุลหลักเพียง 1.375 เหรียญสหรัฐฯ ประเทศที่มีปัญหาค่าเงินตกต่ำ อาจกู้ยืมเงิน SDR อยู่ไม่มากนัก เพียง 11.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็นจำนวนน้อยมากเมื่อเทียบกับปัญหาทางการเงินที่หลาย ๆ ประเทศประสบอยู่ ต่อมาในทศวรรษที่ 1990 กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้เข้าไปช่วยเหลือประเทศที่กำลังปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจจาก[[สังคมนิยม|สังคมนิยม]]มาเป็น[[ทุนนิยม|ทุนนิยม]]&nbsp;เช่น รัสเซียและสาธารณรัฐที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตโดยได้ให้กู้ยืมเงินไปปรับโครงสร้างเศรษฐกิจประมาณ 39.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ[[#_edn6|[6]]]
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต่อมาใน ค.ศ. 1997 ประเทศกำลังพัฒนาในเอเชียหลายประเทศ เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย ประสบวิกฤตทางการเงินจนต้องลดค่าเงิน วิกฤตนี้ได้ลุกลามขยายตัวไปยังประเทศในเอเชียอื่น ๆ รวมทั้งเกาหลีใต้ ทำให้กองทุนการเงินระหว่างประเทศต้องเข้ามามีบทบาทในการระดมเงินเกือบ 100 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ&nbsp;เพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์และฟื้นฟูเศรษฐกิจ กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้กลายเป็น '''“เจ้าหน้าพิจารณาเงินกู้ของโลก”''' '''(World Loan Officer)''' ซึ่งได้คำแนะนำแก่นายทุนระหว่างชาติว่าควรให้เงินกู้หรือควรเจรจาผ่อนผันการชำระหนี้ หรือไม่ควรให้กู้อีกต่อไป[[#_edn7|[7]]]
 
&nbsp;
 
<span style="font-size:x-large;">'''IMF กับข้อวิจารณ์'''</span>
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แม้ว่ากองทุนการเงินระหว่างประเทศจะแสดงบทบาทสำคัญในการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินโลก แต่ประเทศสมาชิกจำนวนมากได้วิจารณ์ IMF อย่างกว้างขวางทั้งในเวทีการประชุมระหว่างประเทศและในรัฐสภาของประเทศสมาชิก ดังนี้&nbsp;
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>ข้อวิจารณ์ประการแรก</u> คือ การลงมติตัดสินในปัญหาสำคัญของสภาผู้ว่าการขึ้นอยู่กับปริมาณโควตาหรือสัดส่วนของเงินลงทุนของประเทศตนในกองทุนฯ ส่งผลให้สหรัฐอเมริกา '''“เสียงดัง”''' ที่สุด เพราะมีปริมาณถึง ร้อยละ 20 ของเสียงทั้งหมด ส่วนสหราชอาณาจักร (อังกฤษ) ฝรั่งเศส เยอรมนี และญี่ปุ่น แต่ละประเทศมี ร้อยละ 4-7 ประเทศเหล่านี้รวมทั้งซาอุดิอาระเบียซึ่งมีเสียง ร้อยละ 3.4 จะมีเสียงมากกว่าครึ่งหนึ่งของทั้งหมด&nbsp;ในขณะเดียวกันประเทศเกือบ 40 ประเทศในแอฟริกามีคะแนนเสียงรวมกันเพียง ร้อยละ 5 ของทั้งหมด&nbsp;ความแตกต่างเหลื่อมล้ำดังกล่าวทำให้ประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายวิจารณ์ว่ากองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ถูกควบคุมโดยประเทศอุตสาหกรรมและเป็นเครื่องมือของสหรัฐอเมริกาในการครอบงำและควบคุมประเทศกำลังพัฒนาและประเทศยากจน[[#_edn8|[8]]]
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>ข้อวิจารณ์ที่สอง</u> คือ กองทุนการเงินระหว่างประเทศกำหนดเงือนไขที่ค่อนข้าง '''“โหด”''' ทั้งไม่ยุติธรรมและไม่เหมาะสมต่อประเทศที่ขอใช้เงินกู้ของกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ บางมาตรการอาจดีและจำเป็นต่อการแก้ปัญหาแต่หลาย ๆ มาตรการไม่เหมาะสม และยังสร้างปัญหาให้กับรัฐบาลและประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนยากจน ทั้งนี้เงื่อนไขของกองทุนการเงินระหว่างประเทศที่ถูกวิจารณ์บ่อย ๆ เช่น เรียกร้องให้รัฐบาลของประเทศที่กำลังพัฒนาลดบทบาทในการแทรกแซงทางเศรษฐกิจทั้งในภาคการผลิตและการวางแผน โดยให้เป็นไปตามกลไกตลาดอย่างเสรีและให้มีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นของเอกชนหรือเรียกร้องให้กับประเทศที่กำลังพัฒนาเปิดระบบเศรษฐกิจให้เสรีมากขึ้นต่อการลงทุนของต่างชาติและต่อการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งดูเหมือนว่าประโยชน์ส่วนใหญ่จะตกกับระบบทุนนิยมโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศอุตสาหกรรมทุนนิยมตะวันตก แม้ว่ากองทุนจะตระหนักถึงความยากลำบากที่จำเป็นในการปรับโครสร้างเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว แต่ในความเป็นจริงมาตรการที่เข้มงวดเหล่านี้อาจเพื่อให้สามารถกู้คืนเงินกู้และจ่ายคือหนี้สินต่าง ๆ ให้กับธนาคารของประเทศอุตสาหกรรม[[#_edn9|[9]]]
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นอกจากนั้นกองทุนการเงินระหว่างประเทศมักกดดันให้มีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ดังเช่นที่ปรากฏในการจัดการวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ เช่น เม็กซิโก (ค.ศ.1995) ไทย อินโดนีเซีย&nbsp;และเกาหลีใต้ (ค.ศ. 1997) ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มพูนความสามารถของรัฐบาลในการหารายได้มาคืนเงินกู้ยืมมากกว่าความยากลำบากของประชาชน ทำให้เกิดผลกระทบทางสังคม เช่น ลดการนำเข้า ระงับการซื้อเงินค่าจ้าง&nbsp;เพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลดรายจ่ายของรัฐบาลในด้านต่าง ๆ ลง แม้ว่ามาตรการเหล่านี้จะเป็นมาตรการที่อาจถูกต้องในสายตา IMF ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ แต่ในทางปฏิบัติแล้วมาตรการเหล่านี้มีจุดอ่อนหลายประการและนำไปสู่ความยากลำบากทางสังคมและความไร้เสถียรภาพทางการเมืองของประเทศผู้ขอความช่วยเหลือ ยังเป็นลดระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศเหล่านั้นอีกด้วย เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอาจลดลง อีกทั้งรัฐบาลถูกบังคับให้ตัดงบประมาณด้านบริการต่าง ๆ เพื่อจัดงบประมาณให้สมดุล การแช่แข็งค่าจ้างแรงงานสร้างปัญหากับสหภาพแรงงานและกลุ่มพลังงานทางการเมืองได้และส่งต่อเสถียรภาพของการปกครองแบบประชาธิปไตยที่กำลังพัฒนาในประเทศเหล่านี้ การกำหนดเงื่อนไขเหล่านี้ยังถูกวิจารณ์ว่าเป็นการละเมิดอธิปไตยและแทรกแซงกระบวนการกำหนดนโยบายของประเทศที่กำลังพัฒนาเหล่านี้อีกด้วย[[#_edn10|[10]]]
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปัจจุบัน IMF ประสบกับความท้าทายจากสถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศในปัจจุบัน&nbsp;สถานการณ์แรก คือ สงครามระหว่างยูเครนและรัสเซีย ซึ่งยูเครนเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิก IMF ทำให้ IMF&nbsp;ได้อนุมัติเงินทุนฉุกเฉิน จำนวน 1,400 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อช่วยเหลือยูเครน โดยความช่วยเหลือครั้งนี้จึงมีเงื่อนไขว่ายูเครนจะต้องร่วมกับ IMF เพื่อออกแบบโครงการเศรษฐกิจที่เหมาะสมโดยเน้นที่การฟื้นฟูและการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจภายหลังการสงบลงของสงคราม[[#_edn11|[11]]]<sup>&nbsp;&nbsp;</sup>สถานการณ์ที่สอง คือ เศรษฐกิจโลกยังคงอยู่ในภาวะอ่อนแอจากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19&nbsp;สถานการณ์ที่สาม คือ สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศ G7 ได้ยืนหยัดช่วยเหลือยูเครนและต่อต้านรัสเซียซึ่งเป็นประเทศคู่สงครามของยูเครน โดยการออกมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซีย ทำให้สถานการณ์ในระบบเศรษฐกิจโลกอยู่ในภาวะที่ตึงเครียดผันผวนจนคาดเดาอนาคตได้ยากอย่างยิ่ง&nbsp; &nbsp;
 
&nbsp;
 
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>'''
<div><div id="edn1">
[[#_ednref1|[1]]]ธนาคารแห่งประเทศไทย. “กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF).” สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2565, [https://www.bot.or.th/th/our-roles/international-cooperation/interorg/imf.html https://www.bot.or.th/th/our-roles/international-cooperation/interorg/imf.html]&nbsp;
</div> <div id="edn2">
[[#_ednref2|[2]]]U.S. Department of State, n.d. The Bretton Woods Conference, 1944. Retrieved May 7, 2022, from [https://2001-2009.state.gov/r/pa/ho/time/wwii/98681.htm https://2001-2009.state.gov/r/pa/ho/time/wwii/98681.htm]&nbsp;
</div> <div id="edn3">
[[#_ednref3|[3]]] Benjamin J. Cohen, “A Brief History of International Monetary Relations,” in ,” in&nbsp; International Political Economy: Perspectives on Global Power and Wealth, Jeffry A. Frieden and David A. Lake, eds. (London: Routledge, 1995), pp. 218-223.
</div> <div id="edn4">
[[#_ednref4|[4]]] กองทุนการเงินระหว่างประเทศ. กองทุนการเงินระหว่างประเทศคืออะไร(ฉบับภาษาไทย). หน้า 11.&nbsp; สืบค้นวันที่ 22 พฤษภาคม 2565.&nbsp;&nbsp; [https://www.imf.org/external/pubs/ft/exrp/what/tha/whatt.pdf https://www.imf.org/external/pubs/ft/exrp/what/tha/whatt.pdf]
</div> <div id="edn5">
[[#_ednref5|[5]]] Benjamin J. Cohen, “The Triad and Unholy Trinity: Problems of International Monetary Coopertion,” in ,” in&nbsp; International Political Economy: Perspectives on Global Power and Wealth, Jeffry A. Frieden and David A. Lake, eds. (London: Routledge, 1995), pp. 256-257
</div> <div id="edn6">
[[#_ednref6|[6]]] จุลชีพ ชินวรรโณ, 2544, สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, หน้า 81-85.
</div> <div id="edn7">
[[#_ednref7|[7]]] จุลชีพ ชินวรรโณ, 2544, สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, หน้า 85-90.
</div> <div id="edn8">
[[#_ednref8|[8]]] William N. Gianaris, 1990, “Weighted Voting in the International Monetary Fund and the World Bank,” Fordham International Law Journal. Volume 14, Issue 4, pages 910-945.&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</div> <div id="edn9">
[[#_ednref9|[9]]] Valentin Lang, 2021, “The economics of the democratic deficit: The effect of IMF programs on inequality.” The Review of International Organizations. volume 16, pages 599–623.&nbsp;
</div> <div id="edn10">
[[#_ednref10|[10]]]จุลชีพ ชินวรรโณ, 2544, สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, หน้า 116-121.&nbsp;
</div> <div id="edn11">
[[#_ednref11|[11]]] ประชาชาติธุรกิจ, “IMF อนุมัติเงิน 1,400 ล้านเหรียญ ช่วยยูเครน.” Retrieved May 7, 2022, from&nbsp; [https://www.prachachat.net/world-news/news-883369 https://www.prachachat.net/world-news/news-883369]&nbsp;
</div> </div>
[[Category:ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ]] [[Category:ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:45, 18 มิถุนายน 2567

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์อาภา พิศุทธ์เศรณี

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไชยวัฒน์ ค้ำชู

 

          กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งทำหน้าที่ดูแลอัตราแลกเปลี่ยนและรักษาเสถียรภาพของการเงินโลก สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุลและสามารถให้เงินกู้ฉุกเฉินแก่ประเทศสมาชิกที่ต้องการนำไปแก้ไขปัญหาภายในประเทศ โดย IMF มีสำนักงานอยู่ที่ กรุงวอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริกา และในปัจจุบัน IMF มีสมาชิกจำนวน 190 ประเทศ[1]

 

ความเป็นมา

          กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ International Monetary Fund (IMF) ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเงินและการคลัง (United Nations Monetary and Financial Conference) อันมีผลมาจากการอ่อนแอของอังกฤษผู้เป็นมหาอำนาจในช่วงสงครามโลกครั้งที่_2 เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลงสหรัฐอเมริกาจึงได้เข้ามาควบคุมการเงินโลกโดยได้คิดค้น ระบบเบรตตันวูดส์ (Bretton Woods System) เพื่อแก้ไขปัญหาการเงินโลกและได้วางหลักการใหม่ 3 หลักการ (Holy Trinity) ที่มีความศักดิ์สิทธิ์และสำคัญมากที่สุดต่อระบบเบรตตันวูดส์ โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของหลักการใหม่[2]

          ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรที่ ได้สรุปว่าปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่เป็นสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่_1 และ 2 คือ การลดค่าเงินจนอัตราแลกเปลี่ยนไม่แน่นอนนำไปสู่ความปั่นป่วนของระบบการเงินของโลกและการแข่งขันทางการค้าโดยการตั้งกำแพงภาษีศุลกากร เพื่อกีดกันสินค้าของประเทศอื่น ก่อให้เกิดความขัดแย้งและลุกลามไปเพิ่มเชื้อไฟให้ความขัดแย้งด้านอื่น ๆ ดังนั้นเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกาและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร จำนวน 44 ประเทศ จึงได้จัดประชุมที่เมืองเบรตเตน วู๊ดส์ (Bretten Woods) รัฐนิวแฮมเชอร์ สหรัฐอเมริกา ระหว่าง 1-22 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 เพื่อจัดระบบทางการเงินของโลก การประชุมในครั้งนั้นจึงได้ลงมติทำข้อตกลงที่รู้จักในชื่อ “ข้อตกลงเบรตเตน วู๊ดส์” (Bretten Woods Agreement) เพื่อจัดระเบียบการเงินโลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยได้วางหลักการใหม่ 3 หลักการ (holy trinity) ดังนี้

          1. กำหนดระบอบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (fixed exchange rate regime) โดยตกลงให้ทองคำและเงินสกุลดอลลาร์ของสหรัฐฯ เป็นเงินสำรองระกว่างประเทศ เป็นการเริ่มใช้ระบบมาตรฐานปริวรรตทองคำ (gold exchange standard) ส่วนเงินสกุลอื่น ๆ ให้เทียบค่าในอัตราแลกเปลี่ยนที่แน่นอนคงที่กับดอลลาร์สหรัฐฯ หรือทองคำ ทั้งนี้โดยมีความยืดหยุ่นผันผวนได้ ร้อยละ 1 เท่านั้น

          2. ตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund หรือ IMF) เพื่อดูแลอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การเงินและการคลังของประเทศสมาชิก เพื่อรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนของระบบการเงินระหว่างประเทศ

          3.ตั้งธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะฟื้นฟูและการพัฒนา (International Bank for Reconstruction and Development หรือ IBRD)  หรือมีชื่อสั้น ๆ ว่า “ธนาคารโลก” (world bank) เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการฟื้นฟูบูรณะประเทศที่เสียหายจากสงครามและช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศรษฐกิจ[3]

         

          IMF เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ ค.ศ. 1947 โดยมีวัตถุประสงค์ คือ

          1. ส่งเสริมเสถียรภาพและความเป็นระเบียบของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราสกุลต่าง ๆ และป้องกันการแข่งขันในการลดค่าเงิน

          2. ส่งเสริมความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ โดยจัดตั้งข้อตกลงแลกเปลี่ยนทางการเงินระหว่างสมาชิกและสนับสนุนให้เกิดการชำระเงินหลายฝ่าย (multilateral system of payment) และพยายามขจัดการควบคุมแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นอุปสรรคต่อความเจริญเติบโตของการค้าโลก

          3. อำนวยความสะดวกและส่งเสริมการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศอย่างสมดุล ซึ่งจะช่วยพัฒนาการใช้ทรัพยากรวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ

          4. ช่วยแก้ไขปัญหาขาดดุลการชำระเงินของประเทศสมาขิกเพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อระบบการเงินโลก

          5. สร้างความเชื่อมั่นแก่ประเทศสมาขิกและให้ประเทศสมาขิกมีสิทธิใช้ทรัพยากรของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงดุลการชำระเงินให้มีเสถียรภาพ[4]

          อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่สุดของระบบเบรตตัน วู๊ดส์ ได้ล่มลง ใน ค.ศ. 1971 เมื่อสหรัฐฯ ประกาศยกเลิกการผูกอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์กับทองคำ ทำให้ดอลลาร์ลอยตัวและถือเป็นการสิ้นสุดของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และต่อมาเงินสกุลอื่น ๆ ของประเทศร่ำรวยก็ถูกปล่อยให้ลอยตัวคือ เงินปอนด์ลอยตัวในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1972 เงินฟรังก์สวิสลอยตัวในเดือนมกราคม ค.ศ. 1973 ดังนั้น นับตั้งแต่ ค.ศ. 1973 จนถึงปัจจุบัน ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของโลกเป็นระบบลอยตัว (floating exchange rate) เป็นส่วนใหญ่แต่ละประเทศได้ดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนตามความเหมาะสมของเศรษฐกิจการเมืองของตน[5] แต่ถึงกระนั้น IMF ก็ยังคงอยู่ไม่ได้ล้มไป

          ในการดำเนินการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีเงินทุนหรือทรัพยากร (resources) ซึ่งมาจากโควต้าและเงินกู้พิเศษ โดยประเทศสมาชิกต้องนำทุนสำรองส่วนหนึ่งฝากไว้กับ IMF ทุนสำรองนี้จะเป็นทองคำจำนวนหนึ่งและเงินตราของประเทศตนเองจำนวนหนึ่ง ทุนสำรองในรูปเงินฝากกับ IMF นี้ เรียกว่า โควตา ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศนั้น เช่น ขนาดการค้า ขนาดทุนสำรอง และระดับรายได้ประชาชาติ ส่วนเงินกู้พิเศษได้มาจากการกู้ยืมจาก กลุ่ม G-1 ซึ่งเป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 7 ประเทศ ต่อมาใน ค.ศ. 1967 กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้จัดทำสินเชื่อพิเศษเรียกว่า SDR หรือ “สิทธิพิเศษในการถอนเงิน” (Special Drawing Rights) ซึ่งเป็นหน่วยบัญชีสินเชื่อพิเศษมีค่าประดุจเงินตรา ความเชื่อถือใน SDR อยู่บนรากฐานของการยอมรับข้อตกลงระหว่างชาติที่ให้ไว้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ SDR จะเป็นเงินสำรองอีกรูปแบบหนึ่งและเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการขาดดุลชำระเงินของประเทศสมาชิก เดิมค่าของ SDR จะเท่ากับค่าเฉลี่ยของเงินสกุลสำคัญของโลก 16 สกุล แต่ต่อมาได้เทียบค่ากับ “ตะกร้าเงิน” ของสกุลหลักเพียง 1.375 เหรียญสหรัฐฯ ประเทศที่มีปัญหาค่าเงินตกต่ำ อาจกู้ยืมเงิน SDR อยู่ไม่มากนัก เพียง 11.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็นจำนวนน้อยมากเมื่อเทียบกับปัญหาทางการเงินที่หลาย ๆ ประเทศประสบอยู่ ต่อมาในทศวรรษที่ 1990 กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้เข้าไปช่วยเหลือประเทศที่กำลังปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจจากสังคมนิยมมาเป็นทุนนิยม เช่น รัสเซียและสาธารณรัฐที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตโดยได้ให้กู้ยืมเงินไปปรับโครงสร้างเศรษฐกิจประมาณ 39.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ[6]

          ต่อมาใน ค.ศ. 1997 ประเทศกำลังพัฒนาในเอเชียหลายประเทศ เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย ประสบวิกฤตทางการเงินจนต้องลดค่าเงิน วิกฤตนี้ได้ลุกลามขยายตัวไปยังประเทศในเอเชียอื่น ๆ รวมทั้งเกาหลีใต้ ทำให้กองทุนการเงินระหว่างประเทศต้องเข้ามามีบทบาทในการระดมเงินเกือบ 100 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์และฟื้นฟูเศรษฐกิจ กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้กลายเป็น “เจ้าหน้าพิจารณาเงินกู้ของโลก” (World Loan Officer) ซึ่งได้คำแนะนำแก่นายทุนระหว่างชาติว่าควรให้เงินกู้หรือควรเจรจาผ่อนผันการชำระหนี้ หรือไม่ควรให้กู้อีกต่อไป[7]

 

IMF กับข้อวิจารณ์

          แม้ว่ากองทุนการเงินระหว่างประเทศจะแสดงบทบาทสำคัญในการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินโลก แต่ประเทศสมาชิกจำนวนมากได้วิจารณ์ IMF อย่างกว้างขวางทั้งในเวทีการประชุมระหว่างประเทศและในรัฐสภาของประเทศสมาชิก ดังนี้ 

          ข้อวิจารณ์ประการแรก คือ การลงมติตัดสินในปัญหาสำคัญของสภาผู้ว่าการขึ้นอยู่กับปริมาณโควตาหรือสัดส่วนของเงินลงทุนของประเทศตนในกองทุนฯ ส่งผลให้สหรัฐอเมริกา “เสียงดัง” ที่สุด เพราะมีปริมาณถึง ร้อยละ 20 ของเสียงทั้งหมด ส่วนสหราชอาณาจักร (อังกฤษ) ฝรั่งเศส เยอรมนี และญี่ปุ่น แต่ละประเทศมี ร้อยละ 4-7 ประเทศเหล่านี้รวมทั้งซาอุดิอาระเบียซึ่งมีเสียง ร้อยละ 3.4 จะมีเสียงมากกว่าครึ่งหนึ่งของทั้งหมด ในขณะเดียวกันประเทศเกือบ 40 ประเทศในแอฟริกามีคะแนนเสียงรวมกันเพียง ร้อยละ 5 ของทั้งหมด ความแตกต่างเหลื่อมล้ำดังกล่าวทำให้ประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายวิจารณ์ว่ากองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ถูกควบคุมโดยประเทศอุตสาหกรรมและเป็นเครื่องมือของสหรัฐอเมริกาในการครอบงำและควบคุมประเทศกำลังพัฒนาและประเทศยากจน[8]

          ข้อวิจารณ์ที่สอง คือ กองทุนการเงินระหว่างประเทศกำหนดเงือนไขที่ค่อนข้าง “โหด” ทั้งไม่ยุติธรรมและไม่เหมาะสมต่อประเทศที่ขอใช้เงินกู้ของกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ บางมาตรการอาจดีและจำเป็นต่อการแก้ปัญหาแต่หลาย ๆ มาตรการไม่เหมาะสม และยังสร้างปัญหาให้กับรัฐบาลและประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนยากจน ทั้งนี้เงื่อนไขของกองทุนการเงินระหว่างประเทศที่ถูกวิจารณ์บ่อย ๆ เช่น เรียกร้องให้รัฐบาลของประเทศที่กำลังพัฒนาลดบทบาทในการแทรกแซงทางเศรษฐกิจทั้งในภาคการผลิตและการวางแผน โดยให้เป็นไปตามกลไกตลาดอย่างเสรีและให้มีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นของเอกชนหรือเรียกร้องให้กับประเทศที่กำลังพัฒนาเปิดระบบเศรษฐกิจให้เสรีมากขึ้นต่อการลงทุนของต่างชาติและต่อการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งดูเหมือนว่าประโยชน์ส่วนใหญ่จะตกกับระบบทุนนิยมโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศอุตสาหกรรมทุนนิยมตะวันตก แม้ว่ากองทุนจะตระหนักถึงความยากลำบากที่จำเป็นในการปรับโครสร้างเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว แต่ในความเป็นจริงมาตรการที่เข้มงวดเหล่านี้อาจเพื่อให้สามารถกู้คืนเงินกู้และจ่ายคือหนี้สินต่าง ๆ ให้กับธนาคารของประเทศอุตสาหกรรม[9]

          นอกจากนั้นกองทุนการเงินระหว่างประเทศมักกดดันให้มีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ดังเช่นที่ปรากฏในการจัดการวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ เช่น เม็กซิโก (ค.ศ.1995) ไทย อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้ (ค.ศ. 1997) ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มพูนความสามารถของรัฐบาลในการหารายได้มาคืนเงินกู้ยืมมากกว่าความยากลำบากของประชาชน ทำให้เกิดผลกระทบทางสังคม เช่น ลดการนำเข้า ระงับการซื้อเงินค่าจ้าง เพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลดรายจ่ายของรัฐบาลในด้านต่าง ๆ ลง แม้ว่ามาตรการเหล่านี้จะเป็นมาตรการที่อาจถูกต้องในสายตา IMF ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ แต่ในทางปฏิบัติแล้วมาตรการเหล่านี้มีจุดอ่อนหลายประการและนำไปสู่ความยากลำบากทางสังคมและความไร้เสถียรภาพทางการเมืองของประเทศผู้ขอความช่วยเหลือ ยังเป็นลดระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศเหล่านั้นอีกด้วย เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอาจลดลง อีกทั้งรัฐบาลถูกบังคับให้ตัดงบประมาณด้านบริการต่าง ๆ เพื่อจัดงบประมาณให้สมดุล การแช่แข็งค่าจ้างแรงงานสร้างปัญหากับสหภาพแรงงานและกลุ่มพลังงานทางการเมืองได้และส่งต่อเสถียรภาพของการปกครองแบบประชาธิปไตยที่กำลังพัฒนาในประเทศเหล่านี้ การกำหนดเงื่อนไขเหล่านี้ยังถูกวิจารณ์ว่าเป็นการละเมิดอธิปไตยและแทรกแซงกระบวนการกำหนดนโยบายของประเทศที่กำลังพัฒนาเหล่านี้อีกด้วย[10]

          ปัจจุบัน IMF ประสบกับความท้าทายจากสถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศในปัจจุบัน สถานการณ์แรก คือ สงครามระหว่างยูเครนและรัสเซีย ซึ่งยูเครนเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิก IMF ทำให้ IMF ได้อนุมัติเงินทุนฉุกเฉิน จำนวน 1,400 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อช่วยเหลือยูเครน โดยความช่วยเหลือครั้งนี้จึงมีเงื่อนไขว่ายูเครนจะต้องร่วมกับ IMF เพื่อออกแบบโครงการเศรษฐกิจที่เหมาะสมโดยเน้นที่การฟื้นฟูและการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจภายหลังการสงบลงของสงคราม[11]  สถานการณ์ที่สอง คือ เศรษฐกิจโลกยังคงอยู่ในภาวะอ่อนแอจากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สถานการณ์ที่สาม คือ สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศ G7 ได้ยืนหยัดช่วยเหลือยูเครนและต่อต้านรัสเซียซึ่งเป็นประเทศคู่สงครามของยูเครน โดยการออกมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซีย ทำให้สถานการณ์ในระบบเศรษฐกิจโลกอยู่ในภาวะที่ตึงเครียดผันผวนจนคาดเดาอนาคตได้ยากอย่างยิ่ง   

 

อ้างอิง

[1]ธนาคารแห่งประเทศไทย. “กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF).” สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2565, https://www.bot.or.th/th/our-roles/international-cooperation/interorg/imf.html 

[2]U.S. Department of State, n.d. The Bretton Woods Conference, 1944. Retrieved May 7, 2022, from https://2001-2009.state.gov/r/pa/ho/time/wwii/98681.htm 

[3] Benjamin J. Cohen, “A Brief History of International Monetary Relations,” in ,” in  International Political Economy: Perspectives on Global Power and Wealth, Jeffry A. Frieden and David A. Lake, eds. (London: Routledge, 1995), pp. 218-223.

[4] กองทุนการเงินระหว่างประเทศ. กองทุนการเงินระหว่างประเทศคืออะไร(ฉบับภาษาไทย). หน้า 11.  สืบค้นวันที่ 22 พฤษภาคม 2565.   https://www.imf.org/external/pubs/ft/exrp/what/tha/whatt.pdf

[5] Benjamin J. Cohen, “The Triad and Unholy Trinity: Problems of International Monetary Coopertion,” in ,” in  International Political Economy: Perspectives on Global Power and Wealth, Jeffry A. Frieden and David A. Lake, eds. (London: Routledge, 1995), pp. 256-257

[6] จุลชีพ ชินวรรโณ, 2544, สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, หน้า 81-85.

[7] จุลชีพ ชินวรรโณ, 2544, สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, หน้า 85-90.

[8] William N. Gianaris, 1990, “Weighted Voting in the International Monetary Fund and the World Bank,” Fordham International Law Journal. Volume 14, Issue 4, pages 910-945.   

[9] Valentin Lang, 2021, “The economics of the democratic deficit: The effect of IMF programs on inequality.” The Review of International Organizations. volume 16, pages 599–623. 

[10]จุลชีพ ชินวรรโณ, 2544, สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, หน้า 116-121. 

[11] ประชาชาติธุรกิจ, “IMF อนุมัติเงิน 1,400 ล้านเหรียญ ช่วยยูเครน.” Retrieved May 7, 2022, from  https://www.prachachat.net/world-news/news-883369