ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517"
สร้างหน้าใหม่: {{รอผู้ทรง}} ---- '''ผู้เรียบเรียง''' นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ แ... |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ | |||
---- | ---- | ||
==ที่มา== | ==ที่มา== | ||
ผลจากการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516]] ประการหนึ่งก็คือการประกาศใช้[[รัฐธรรนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517|รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2517]] ซึ่งได้วางหลักการใหม่เกี่ยวกับ[[การเลือกตั้ง]]และ[[พรรคการเมือง]]ไว้ก็คือกำหนดให้[[สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง|ผู้สมัครรับเลือกตั้ง]]ทุกคนต้องสังกัดพรรคการเมือง (มาตรา 117 {3}) และกำหนดคุณสมบัติของ[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ให้ต้องมีพรรคสังกัด (มาตรา 127 {7}และ{8}) ซึ่งเป็นการสรุปบทเรียนจากพฤติกรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สมัครเข้ามาโดยไม่สังกัดพรรค (เกียรติฟ้า เลาหะพรสวรรค์ , 2541 : หน้า 90) | ผลจากการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516]] ประการหนึ่งก็คือการประกาศใช้[[รัฐธรรนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517|รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2517]] ซึ่งได้วางหลักการใหม่เกี่ยวกับ[[การเลือกตั้ง]]และ[[พรรคการเมือง]]ไว้ก็คือกำหนดให้[[สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง|ผู้สมัครรับเลือกตั้ง]]ทุกคนต้องสังกัดพรรคการเมือง (มาตรา 117 {3}) และกำหนดคุณสมบัติของ[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ให้ต้องมีพรรคสังกัด (มาตรา 127 {7}และ{8}) ซึ่งเป็นการสรุปบทเรียนจากพฤติกรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สมัครเข้ามาโดยไม่สังกัดพรรค (เกียรติฟ้า เลาหะพรสวรรค์ , 2541 : หน้า 90) | ||
==สาระสำคัญ== | ==สาระสำคัญ== | ||
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติพรรคการเมืองฉบับนี้ คล้ายคลึงกับพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511 อยู่มาก จะมีแตกต่างกันไปก็ตรงรายละเอียดปลีกย่อย เช่น การเพิ่มจำนวนสมาชิกพรรคการเมืองชุดเริ่มจัดตั้งก่อนขอจดทะเบียนต้องมีไม่น้อยกว่า 1,000 คน (มาตรา 7) และพรรคการเมืองไม่ต้องถูกยุบเลิกพรรคแม้สมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งเลยก็ตาม | สาระสำคัญของพระราชบัญญัติพรรคการเมืองฉบับนี้ คล้ายคลึงกับพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511 อยู่มาก จะมีแตกต่างกันไปก็ตรงรายละเอียดปลีกย่อย เช่น การเพิ่มจำนวนสมาชิกพรรคการเมืองชุดเริ่มจัดตั้งก่อนขอจดทะเบียนต้องมีไม่น้อยกว่า 1,000 คน (มาตรา 7) และพรรคการเมืองไม่ต้องถูกยุบเลิกพรรคแม้สมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งเลยก็ตาม | ||
==การยกเลิก== | ==การยกเลิก== | ||
พระราชบัญญัติฉบับนี้ถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | พระราชบัญญัติฉบับนี้ถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | ||
==ดูเพิ่มเติม== | |||
*[[:category:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมือง|รายการกฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง]] | |||
*[[สื่อ:พระราชบัญญัตืพรรคการเมือง_2517.pdf|พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517]] (PDF File Download) | |||
*[[: | |||
*[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516]] | *[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:10, 24 มิถุนายน 2554
ผู้เรียบเรียง นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ที่มา
ผลจากการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ประการหนึ่งก็คือการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2517 ซึ่งได้วางหลักการใหม่เกี่ยวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมืองไว้ก็คือกำหนดให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งทุกคนต้องสังกัดพรรคการเมือง (มาตรา 117 {3}) และกำหนดคุณสมบัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้ต้องมีพรรคสังกัด (มาตรา 127 {7}และ{8}) ซึ่งเป็นการสรุปบทเรียนจากพฤติกรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สมัครเข้ามาโดยไม่สังกัดพรรค (เกียรติฟ้า เลาหะพรสวรรค์ , 2541 : หน้า 90)
สาระสำคัญ
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติพรรคการเมืองฉบับนี้ คล้ายคลึงกับพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511 อยู่มาก จะมีแตกต่างกันไปก็ตรงรายละเอียดปลีกย่อย เช่น การเพิ่มจำนวนสมาชิกพรรคการเมืองชุดเริ่มจัดตั้งก่อนขอจดทะเบียนต้องมีไม่น้อยกว่า 1,000 คน (มาตรา 7) และพรรคการเมืองไม่ต้องถูกยุบเลิกพรรคแม้สมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งเลยก็ตาม
การยกเลิก
พระราชบัญญัติฉบับนี้ถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ดูเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517 (PDF File Download)