ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทค..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข
'''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' เอกวีร์ มีสุข


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ '''รศ. ดร. นิยม รัฐอมฤต  
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต  


 
 


'''ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (''''''plurality system'''''')'''
'''<span style="font-size:x-large;">ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (plurality system)</span>'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การทำความเข้าใจความหมายของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย แบ่งการอธิบายออกเป็น 5 ส่วน คือ หนึ่ง การอธิบายนิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย และสอง การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย ส่วนที่เหลือกจะจำแนกและอธิบายรายละเอียดระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ หนึ่ง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน สอง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และสาม ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การทำความเข้าใจความหมายของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย แบ่งการอธิบายออกเป็น 5 ส่วน คือ หนึ่ง การอธิบายนิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย และสอง การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย ส่วนที่เหลือจะจำแนกและอธิบายรายละเอียดระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ หนึ่ง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน สอง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และสาม ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''นิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย'''</span> =
 
'''นิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย'''
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (simple majority) หรือระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) คือ ระบบการเลือกตั้งพื้นฐานและเรียบง่ายที่สุดที่กำหนดให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าผู้สมัครคนอื่นที่แข่งขันกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง[[#_ftn1|[1]]] ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A ให้มีผู้แทนได้หนึ่งคน ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดอันดับแรกถือเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายไม่ได้กำหนดจำนวน/ร้อยละของคะแนนเป็นเงื่อนไขในการชนะการเลือกตั้ง แตกต่างจากระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากเด็ดขาด (majority system) ที่กำหนดเงื่อนไขให้ผู้สมัครต้องได้คะแนนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่งหรือมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด[[#_ftn2|[2]]] ข้อดีของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย คือ เป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถตัดสินใจได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นระบบที่สะดวกและต้นทุนต่ำในการจัดการเลือกตั้งมากกว่าระบบอื่น[[#_ftn3|[3]]]


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (simple majority) หรือระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) คือ ระบบการเลือกตั้งพื้นฐานและเรียบง่ายที่สุดที่กำหนดให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าผู้สมัครคนอื่นที่แข่งขันกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง[[#_ftn1|[1]]] ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A ให้มีผู้แทนได้หนึ่งคน ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดอันดับแรกถือเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายไม่ได้กำหนด จำนวน/ร้อยละ ของคะแนนเป็นเงื่อนไขในการชนะการเลือกตั้ง แตกต่างจากระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากเด็ดขาด (majority system) ที่กำหนดเงื่อนไขให้ผู้สมัครต้องได้คะแนนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่งหรือมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด[[#_ftn2|[2]]] ข้อดีของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย คือ เป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถตัดสินใจได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นระบบที่สะดวกและต้นทุนต่ำในการจัดการเลือกตั้งมากกว่าระบบอื่น[[#_ftn3|[3]]]


'''การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย'''
= <span style="font-size:x-large;">'''การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย'''</span> =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในการจำแนกประเภทของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากแบบง่ายมีนักวิชาการได้จำแนกได้หลายลักษณะและให้รายละเอียดแตกต่างกัน เช่น สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2561) ได้จำแนกโดยเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) แบ่งออกเป็นห้าประเภท[[#_ftn4|[4]]] ขณะที่อรรถสิทธิ พานแก้ว (2564) ได้จำแนกโดยเรียกชื่อว่าระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงข้างมาก (Majoritarian system) แบ่งออกเป็นสามประเภท[[#_ftn5|[5]]] ส่วนงานของ International IDEA (2005) เรียกว่าระบบคะแนนนำ (Plurality System) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท[[#_ftn6|[6]]] ส่วนของ FairVote (2021) เรียกว่าระบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (Plurality System) แบ่งเป็น 2 ประเภท[[#_ftn7|[7]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในการจำแนกประเภทของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากแบบง่ายมีนักวิชาการได้จำแนกได้หลายลักษณะและให้รายละเอียดแตกต่างกัน เช่น สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2561) ได้จำแนกโดยเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) แบ่งออกเป็นห้าประเภท[[#_ftn4|[4]]] ขณะที่อรรถสิทธิ พานแก้ว (2564) ได้จำแนกโดยเรียกชื่อว่าระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงข้างมาก (Majoritarian system) แบ่งออกเป็นสามประเภท[[#_ftn5|[5]]] ส่วนงานของ International IDEA (2005) เรียกว่าระบบคะแนนนำ (Plurality System) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท[[#_ftn6|[6]]] ส่วนของ FairVote (2021) เรียกว่าระบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (Plurality System) แบ่งเป็น 2 ประเภท[[#_ftn7|[7]]]
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 20:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับการจำแนกในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 ระบบเลือกตั้งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้[[#_ftn8|[8]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับการจำแนกในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 ระบบเลือกตั้งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้[[#_ftn8|[8]]]


&nbsp;
== &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<span style="font-size:x-large;">'''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน'''</span> ==
 
#'''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน'''  


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน (single-member districts/constituencies: SMD) หรือในบางงานเขียนมีชื่อเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) ซึ่งใช้เรียกในประเทศอังกฤษและแคนาดา หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่าย หนึ่งเขตหนึ่งคน&nbsp; (Single-member district plurality voting: SMDP) ที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกา[[#_ftn9|[9]]] ถือเป็นระบบการเลือกตั้งที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน และนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากมีความง่ายและสะดวกในการจัดการเลือกตั้ง การลงคะแนน และการนับคะแนน เป็นระบบที่มีต้นกำเนิดในประเทศอังกฤษแล้วแพร่ขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ที่เคยเป็นอาณานิคม เช่น แคนาดา อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ระบบดังกล่าวยังเป็นที่นิยมในประเทศภูมิภาคละตินอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาด้วย[[#_ftn10|[10]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน (single-member districts/constituencies: SMD) หรือในบางงานเขียนมีชื่อเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) ซึ่งใช้เรียกในประเทศอังกฤษและแคนาดา หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่าย หนึ่งเขตหนึ่งคน&nbsp;(Single-member district plurality voting: SMDP) ที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกา[[#_ftn9|[9]]] ถือเป็นระบบการเลือกตั้งที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน และนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากมีความง่ายและสะดวกในการจัดการเลือกตั้ง การลงคะแนน และการนับคะแนน เป็นระบบที่มีต้นกำเนิดในประเทศอังกฤษแล้วแพร่ขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ที่เคยเป็นอาณานิคม เช่น แคนาดา อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ระบบดังกล่าวยังเป็นที่นิยมในประเทศภูมิภาคละตินอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาด้วย[[#_ftn10|[10]]]


สำหรับประเทศไทยได้ใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2540 พ.ศ.2550[[#_ftn11|[11]]] และพ.ศ.2560 โดยใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตในการเลือกตั้งพ.ศ.2544 พ.ศ.2548 พ.ศ.2554 และพ.ศ.2562 คู่ขนานไปกับการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตไว้แตกต่างกัน ดังนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับประเทศไทยได้ใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550[[#_ftn11|[11]]] และ พ.ศ. 2560 โดยใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2562 คู่ขนานไปกับการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตไว้แตกต่างกัน ดังนี้


&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 1''' ''':''' จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ</p>
'''ตารางที่ ''''''1: จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| style="width:94px;" |
| style="width: 150px; text-align: center;" |  
'''สมาชิกสภา'''
'''สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร'''
 
'''ผู้แทนราษฎร'''
 
| style="width:170px;" |  
'''รัฐธรรมนูญพ.ศ.''''''2540'''


| style="width:170px;" |  
| style="width: 170px; text-align: center;" |  
'''รัฐธรรมนูญพ.ศ.''''''2550'''
'''รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540'''


'''(แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ.''''''2554)'''
| style="width: 200px;" |
'''รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550&nbsp;'''(แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2554)


| style="width:166px;" |  
| style="width: 166px; text-align: center;" |  
'''รัฐธรรมนูญพ.ศ.''''''2560'''
'''รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560'''


|-
|-
| style="width:94px;" |  
| style="width:94px;" | <p style="text-align: center;">'''แบ่งเขต'''</p>
'''แบ่งเขต'''
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">400 คน</p>
 
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">375 คน</p>
| style="width:170px;" |  
| style="width:166px;" | <p style="text-align: center;">350 คน</p>
400 คน
 
| style="width:170px;" |  
375 คน
 
| style="width:166px;" |  
350 คน
 
|-
|-
| style="width:94px;" |  
| style="width:94px;" | <p style="text-align: center;">'''บัญชีรายชื่อ'''</p>
'''บัญชีรายชื่อ'''
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">100 คน</p>
 
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">125 คน</p>
| style="width:170px;" |  
| style="width:166px;" | <p style="text-align: center;">150 คน</p>
100 คน
 
| style="width:170px;" |  
125 คน
 
| style="width:166px;" |  
150 คน
 
|-
|-
| style="width:94px;" |  
| style="width:94px;" | <p style="text-align: center;">'''รวม'''</p>
'''รวม'''
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">500 คน</p>
 
| style="width:170px;" | <p style="text-align: center;">500 คน</p>
| style="width:170px;" |  
| style="width:166px;" | <p style="text-align: center;">500 คน</p>
500 คน
 
| style="width:170px;" |  
500 คน
 
| style="width:166px;" |  
500 คน
 
|}
|}
 
<p style="text-align: center;">'''ที่มา&nbsp;:''' รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560</p> <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
'''ที่มา: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.''''''2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2560'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน จะกำหนดให้มีเขตเลือกตั้งที่ให้เลือกผู้แทนได้ 1 คน โดยใช้ระบบเสียงข้างมากอย่างง่ายโดยเน้นใช้คะแนนเสียงของผู้ที่ได้คะแนนเสียงมากที่สุดในบรรดาผู้สมัครที่ลงแข่งขันในเขตเลือกตั้ง หากใครได้คะแนนมากที่สุดก็ถือเป็นผู้ชนะโดยไม่จำเป็นต้องได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด[[#_ftn12|[12]]] จนเรียกได้ว่าผู้ชนะอาจจะชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเพียงคะแนนเดียวก็ได้[[#_ftn13|[13]]] โดยในบัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งแล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้เพียงคนเดียว จากนั้นจึงรวบรวมบัตรเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนทั้งหมดเพื่อหาผู้สมัครที่ได้คะแนนมากที่สุด[[#_ftn14|[14]]] ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A ผู้สมัครจากพรรคโดราเอมอนได้คะแนน ร้อยละ 60 จึงชนะเลือกตั้ง เช่นเดียวกับเขตเลือกตั้ง C ผู้สมัครจากพรรคอเวนเจอร์ได้คะแนนเพียง ร้อยละ 30 แต่เนื่องจากเป็นผู้ได้คะแนนสูงสุดจึงชนะการเลือกตั้ง ถึงแม้ว่าผู้สมัครจากพรรคอื่นจะได้คะแนนใกล้เคียงกันก็ตาม ดังที่ปรากฏในตารางที่ 2
 
&nbsp;
 
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน จะกำหนดให้มีเขตเลือกตั้งที่ให้เลือกผู้แทนได้ 1 คนโดยใช้ระบบเสียงข้างมากอย่างง่ายโดยเน้นใช้คะแนนเสียงของผู้ที่ได้คะแนนเสียงมากที่สุดในบรรดาผู้สมัครที่ลงแข่งขันในเขตเลือกตั้ง หากใครได้คะแนนมากที่สุดก็ถือเป็นผู้ชนะโดยไม่จำเป็นต้องได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด[[#_ftn12|[12]]] จนเรียกได้ว่าผู้ชนะอาจจะชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเพียงคะแนนเดียวก็ได้[[#_ftn13|[13]]] โดยในบัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งแล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้เพียงคนเดียว จากนั้นจึงรวบรวมบัตรเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนทั้งหมดเพื่อหาผู้สมัครที่ได้คะแนนมากที่สุด[[#_ftn14|[14]]] ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A ผู้สมัครจากพรรคโดราเอมอนได้คะแนนร้อยละ 60 จึงชนะเลือกตั้ง เช่นเดียวกับเขตเลือกตั้ง C ผู้สมัครจากพรรคอเวนเจอร์ได้คะแนนเพียงร้อยละ 30 แต่เนื่องจากเป็นผู้ได้คะแนนสูงสุดจึงชนะการเลือกตั้ง ถึงแม้ว่าผู้สมัครจากพรรคอื่นจะได้คะแนนใกล้เคียงกันก็ตาม ดังที่ปรากฏในตารางที่ 2


&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''รูปภาพที่ 1&nbsp;:''' บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน</p>
'''รูปภาพที่ ''''''1: บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| colspan="3" style="width:601px;" |  
| colspan="3" style="width: 601px; text-align: center;" |  
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ ''''''A'''
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A'''


'''ให้ทำเครื่องหมาย ''''''X เลือกผู้สมัครเพียงคนเดียว'''
'''ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครเพียงคนเดียว'''


|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">'''พรรค'''</p>
'''พรรค'''
| style="width: 300px;" | <p style="text-align: center;">'''ชื่อผู้สมัคร'''</p>
 
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''เครื่องหมาย'''</p>
| style="width:376px;" |  
'''ชื่อผู้สมัคร'''
 
| style="width:83px;" |  
'''เครื่องหมาย'''
 
|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p>
พรรคโดราเอมอน
| style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นายโนบิ โนบิตะ</p>
 
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p>
| style="width:376px;" |  
นายโนบิ โนบิตะ
 
| style="width:83px;" |  
X
 
|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์&nbsp;&nbsp;</p>
พรรคไจแอนด์&nbsp;&nbsp;
| style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ</p>
 
| style="width:376px;" |  
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ
 
| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" |  
&nbsp;
&nbsp;


|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p>
พรรคอเวนเจอร์
| style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นางสาวนาตาชา โรมานอฟ</p>
 
| style="width:376px;" |  
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ
 
| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" |  
&nbsp;
&nbsp;


|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเทเลทับบี้</p>
พรรคเทเลทับบี้
| style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">นางสาวลาล่า</p>
 
| style="width:376px;" |  
นางสาวลาล่า
 
| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" |  
&nbsp;
&nbsp;


|}
|}
 
<p style="text-align: center;">'''ที่มา&nbsp;:''' จำลองโดยผู้เขียน</p> <p style="text-align: center;">&nbsp;</p> <p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 2''' ''':''' ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน</p>
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:601px;" width="751"
 
'''ตารางที่ ''''''2: ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน'''
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:601px;" width="751"
|-
|-
| style="width:104px;height:45px;" |  
| style="width: 104px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''เขตเลือกตั้ง'''
'''เขตเลือกตั้ง'''


| style="width:94px;height:45px;" |  
| style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรค'''
พรรค


'''โดราเอมอน'''
โดราเอมอน


| style="width:94px;height:45px;" |  
| style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรค'''
พรรค


'''ไจแอนด์'''
ไจแอนด์


| style="width:94px;height:45px;" |  
| style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรค'''
พรรค


'''อเวนเจอร์'''
อเวนเจอร์


| style="width:94px;height:45px;" |  
| style="width: 94px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรค'''
พรรค


'''เทเลทับบี้'''
เทเลทับบี้


| style="width:119px;height:45px;" |  
| style="width: 119px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''ผู้ชนะ'''
'''ผู้ชนะ'''


|-
|-
| style="width:104px;height:18px;" |  
| style="width:104px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">'''A'''</p>
'''A'''
| style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">'''60'''</p>
 
| style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">20</p>
| style="width:94px;height:18px;" |  
| style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">15</p>
'''60'''
| style="width:94px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">5</p>
 
| style="width:119px;height:18px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p>
| style="width:94px;height:18px;" |  
20
 
| style="width:94px;height:18px;" |  
15
 
| style="width:94px;height:18px;" |  
5
 
| style="width:119px;height:18px;" |  
'''พรรคโดราเอมอน'''
 
|-
|-
| style="width:104px;height:6px;" |  
| style="width:104px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">'''B'''</p>
'''B'''
| style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">30</p>
 
| style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">'''40'''</p>
| style="width:94px;height:6px;" |  
| style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">20</p>
30
| style="width:94px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">10</p>
 
| style="width:119px;height:6px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์</p>
| style="width:94px;height:6px;" |  
'''40'''
 
| style="width:94px;height:6px;" |  
20
 
| style="width:94px;height:6px;" |  
10
 
| style="width:119px;height:6px;" |  
'''พรรคไจแอนด์'''
 
|-
|-
| style="width:104px;height:5px;" |  
| style="width:104px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">'''C'''</p>
'''C'''
| style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">25</p>
 
| style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">25</p>
| style="width:94px;height:5px;" |  
| style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">'''30'''</p>
25
| style="width:94px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">20</p>
 
| style="width:119px;height:5px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p>
| style="width:94px;height:5px;" |  
25
 
| style="width:94px;height:5px;" |  
'''30'''
 
| style="width:94px;height:5px;" |  
20
 
| style="width:119px;height:5px;" |  
'''พรรคอเวนเจอร์'''
 
|}
|}
<p style="text-align: center;">'''ที่มา''' ''':''' จำลองโดยผู้เขียน</p> <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โดยข้อดีของระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน คือ ผลการเลือกตั้งและผู้แทนที่ได้สามารถสะท้อนเสียงและความต้องการของประชาชนในเขตเลือกตั้งให้เข้าไปทำงานแทนตนเองในสภา[[#_ftn15|[15]]] แต่มีข้อเสียที่ผลการเลือกตั้งบางครั้งอาจไม่สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างแท้จริง หากผู้ลงคะแนนเสียงกระจัดกระจายและผู้ชนะอันดับหนึ่งได้คะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งซึ่งน้อยกว่าคะแนนเสียงรวมของผู้แพ้ทั้งหมดจนเกิดปรากฎการณ์ '''“ได้ที่นั่งในสภาเป็นสัดส่วนที่มากกว่าสัดส่วนของคะแนนเสียงโดยรวมที่ได้รับ”''' รวมถึงส่งผลให้เกิดการกีดกันพรรคขนาดเล็กในการแข่งขันการเลือกตั้งเพราะระบบนี้มีแนวโน้มส่งเสริมให้เกิดระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) ที่มีขนาดใหญ่ในการแข่งขัน ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เขตผู้มีอิทธิพลในภูมิภาคหากพื้นที่ดังกล่าวมีพรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีอิทธิพลสูงก็จะทำให้ง่ายที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มดังกล่าวสามารถชนะการเลือกตั้ง หรือทำให้เกิดความพยายามในการกำหนดเขตเลือกตั้งที่เอื้อให้พรรคการเมืองหรือกลุ่มบางกลุ่มได้รับประโยชน์ ให้เขตเลือกตั้งครอบคลุมพื้นที่ที่เป็ขเขตอิทธิพลหรือมีผู้คนที่สนับสนุนพรรคการเมือง หรือที่เรียกว่าการแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ (gerrymandering)[[#_ftn16|[16]]]


'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน'''
== &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<span style="font-size:x-large;">'''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน'''</span> ==


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน (multi-member district/constituencies: MMD) หรือ ระบบคะแนนเสียงเป็นพวง (Block Vote: BV) หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่ายหนึ่งเขตหลายคน (At-Large Voting) เป็นระบบที่ใช้ในบางประเทศแต่มีจำนวนไม่มากนัก อาทิ เกิร์นซีย์ คูเวต ลาว เลบานอน หมู่เกาะมัลดีฟส์ ปาเลสไตน์ ซีเรีย ตองกา และตูวาลู รวมถึงเคยใช้ในจอร์แดน มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย[[#_ftn17|[17]]] โดยประเทศไทยใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนหรือเรียกว่าระบบ '''“รวมเขตเรียงเบอร์”''' หรือ '''“เขตเดียวหลายคน”''' ในการเลือกตั้งก่อนการมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก่อนที่จะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพื่อใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนใน พ.ศ. 2554


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โดยข้อดีของระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน คือ ผลการเลือกตั้งและผู้แทนที่ได้สามารถสะท้อนเสียงและความต้องการของประชาชนในเขตเลือกตั้งให้เข้าไปทำงานแทนตนเองในสภา[[#_ftn15|[15]]] แต่มีข้อเสียที่ผลการเลือกตั้งบางครั้งอาจไม่สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างแท้จริง หากผู้ลงคะแนนเสียงกระจัดกระจายและผู้ชนะอันดับหนึ่งได้คะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งซึ่งน้อยกว่าคะแนนเสียงรวมของผู้แพ้ทั้งหมดจนเกิดปรากฎการณ์ “ได้ที่นั่งในสภาเป็นสัดส่วนที่มากกว่าสัดส่วนของคะแนนเสียงโดยรวมที่ได้รับ” รวมถึงส่งผลให้เกิดการกีดกันพรรคขนาดเล็กในการแข่งขันการเลือกตั้งเพราะระบบนี้มีแนวโน้มส่งเสริมให้เกิดระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) ที่มีขนาดใหญ่ในการแข่งขัน ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เขตผู้มีอิทธิพลในภูมิภาคหากพื้นที่ดังกล่าวมีพรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีอิทธิพลสูงก็จะทำให้ง่ายที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มดังกล่าวสามารถชนะการเลือกตั้ง หรือทำให้เกิดความพยายามในการกำหนดเขตเลือกตั้งที่เอื้อให้พรรคการเมืองหรือกลุ่มบางกลุ่มได้รับประโยชน์ ให้เขตเลือกตั้งครอบคลุมพื้นที่ที่เป็ขเขตอิทธิพลหรือมีผู้คนที่สนับสนุนพรรคการเมือง หรือที่เรียกว่าการแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ (gerrymandering)[[#_ftn16|[16]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบดังกล่าวจะกำหนดเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้หลายคนตามที่กำหนด (อาทิ บางเขตเลือกตั้งอาจมีผู้แทนได้ 2 คน หรือมีผู้แทนได้ 3 คน เป็นต้น) พรรคการเมืองจะจัดทำรายชื่อผู้แทนของพรรคการเมืองตามจำนวนของผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งกำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองแต่ละพรรคก็จะส่งผู้สมัครพรรคละ 3 คนในเขตเลือกตั้ง) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้หลายคนแต่ไม่เกินจำนวนของผู้แทนหรือที่นั่งที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้แทนในบัตรเลือกตั้งได้ไม่เกิน 3 คน) โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสามลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn18|[18]]] ทำให้บัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองส่งไม่เกินจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง&nbsp;แล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้ไม่เกินจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้ง แต่การเลือกไม่จำเป็นต้องเลือกผู้แทนจากพรรคการเมืองเดียวกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A มีผู้แทนได้ 2 คน ได้ผู้ชนะ คือ สตีฟ โรเจอร์จากพรรคอเวนเจอร์ได้ 15,000 คะแนน และชิซึกะจากพรรคโดราเอมอนได้ 14,000 คะแนน


&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''รูปภาพที่ 2''' ''':''' บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน</p>
#'''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน (multi-member district/constituencies: MMD) หรือ ระบบคะแนนเสียงเป็นพวง (Block Vote: BV) หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่ายหนึ่งเขตหลายคน (At-Large Voting) เป็นระบบที่ใช้ในบางประเทศแต่มีจำนวนไม่มากนัก อาทิ เกิร์นซีย์ คูเวต ลาว เลบานอน หมู่เกาะมัลดีฟส์ ปาเลสไตน์ ซีเรีย ตองกา และตูวาลู รวมถึงเคยใช้ในจอร์แดน มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย[[#_ftn17|[17]]] โดยประเทศไทยใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนหรือเรียกว่าระบบ “รวมเขตเรียงเบอร์” หรือ “เขตเดียวหลายคน” ในการเลือกตั้งก่อนการมีรัฐธรรมนูญพ.ศ.2540 และในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญพ.ศ.2550 ก่อนที่จะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพื่อใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนในพ.ศ.2554
 
ระบบดังกล่าวจะกำหนดเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้หลายคนตามที่กำหนด (อาทิ บางเขตเลือกตั้งอาจมีผู้แทนได้ 2 คน หรือมีผู้แทนได้ 3 คน เป็นต้น) พรรคการเมืองจะจัดทำรายชื่อผู้แทนของพรรคการเมืองตามจำนวนของผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งกำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองแต่ละพรรคก็จะส่งผู้สมัครพรรคละ 3 คนในเขตเลือกตั้ง) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้หลายคนแต่ไม่เกินจำนวนของผู้แทนหรือที่นั่งที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้แทนในบัตรเลือกตั้งได้ไม่เกิน 3 คน) โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสามลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn18|[18]]] ทำให้บัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองส่งไม่เกินจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง&nbsp; แล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้ไม่เกินจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้ง แต่การเลือกไม่จำเป็นต้องเลือกผู้แทนจากพรรคการเมืองเดียวกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A มีผู้แทนได้ 2 คน ได้ผู้ชนะ คือ สตีฟ โรเจอร์จากพรรคอเวนเจอร์ได้ 15,000 คะแนน และชิซึกะจากพรรคโดราเอมอนได้ 14,000 คะแนน
 
&nbsp;
 
'''รูปภาพที่ ''''''2: บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน'''
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| colspan="3" style="width:601px;" |  
| colspan="3" style="width: 601px; text-align: center;" |  
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ ''''''A จำนวนผู้แทน 2 คน'''
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 2 คน'''


'''ให้ทำเครื่องหมาย ''''''X เลือกผู้สมัครจำนวน 2 คนเดียว'''
'''ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจำนวน 2 คนเดียว'''


|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">'''พรรค'''</p>
'''พรรค'''
| style="width:376px;" | <p style="text-align: center;">'''ชื่อผู้สมัคร'''</p>
 
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''เครื่องหมาย'''</p>
| style="width:376px;" |  
'''ชื่อผู้สมัคร'''
 
| style="width:83px;" |  
'''เครื่องหมาย'''
 
|-
|-
| rowspan="2" style="width:141px;" |  
| rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p>
'''พรรคโดราเอมอน'''
 
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นายโดราเอม่อน
นายโดราเอม่อน


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;
 
|-
|-
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p>
X
 
|-
|-
| rowspan="2" style="width:141px;" |  
| rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์</p>
'''พรรคไจแอนด์'''
 
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นายโกดะ ทาเคชิ
นายโกดะ ทาเคชิ


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;
 
|-
|-
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ
นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;
 
|-
|-
| rowspan="2" style="width:141px;" |  
| rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p>
'''พรรคอเวนเจอร์'''
 
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นายสตีฟ โรเจอร์
นายสตีฟ โรเจอร์


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p>
X
 
|-
|-
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ
นางสาวนาตาชา โรมานอฟ


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;
 
|-
|-
| rowspan="2" style="width:141px;" |  
| rowspan="2" style="width:141px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเทเลทับบี้</p>
'''พรรคเทเลทับบี้'''
 
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นางสาวลาล่า
นางสาวลาล่า


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;
 
|-
|-
| style="width:376px;" |  
| style="width:376px;" |  
นายโพ
นายโพ


| style="width:83px;" |  
| style="width:83px;" | <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;
 
|}
|}
 
<p style="text-align: center;">'''ที่มา''' ''':''' จำลองโดยผู้เขียน</p>
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน'''
 
&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 2''' ''':''' ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน</p>
'''ตารางที่ 2: ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| rowspan="2" style="width:122px;height:45px;" |  
| rowspan="2" style="width: 122px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''เขตเลือกตั้ง'''
'''เขตเลือกตั้ง'''


| colspan="2" style="width:121px;height:45px;" |  
| colspan="2" style="width: 121px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคโดราเอมอน'''
พรรคโดราเอมอน


| colspan="2" style="width:111px;height:45px;" |  
| colspan="2" style="width: 111px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคไจแอนด์'''
พรรคไจแอนด์


| colspan="2" style="width:135px;height:45px;" |  
| colspan="2" style="width: 135px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคอเวนเจอร์'''
พรรคอเวนเจอร์


| colspan="2" style="width:109px;height:45px;" |  
| colspan="2" style="width: 109px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคเทเลทับบี้'''
พรรคเทเลทับบี้


|-
|-
| style="width:63px;height:45px;" |  
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
โดราเอม่อน
โดราเอม่อน


| style="width:58px;height:45px;" |  
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''ชิซึกะ'''
ชิซึกะ


| style="width:57px;height:45px;" |  
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
ไจแอนด์
ไจแอนด์


| style="width:54px;height:45px;" |  
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
ซึเนโอะ
ซึเนโอะ


| style="width:58px;height:45px;" |  
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''สตีฟ'''
สตีฟ โรเจอร์


'''โรเจอร์'''
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |
นาตาชา โรมานอฟ


| style="width:77px;height:45px;" |
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
นาตาชา &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;โรมานอฟ
 
| style="width:61px;height:45px;" |  
ลาล่า
ลาล่า


| style="width:49px;height:45px;" |  
| style="width: 100px; height: 45px; text-align: center;" |  
โพ
โพ


|-
|-
| style="width:122px;height:45px;" |  
| style="width:122px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''เขต A'''</p> <p style="text-align: center;">'''มีผู้แทนได้ 2 คน'''</p>
'''เขต ''''''A'''
| style="width:63px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">13,000</p>
 
| style="width:58px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">'''14,000'''</p>
'''มีผู้แทนได้ ''''''2 คน'''
| style="width:57px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">4,000</p>
 
| style="width:54px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">3,400</p>
| style="width:63px;height:45px;" |  
| style="width:58px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">'''15,000'''</p>
13,000
| style="width:77px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">11,000</p>
 
| style="width:61px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">10,000</p>
| style="width:58px;height:45px;" |  
| style="width:49px;height:45px;" | <p style="text-align: right;">8,500</p>
'''14,000'''
 
| style="width:57px;height:45px;" |  
4,000
 
| style="width:54px;height:45px;" |  
3,400
 
| style="width:58px;height:45px;" |  
'''15,000'''
 
| style="width:77px;height:45px;" |  
11,000
 
| style="width:61px;height:45px;" |  
10,000
 
| style="width:49px;height:45px;" |  
8,500
 
|-
|-
| style="width:122px;height:45px;" |  
| style="width:122px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''ผู้ชนะ'''</p>
'''ผู้ชนะ'''
 
| colspan="8" style="width:478px;height:45px;" |  
| colspan="8" style="width:478px;height:45px;" |  
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ ''''''1: พรรคอเวนเจอร์ (สตีฟ โรเจอร์)'''
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 1''' ''':''' พรรคอเวนเจอร์ (สตีฟ โรเจอร์)


'''ผู้ได้คะแนนอันดับ ''''''2: พรรคโดราเอมอน (ชิซึกะ)'''
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 2''' ''':''' พรรคโดราเอมอน (ชิซึกะ)


|}
|}
 
<p style="text-align: center;">'''ที่มา&nbsp;:''' จำลองโดยผู้เขียน</p>
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน'''
 
&nbsp;
&nbsp;


สำหรับข้อดีของระบบเลือกตั้งนี้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลโดยที่ไม่จำเป็นต้องเลือกผู้สมัครทั้งหมดมาจากพรรคเดียวกันแต่สามารถเลือกผสมกันต่างพรรคได้ แต่มีข้อเสียในการสร้างความไม่ชัดเจนในรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ออกเสียงเลือกตั้งกับผู้แทนในพื้นที่เนืองจากในเขตเลือกตั้งมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคนทำให้ประชาชนไม่ทราบว่าผู้แทนคนใดควรรับผิดชอบการทำงานของตนอย่างชัดเจน เป็นระบบที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองแตกกระจายเพราะการให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้แทนได้มากกว่าหนึ่งคน ทำให้สมาชิกของพรรคเดียวกันเกิดการแข่งขันกันเองเพื่อเอาชนะในการเลือกตั้ง และเป็นระบบที่ทำให้ได้ผลคะแนนที่ไม่แน่นอนและพลิกผันได้ง่าย[[#_ftn19|[19]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับข้อดีของระบบเลือกตั้งนี้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลโดยที่ไม่จำเป็นต้องเลือกผู้สมัครทั้งหมดมาจากพรรคเดียวกันแต่สามารถเลือกผสมกันต่างพรรคได้ แต่มีข้อเสียในการสร้างความไม่ชัดเจนในรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ออกเสียงเลือกตั้งกับผู้แทนในพื้นที่เนืองจากในเขตเลือกตั้งมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคนทำให้ประชาชนไม่ทราบว่าผู้แทนคนใดควรรับผิดชอบการทำงานของตนอย่างชัดเจน เป็นระบบที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองแตกกระจายเพราะการให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้แทนได้มากกว่าหนึ่งคน ทำให้สมาชิกของพรรคเดียวกันเกิดการแข่งขันกันเองเพื่อเอาชนะในการเลือกตั้ง และเป็นระบบที่ทำให้ได้ผลคะแนนที่ไม่แน่นอนและพลิกผันได้ง่าย[[#_ftn19|[19]]]
 
&nbsp;


#'''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้'''  
== &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<span style="font-size:x-large;">'''ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้'''</span> ==


ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ (Single Non-transferable Vote: SNTV) หรือระบบคะแนนเสียงเดียวโอนไม่ได้ หรือคะแนนเสียงเป็นพวงสำหรับพรรค (Party Block Vote: PBV) เป็นระบบการเลือกตั้งที่ใช้ในคาเมรูน ชาด จิบูติ และสิงคโปร์[[#_ftn20|''''''[20]'''''']]
ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ (Single Non-transferable Vote: SNTV) หรือระบบคะแนนเสียงเดียวโอนไม่ได้ หรือคะแนนเสียงเป็นพวงสำหรับพรรค (Party Block Vote: PBV) เป็นระบบการเลือกตั้งที่ใช้ในคาเมรูน ชาด จิบูติ และสิงคโปร์[[#_ftn20|[20]]]


ระบบดังกล่าวจะกำหนดกำหนดให้เขตเลือกตั้งมีผู้แทนจำนวนมากกว่า 1 คน แต่ให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถลงคะแนนได้เพียง 1 เสียงเพื่อเลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองได้คนเดียวเท่านั้น พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ตามจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคพรรคโดราเอมอนส่งผู้สมัครจำนวน 3 คน พรรคไจแอนด์ก็ส่งผู้สมัครจำนวน 3 คน แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้สมัครคนเดียวจากพรรคโดราเอมอน) ตามรูปภาพที่ 3 โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 4 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสี่ลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn21|[21]]]&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบดังกล่าวจะกำหนดกำหนดให้เขตเลือกตั้งมีผู้แทนจำนวนมากกว่า 1 คน แต่ให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถลงคะแนนได้เพียง 1 เสียง เพื่อเลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองได้คนเดียวเท่านั้น พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ตามจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคพรรคโดราเอมอนส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน พรรคไจแอนด์ก็ส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้สมัครคนเดียวจากพรรคโดราเอมอน) ตามรูปภาพที่ 3 โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 4 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสี่ลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[[#_ftn21|[21]]]&nbsp;


ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A กำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้พรรคละ 3 คน (โดยในที่นี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครจำนวน 4 พรรค คือ พรรคโดราเอมอน พรรคไจแอนด์ พรรคอเวนเจอร์ และพรรคเทเลทับบี้) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (อาทิ เลือกนางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะจากพรรคโดราเอมอน ได้เพียงพรรคคนเดียว) ในบัตรเลือกตั้ง ผู้ชนะการเลือกตั้งคือผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดตามลำดับ 3 คนแรก คือ พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) และพรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) ในตารางที่ 3
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A กำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ พรรคละ 3 คน (โดยในที่นี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัคร จำนวน 4 พรรค คือ พรรคโดราเอมอน พรรคไจแอนด์ พรรคอเวนเจอร์ และพรรคเทเลทับบี้) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (อาทิ เลือกนางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะจากพรรคโดราเอมอน ได้เพียงพรรคคนเดียว) ในบัตรเลือกตั้ง ผู้ชนะการเลือกตั้งคือผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดตามลำดับ 3 คนแรก คือ พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) และพรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) ในตารางที่ 3


&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''รูปภาพที่ 3''' ''':''' บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้</p>
'''รูปภาพที่ ''''''3: บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| colspan="3" style="width:601px;" |  
| colspan="3" style="width: 601px; text-align: center;" |  
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ ''''''A จำนวนผู้แทน 3 คน'''
'''บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 3 คน'''


'''ให้ทำเครื่องหมาย ''''''X เลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองเพียงคนเดียว'''
'''ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองเพียงคนเดียว'''


|-
|-
| style="width:141px;" |  
| style="width: 141px; text-align: center;" |  
'''พรรค'''
'''พรรค'''


| style="width:376px;" |  
| style="width: 376px; text-align: center;" |  
'''ชื่อผู้สมัคร'''
'''ชื่อผู้สมัคร'''


| style="width:83px;" |  
| style="width: 83px; text-align: center;" |  
'''เครื่องหมาย'''
'''เครื่องหมาย'''


|-
|-
| rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" |  
| rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" | <p style="text-align: center;">พรรคโดราเอมอน</p>
'''พรรคโดราเอมอน'''
 
| style="width:376px;height:8px;" |  
| style="width:376px;height:8px;" |  
นายโดราเอม่อน
นายโดราเอม่อน
บรรทัดที่ 509: บรรทัดที่ 329:
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ
นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ


| style="width:83px;height:8px;" |  
| style="width:83px;height:8px;" | <p style="text-align: center;">'''X'''</p>
X
 
|-
|-
| rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" |  
| rowspan="3" style="width:141px;height:8px;" | <p style="text-align: center;">พรรคไจแอนด์</p>
'''พรรคไจแอนด์'''
 
| style="width:376px;height:8px;" |  
| style="width:376px;height:8px;" |  
นายโกดะ ทาเคชิ
นายโกดะ ทาเคชิ
บรรทัดที่ 537: บรรทัดที่ 353:


|-
|-
| rowspan="3" style="width:141px;height:17px;" |  
| rowspan="3" style="width:141px;height:17px;" | <p style="text-align: center;">พรรคอเวนเจอร์</p>
'''พรรคอเวนเจอร์'''
 
| style="width:376px;height:17px;" |  
| style="width:376px;height:17px;" |  
นายสตีฟ โรเจอร์
นายสตีฟ โรเจอร์
บรรทัดที่ 561: บรรทัดที่ 375:


|-
|-
| rowspan="3" style="width:141px;height:7px;" |  
| rowspan="3" style="width:141px;height:7px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเทเลทับบี้</p>
'''พรรคเทเลทับบี้'''
 
| style="width:376px;height:7px;" |  
| style="width:376px;height:7px;" |  
นางสาวลาล่า
นางสาวลาล่า
บรรทัดที่ 585: บรรทัดที่ 397:


|}
|}
 
<p style="text-align: center;">'''ที่มา''' ''':''' จำลองโดยผู้เขียน</p>
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน'''
 
&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 3''' ''':''' ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้</p>
'''ตารางที่ ''''''3: ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้'''
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| style="width:113px;height:45px;" |  
| style="width: 113px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''เขตเลือกตั้ง'''
'''เขตเลือกตั้ง'''


| style="width:132px;height:45px;" |  
| style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคโดราเอมอน'''
พรรคโดราเอมอน
 
นางสาวมินาโมโตะ


นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ
ชิซึกะ


| style="width:123px;height:45px;" |  
| style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคโดราเอมอน'''
พรรคโดราเอมอน


นายโดราเอม่อน
นายโดราเอม่อน


| style="width:122px;height:45px;" |  
| style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคอเวนเจอร์'''
พรรคอเวนเจอร์


นายคลินต์ บาร์ตัน
นายคลินต์ บาร์ตัน


| style="width:109px;height:45px;" |  
| style="width: 70px; height: 45px; text-align: center;" |  
'''พรรคอเวนเจอร์'''
พรรคอเวนเจอร์


นายสตีฟ โรเจอร์
นายสตีฟ โรเจอร์


|-
|-
| style="width:113px;height:45px;" |  
| style="width:113px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''A'''</p> <p style="text-align: center;">'''มีผู้แทนได้ 3 คน'''</p>
'''A'''
| style="width:132px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''30'''</p>
 
| style="width:123px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''25'''</p>
'''มีผู้แทนได้ ''''''3 คน'''
| style="width:122px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''25'''</p>
 
| style="width:109px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">20</p>
| style="width:132px;height:45px;" |  
'''30'''
 
| style="width:123px;height:45px;" |  
'''25'''
 
| style="width:122px;height:45px;" |  
'''25'''
 
| style="width:109px;height:45px;" |  
20
 
|-
|-
| style="width:113px;height:45px;" |  
| style="width:113px;height:45px;" | <p style="text-align: center;">'''ผู้ชนะ'''</p>
'''ผู้ชนะ'''
 
| colspan="4" style="width:488px;height:45px;" |  
| colspan="4" style="width:488px;height:45px;" |  
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 1: พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ)'''
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 1''' ''':''' พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ)


'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 2: พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน)'''
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ 2''' ''':''' พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน)


'''ผู้ได้คะแนนอันดับ ''''''3: พรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน)'''
'''ผู้ได้คะแนนอันดับ&nbsp;3&nbsp;:''' พรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน)


|}
|}
<p style="text-align: center;">'''ที่มา&nbsp;:''' จำลองโดยผู้เขียน</p> <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข้อดีของระบบการเลือกตั้งนี้ คือ สามารถให้หลักประกันให้กับคนกลุ่มน้อยได้รับเลือกตั้งโดยใช้คะแนนเสียงไม่มากนักได้ แต่มีข้อเสียในด้านกลับที่อาจทำให้ผู้ชนะเลือกตั้งสามารถชนะได้ด้วยคะแนนเสียงข้างมากอย่างง่ายเพียงจำนวนเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น ผู้ชนะในเขตเลือกตั้ง A ผู้ชนะแต่ละคนได้คะแนนเสียงที่ ร้อยละ 25-30 เท่านั้นตามตารางที่ 3[[#_ftn22|[22]]] ในกรณีที่มีผู้สมัครลงแข่งขันจำนวนมากและแข็งขันกันอย่างรุนแรง ผู้ชนะเลือกตั้งบางคนอาจชนะด้วยคะแนนเสียงเพียง ร้อยละ 10 ของจำนวนผู้ออกเสียงเลือกตั้งในพื้นที่ก็ได้


'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน'''
= <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> =


&nbsp;
Britannica. "Plurality Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. [https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems].


ข้อดีของระบบการเลือกตั้งนี้ คือ สามารถให้หลักประกันให้กับคนกลุ่มน้อยได้รับเลือกตั้งโดยใช้คะแนนเสียงไม่มากนักได้ แต่มีข้อเสียในด้านกลับที่อาจทำให้ผู้ชนะเลือกตั้งสามารถชนะได้ด้วยคะแนนเสียงข้างมากอย่างง่ายเพียงจำนวนเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น ผู้ชนะในเขตเลือกตั้ง A ผู้ชนะแต่ละคนได้คะแนนเสียงที่ร้อยละ 25-30 เท่านั้นตามตารางที่ 3[[#_ftn22|[22]]] ในกรณีที่มีผู้สมัครลงแข่งขันจำนวนมากและแข็งขันกันอย่างรุนแรง ผู้ชนะเลือกตั้งบางคนอาจชนะด้วยคะแนนเสียงเพียงร้อยละ 10 ของจำนวนผู้ออกเสียงเลือกตั้งในพื้นที่ก็ได้
Fairvote. "Plurality-Majority Systems." Last modified Accessed 14 July, 2021. [https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems].
 
&nbsp;
 
'''บรรณานุกรม'''
 
Britannica. "Plurality Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems.
 
Fairvote. "Plurality-Majority Systems." Last modified Accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems.


Reynolds, Andrew, Ben Reilly, and Andrew Ellis. ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook''. Stockholm: International IDEA, 2005.
Reynolds, Andrew, Ben Reilly, and Andrew Ellis. ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook''. Stockholm: International IDEA, 2005.
บรรทัดที่ 671: บรรทัดที่ 461:


อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.
<div>อ้างอิง
<div>
----
= '''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>''' =
<div id="ftn1">
 
[[#_ftnref1|[1]]] Britannica, "Plurality Systems," accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems.
[[#_ftnref1|[1]]] Britannica, "Plurality Systems," accessed 10 July, 2021. [https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems].
</div> <div id="ftn2">
<div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 295.
[[#_ftnref2|[2]]] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 295.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
บรรทัดที่ 686: บรรทัดที่ 476:
[[#_ftnref6|[6]]] Andrew Reynolds, Ben Reilly, and Andrew Ellis, ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook'' (Stockholm: International IDEA, 2005). หรือดูฉบับแปลภาษาไทยใน แอนดรูว์ เรย์โนลด์ส, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส, การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea (กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555).
[[#_ftnref6|[6]]] Andrew Reynolds, Ben Reilly, and Andrew Ellis, ''Electoral System Design: The New International Idea Handbook'' (Stockholm: International IDEA, 2005). หรือดูฉบับแปลภาษาไทยใน แอนดรูว์ เรย์โนลด์ส, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส, การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea (กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555).
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] Fairvote, "Plurality-Majority Systems," accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems.
[[#_ftnref7|[7]]] Fairvote, "Plurality-Majority Systems," accessed 14 July, 2021. [https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems].
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] ผู้เขียนเลือกใช้คำแปลชื่อระบบเลือกตั้งในภาษาไทยตามงานของสิริพรรณ (2561) เนื่องจากเป็นคำแปลที่แสดงลักษณะของระบบเลือกตั้งได้ชัดเจนและครบถ้วน
[[#_ftnref8|[8]]] ผู้เขียนเลือกใช้คำแปลชื่อระบบเลือกตั้งในภาษาไทยตามงานของสิริพรรณ (2561) เนื่องจากเป็นคำแปลที่แสดงลักษณะของระบบเลือกตั้งได้ชัดเจนและครบถ้วน
บรรทัดที่ 717: บรรทัดที่ 507:
</div> <div id="ftn22">
</div> <div id="ftn22">
[[#_ftnref22|[22]]] Reynolds, Reilly, and Ellis, 47.
[[#_ftnref22|[22]]] Reynolds, Reilly, and Ellis, 47.
</div> </div>
</div> </div>  
[[Category:ระบบการเลือกตั้ง]] [[Category:การเลือกตั้ง]] [[Category:รูปแบบการเลือกตั้ง]] [[Category:ความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้ง]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:49, 14 กรกฎาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : เอกวีร์ มีสุข

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต  

 

ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (plurality system)

          การทำความเข้าใจความหมายของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย แบ่งการอธิบายออกเป็น 5 ส่วน คือ หนึ่ง การอธิบายนิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย และสอง การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย ส่วนที่เหลือจะจำแนกและอธิบายรายละเอียดระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ หนึ่ง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน สอง ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และสาม ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้

นิยามทั่วไปของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย

          ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (simple majority) หรือระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) คือ ระบบการเลือกตั้งพื้นฐานและเรียบง่ายที่สุดที่กำหนดให้ผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าผู้สมัครคนอื่นที่แข่งขันกันเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง[1] ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A ให้มีผู้แทนได้หนึ่งคน ผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดอันดับแรกถือเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่ายไม่ได้กำหนด จำนวน/ร้อยละ ของคะแนนเป็นเงื่อนไขในการชนะการเลือกตั้ง แตกต่างจากระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากเด็ดขาด (majority system) ที่กำหนดเงื่อนไขให้ผู้สมัครต้องได้คะแนนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่งหรือมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด[2] ข้อดีของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย คือ เป็นระบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถตัดสินใจได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นระบบที่สะดวกและต้นทุนต่ำในการจัดการเลือกตั้งมากกว่าระบบอื่น[3]

การจำแนกระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากอย่างง่าย

          ในการจำแนกประเภทของระบบการเลือกตั้งแบบเสียงข้างมากแบบง่ายมีนักวิชาการได้จำแนกได้หลายลักษณะและให้รายละเอียดแตกต่างกัน เช่น สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2561) ได้จำแนกโดยเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) แบ่งออกเป็นห้าประเภท[4] ขณะที่อรรถสิทธิ พานแก้ว (2564) ได้จำแนกโดยเรียกชื่อว่าระบบเสียงข้างมากจากส่วนใหญ่ (plurality system) ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงข้างมาก (Majoritarian system) แบ่งออกเป็นสามประเภท[5] ส่วนงานของ International IDEA (2005) เรียกว่าระบบคะแนนนำ (Plurality System) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท[6] ส่วนของ FairVote (2021) เรียกว่าระบบเสียงข้างมากอย่างง่าย (Plurality System) แบ่งเป็น 2 ประเภท[7]

          สำหรับการจำแนกในที่นี้จะยกตัวอย่างเพียง 3 ระบบเลือกตั้งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน และระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้[8]

          ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน

          ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน (single-member districts/constituencies: SMD) หรือในบางงานเขียนมีชื่อเรียกว่าระบบการเลือกตั้งแบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา (First Past the Post: FPTP) ซึ่งใช้เรียกในประเทศอังกฤษและแคนาดา หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่าย หนึ่งเขตหนึ่งคน (Single-member district plurality voting: SMDP) ที่ใช้เรียกในสหรัฐอเมริกา[9] ถือเป็นระบบการเลือกตั้งที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน และนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากมีความง่ายและสะดวกในการจัดการเลือกตั้ง การลงคะแนน และการนับคะแนน เป็นระบบที่มีต้นกำเนิดในประเทศอังกฤษแล้วแพร่ขยายไปยังประเทศอื่น ๆ ที่เคยเป็นอาณานิคม เช่น แคนาดา อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ระบบดังกล่าวยังเป็นที่นิยมในประเทศภูมิภาคละตินอเมริกา เอเชีย และแอฟริกาด้วย[10]

          สำหรับประเทศไทยได้ใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550[11] และ พ.ศ. 2560 โดยใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2562 คู่ขนานไปกับการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตไว้แตกต่างกัน ดังนี้

 

ตารางที่ 1 : จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 (แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2554)

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560

แบ่งเขต

400 คน

375 คน

350 คน

บัญชีรายชื่อ

100 คน

125 คน

150 คน

รวม

500 คน

500 คน

500 คน

ที่มา : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560

 

          ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน จะกำหนดให้มีเขตเลือกตั้งที่ให้เลือกผู้แทนได้ 1 คน โดยใช้ระบบเสียงข้างมากอย่างง่ายโดยเน้นใช้คะแนนเสียงของผู้ที่ได้คะแนนเสียงมากที่สุดในบรรดาผู้สมัครที่ลงแข่งขันในเขตเลือกตั้ง หากใครได้คะแนนมากที่สุดก็ถือเป็นผู้ชนะโดยไม่จำเป็นต้องได้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด[12] จนเรียกได้ว่าผู้ชนะอาจจะชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเพียงคะแนนเดียวก็ได้[13] โดยในบัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งแล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้เพียงคนเดียว จากนั้นจึงรวบรวมบัตรเลือกตั้งเพื่อนับคะแนนทั้งหมดเพื่อหาผู้สมัครที่ได้คะแนนมากที่สุด[14] ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A ผู้สมัครจากพรรคโดราเอมอนได้คะแนน ร้อยละ 60 จึงชนะเลือกตั้ง เช่นเดียวกับเขตเลือกตั้ง C ผู้สมัครจากพรรคอเวนเจอร์ได้คะแนนเพียง ร้อยละ 30 แต่เนื่องจากเป็นผู้ได้คะแนนสูงสุดจึงชนะการเลือกตั้ง ถึงแม้ว่าผู้สมัครจากพรรคอื่นจะได้คะแนนใกล้เคียงกันก็ตาม ดังที่ปรากฏในตารางที่ 2

 

รูปภาพที่ 1 : บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน

บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A

ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครเพียงคนเดียว

พรรค

ชื่อผู้สมัคร

เครื่องหมาย

พรรคโดราเอมอน

นายโนบิ โนบิตะ

X

พรรคไจแอนด์  

นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ

 

พรรคอเวนเจอร์

นางสาวนาตาชา โรมานอฟ

 

พรรคเทเลทับบี้

นางสาวลาล่า

 

ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน

 

ตารางที่ 2 : ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน

เขตเลือกตั้ง

พรรค

โดราเอมอน

พรรค

ไจแอนด์

พรรค

อเวนเจอร์

พรรค

เทเลทับบี้

ผู้ชนะ

A

60

20

15

5

พรรคโดราเอมอน

B

30

40

20

10

พรรคไจแอนด์

C

25

25

30

20

พรรคอเวนเจอร์

ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน

 

          โดยข้อดีของระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน คือ ผลการเลือกตั้งและผู้แทนที่ได้สามารถสะท้อนเสียงและความต้องการของประชาชนในเขตเลือกตั้งให้เข้าไปทำงานแทนตนเองในสภา[15] แต่มีข้อเสียที่ผลการเลือกตั้งบางครั้งอาจไม่สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาชนได้อย่างแท้จริง หากผู้ลงคะแนนเสียงกระจัดกระจายและผู้ชนะอันดับหนึ่งได้คะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งซึ่งน้อยกว่าคะแนนเสียงรวมของผู้แพ้ทั้งหมดจนเกิดปรากฎการณ์ “ได้ที่นั่งในสภาเป็นสัดส่วนที่มากกว่าสัดส่วนของคะแนนเสียงโดยรวมที่ได้รับ” รวมถึงส่งผลให้เกิดการกีดกันพรรคขนาดเล็กในการแข่งขันการเลือกตั้งเพราะระบบนี้มีแนวโน้มส่งเสริมให้เกิดระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) ที่มีขนาดใหญ่ในการแข่งขัน ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เขตผู้มีอิทธิพลในภูมิภาคหากพื้นที่ดังกล่าวมีพรรคหรือกลุ่มการเมืองที่มีอิทธิพลสูงก็จะทำให้ง่ายที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มดังกล่าวสามารถชนะการเลือกตั้ง หรือทำให้เกิดความพยายามในการกำหนดเขตเลือกตั้งที่เอื้อให้พรรคการเมืองหรือกลุ่มบางกลุ่มได้รับประโยชน์ ให้เขตเลือกตั้งครอบคลุมพื้นที่ที่เป็ขเขตอิทธิพลหรือมีผู้คนที่สนับสนุนพรรคการเมือง หรือที่เรียกว่าการแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ (gerrymandering)[16]

          ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน

          ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน (multi-member district/constituencies: MMD) หรือ ระบบคะแนนเสียงเป็นพวง (Block Vote: BV) หรือระบบเขตเสียงข้างมากอย่างง่ายหนึ่งเขตหลายคน (At-Large Voting) เป็นระบบที่ใช้ในบางประเทศแต่มีจำนวนไม่มากนัก อาทิ เกิร์นซีย์ คูเวต ลาว เลบานอน หมู่เกาะมัลดีฟส์ ปาเลสไตน์ ซีเรีย ตองกา และตูวาลู รวมถึงเคยใช้ในจอร์แดน มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย[17] โดยประเทศไทยใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนหรือเรียกว่าระบบ “รวมเขตเรียงเบอร์” หรือ “เขตเดียวหลายคน” ในการเลือกตั้งก่อนการมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ก่อนที่จะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพื่อใช้ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคนใน พ.ศ. 2554

          ระบบดังกล่าวจะกำหนดเขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้หลายคนตามที่กำหนด (อาทิ บางเขตเลือกตั้งอาจมีผู้แทนได้ 2 คน หรือมีผู้แทนได้ 3 คน เป็นต้น) พรรคการเมืองจะจัดทำรายชื่อผู้แทนของพรรคการเมืองตามจำนวนของผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งกำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองแต่ละพรรคก็จะส่งผู้สมัครพรรคละ 3 คนในเขตเลือกตั้ง) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้หลายคนแต่ไม่เกินจำนวนของผู้แทนหรือที่นั่งที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้แทนในบัตรเลือกตั้งได้ไม่เกิน 3 คน) โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 3 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสามลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[18] ทำให้บัตรเลือกตั้งจะกำหนดรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่พรรคการเมืองส่งไม่เกินจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แล้วให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งทำเครื่องหมายลงคะแนนเสียงเลือกได้ไม่เกินจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้ง แต่การเลือกไม่จำเป็นต้องเลือกผู้แทนจากพรรคการเมืองเดียวกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในเขตเลือกตั้ง A มีผู้แทนได้ 2 คน ได้ผู้ชนะ คือ สตีฟ โรเจอร์จากพรรคอเวนเจอร์ได้ 15,000 คะแนน และชิซึกะจากพรรคโดราเอมอนได้ 14,000 คะแนน

 

รูปภาพที่ 2 : บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน

บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 2 คน

ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจำนวน 2 คนเดียว

พรรค

ชื่อผู้สมัคร

เครื่องหมาย

พรรคโดราเอมอน

นายโดราเอม่อน

 

นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ

X

พรรคไจแอนด์

นายโกดะ ทาเคชิ

 

นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ

 

พรรคอเวนเจอร์

นายสตีฟ โรเจอร์

X

นางสาวนาตาชา โรมานอฟ

 

พรรคเทเลทับบี้

นางสาวลาล่า

 

นายโพ

 

ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน

 

ตารางที่ 2 : ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคน

เขตเลือกตั้ง

พรรคโดราเอมอน

พรรคไจแอนด์

พรรคอเวนเจอร์

พรรคเทเลทับบี้

โดราเอม่อน

ชิซึกะ

ไจแอนด์

ซึเนโอะ

สตีฟ โรเจอร์

นาตาชา โรมานอฟ

ลาล่า

โพ

เขต A

มีผู้แทนได้ 2 คน

13,000

14,000

4,000

3,400

15,000

11,000

10,000

8,500

ผู้ชนะ

ผู้ได้คะแนนอันดับ 1 : พรรคอเวนเจอร์ (สตีฟ โรเจอร์)

ผู้ได้คะแนนอันดับ 2 : พรรคโดราเอมอน (ชิซึกะ)

ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน

 

          สำหรับข้อดีของระบบเลือกตั้งนี้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลโดยที่ไม่จำเป็นต้องเลือกผู้สมัครทั้งหมดมาจากพรรคเดียวกันแต่สามารถเลือกผสมกันต่างพรรคได้ แต่มีข้อเสียในการสร้างความไม่ชัดเจนในรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ออกเสียงเลือกตั้งกับผู้แทนในพื้นที่เนืองจากในเขตเลือกตั้งมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคนทำให้ประชาชนไม่ทราบว่าผู้แทนคนใดควรรับผิดชอบการทำงานของตนอย่างชัดเจน เป็นระบบที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองแตกกระจายเพราะการให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้แทนได้มากกว่าหนึ่งคน ทำให้สมาชิกของพรรคเดียวกันเกิดการแข่งขันกันเองเพื่อเอาชนะในการเลือกตั้ง และเป็นระบบที่ทำให้ได้ผลคะแนนที่ไม่แน่นอนและพลิกผันได้ง่าย[19]

          ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้

ระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้ (Single Non-transferable Vote: SNTV) หรือระบบคะแนนเสียงเดียวโอนไม่ได้ หรือคะแนนเสียงเป็นพวงสำหรับพรรค (Party Block Vote: PBV) เป็นระบบการเลือกตั้งที่ใช้ในคาเมรูน ชาด จิบูติ และสิงคโปร์[20]

          ระบบดังกล่าวจะกำหนดกำหนดให้เขตเลือกตั้งมีผู้แทนจำนวนมากกว่า 1 คน แต่ให้ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถลงคะแนนได้เพียง 1 เสียง เพื่อเลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองได้คนเดียวเท่านั้น พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ตามจำนวนผู้แทนที่พึงมีในเขตเลือกตั้ง แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้งให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคพรรคโดราเอมอนส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน พรรคไจแอนด์ก็ส่งผู้สมัคร จำนวน 3 คน แต่ผู้ออกเสียงเลือกตั้งเลือกผู้สมัครคนเดียวจากพรรคโดราเอมอน) ตามรูปภาพที่ 3 โดยการหาผู้ชนะจะใช้การลงคะแนนแบบคะแนนนำเรียงตามผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดตามลำดับในเขตเลือกตั้งเพื่อหาผู้แทนที่ชนะเลือกตั้งตามจำนวนผู้แทนเขตเลือกตั้งที่กำหนดไว้ (อาทิ เขตเลือกตั้งมีผู้แทนได้ 4 คน ผู้ชนะคือผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสี่ลำดับแรกในเขตเลือกตั้ง)[21] 

          ตัวอย่างเช่น เขตเลือกตั้ง A กำหนดให้มีผู้แทนได้ 3 คน พรรคการเมืองสามารถส่งผู้สมัครได้ พรรคละ 3 คน (โดยในที่นี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัคร จำนวน 4 พรรค คือ พรรคโดราเอมอน พรรคไจแอนด์ พรรคอเวนเจอร์ และพรรคเทเลทับบี้) ผู้ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงหนึ่งคนจากหนึ่งพรรค (อาทิ เลือกนางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะจากพรรคโดราเอมอน ได้เพียงพรรคคนเดียว) ในบัตรเลือกตั้ง ผู้ชนะการเลือกตั้งคือผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดตามลำดับ 3 คนแรก คือ พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ) พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน) และพรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน) ในตารางที่ 3

 

รูปภาพที่ 3 : บัตรเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้

บัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เชตเลือกตั้งที่ A จำนวนผู้แทน 3 คน

ให้ทำเครื่องหมาย X เลือกผู้สมัครจากพรรคการเมืองเพียงคนเดียว

พรรค

ชื่อผู้สมัคร

เครื่องหมาย

พรรคโดราเอมอน

นายโดราเอม่อน

 

นายโนบิ โนบิตะ

 

นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ

X

พรรคไจแอนด์

นายโกดะ ทาเคชิ

 

นายโฮเนกาว่า ซึเนโอะ

 

นางสาวโกดะ ไจโกะ

 

พรรคอเวนเจอร์

นายสตีฟ โรเจอร์

 

นางสาวนาตาชา โรมานอฟ

 

นายคลินต์ บาร์ตัน

 

พรรคเทเลทับบี้

นางสาวลาล่า

 

นายโพ

 

นายทิงกี้-วิงกี้

 

ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน

 

ตารางที่ 3 : ผลการเลือกตั้งในระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดา หนึ่งเขตหลายคน คะแนนเสียงเดียวถ่ายโอนคะแนนไม่ได้

เขตเลือกตั้ง

พรรคโดราเอมอน

นางสาวมินาโมโตะ

ชิซึกะ

พรรคโดราเอมอน

นายโดราเอม่อน

พรรคอเวนเจอร์

นายคลินต์ บาร์ตัน

พรรคอเวนเจอร์

นายสตีฟ โรเจอร์

A

มีผู้แทนได้ 3 คน

30

25

25

20

ผู้ชนะ

ผู้ได้คะแนนอันดับ 1 : พรรคอเวนเจอร์ (นางสาวมินาโมโตะ ชิซึกะ)

ผู้ได้คะแนนอันดับ 2 : พรรคโดราเอมอน (นายโดราเอม่อน)

ผู้ได้คะแนนอันดับ 3 : พรรคอเวนเจอร์ (นายคลินต์ บาร์ตัน)

ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน

 

          ข้อดีของระบบการเลือกตั้งนี้ คือ สามารถให้หลักประกันให้กับคนกลุ่มน้อยได้รับเลือกตั้งโดยใช้คะแนนเสียงไม่มากนักได้ แต่มีข้อเสียในด้านกลับที่อาจทำให้ผู้ชนะเลือกตั้งสามารถชนะได้ด้วยคะแนนเสียงข้างมากอย่างง่ายเพียงจำนวนเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น ผู้ชนะในเขตเลือกตั้ง A ผู้ชนะแต่ละคนได้คะแนนเสียงที่ ร้อยละ 25-30 เท่านั้นตามตารางที่ 3[22] ในกรณีที่มีผู้สมัครลงแข่งขันจำนวนมากและแข็งขันกันอย่างรุนแรง ผู้ชนะเลือกตั้งบางคนอาจชนะด้วยคะแนนเสียงเพียง ร้อยละ 10 ของจำนวนผู้ออกเสียงเลือกตั้งในพื้นที่ก็ได้

บรรณานุกรม

Britannica. "Plurality Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems.

Fairvote. "Plurality-Majority Systems." Last modified Accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems.

Reynolds, Andrew, Ben Reilly, and Andrew Ellis. Electoral System Design: The New International Idea Handbook. Stockholm: International IDEA, 2005.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 13 ก, 23 มิถุนายน 2563.

เรย์โนลด์ส, แอนดรูว์, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส. การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea. กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555.

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี. ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2561.

อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.

อ้างอิง

[1] Britannica, "Plurality Systems," accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/election-political-science/Plurality-and-majority-systems.

[2] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 295.

[3] Britannica, ibid.

[4] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2561).

[5] อรรถสิทธิ์ พานแก้ว,  ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, อ้างแล้ว.

[6] Andrew Reynolds, Ben Reilly, and Andrew Ellis, Electoral System Design: The New International Idea Handbook (Stockholm: International IDEA, 2005). หรือดูฉบับแปลภาษาไทยใน แอนดรูว์ เรย์โนลด์ส, เบน ไรลี, และ แอนดรูว์ เอลลิส, การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International Idea (กรุงเทพมหานคร: เบสท์กราฟิค, 2555).

[7] Fairvote, "Plurality-Majority Systems," accessed 14 July, 2021. https://www.fairvote.org/plurality_majority_systems.

[8] ผู้เขียนเลือกใช้คำแปลชื่อระบบเลือกตั้งในภาษาไทยตามงานของสิริพรรณ (2561) เนื่องจากเป็นคำแปลที่แสดงลักษณะของระบบเลือกตั้งได้ชัดเจนและครบถ้วน

[9] Fairvote, ibid.

[10] Reynolds, Reilly, and Ellis, 35.

[11] รัฐธรรมนูญพ.ศ.2550 ได้มีการแก้ไขในพ.ศ.2554 เพื่อเปลี่ยนระบบการเลือกตั้งแบบระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหลายคนที่ใช้ในการเลือกตั้งพ.ศ.2550 มาเป็นระบบเขตเสียงข้างมากธรรมดาหนึ่งเขตหนึ่งคน ดูใน สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 13 ก, (ราชกิจจานุเบกษา, 23 มิถุนายน 2563).  

[12] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี. และอรรถสิทธิ์ พานแก้ว,  ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, 295.

[13] Reynolds, Reilly, and Ellis, 35.

[14] Fairvote, ibid.

[15] Ibid.

[16] Reynolds, Reilly, and Ellis, 43-44.

[17] Ibid., 44.

[18] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, อ้างแล้ว. อรรถสิทธิ์ พานแก้ว,  ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, 295. และ Reynolds, Reilly, and Ellis, 44.

[19] Reynolds, Reilly, and Ellis, 44.

[20] Ibid., 47.

[21] สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, อ้างแล้ว. และ อรรถสิทธิ์ พานแก้ว,  ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, 296.

[22] Reynolds, Reilly, and Ellis, 47.