ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหากษัตริย์ไทยในระบอบประชาธิปไตย"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
แม้[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จะทรงประสบกับปัญหานานัปประการมาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ ประจวบกับการเผชิญปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ทว่าพระองค์ก็ทรงใช้พระปรีชาสามารถในการบริหารงานราชการแผ่นดินมาโดยตลอด | |||
แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ครั้งสำคัญในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ | แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ครั้งสำคัญในวันที่ [[๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕]] ส่งผลให้ฐานะของพระองค์ต้องเปลี่ยนแปลงจากพระมหากษัตริย์ใน[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้[[กฎหมายรัฐธรรมนูญ]] พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงยอมรับสถานการณ์นั้นอย่างเป็นสุภาพบุรุษ ดังที่ปรากฏในลายพระหัตถ์ความว่า | ||
“...ข้าพเจ้าเห็นแก่ความเรียบร้อยของอาณาประชาราษฎร์ ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อ กับทั้งเพื่อจัดการโดยละม่อมละมัยไม่ให้ขึ้นชื่อได้ว่าจลาจล เสียหายแก่บ้านเมือง และความจริงข้าพเจ้าก็ได้คิดอยู่แล้วที่จะเปลี่ยนแปลงตามทำนองนี้ คือมีพระเจ้าแผ่นดินปกครองตามพระธรรมนูญ จึงยอมรับที่จะเป็นตัวเชิด | “...ข้าพเจ้าเห็นแก่ความเรียบร้อยของอาณาประชาราษฎร์ ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อ กับทั้งเพื่อจัดการโดยละม่อมละมัยไม่ให้ขึ้นชื่อได้ว่าจลาจล เสียหายแก่บ้านเมือง และความจริงข้าพเจ้าก็ได้คิดอยู่แล้วที่จะเปลี่ยนแปลงตามทำนองนี้ คือมีพระเจ้าแผ่นดินปกครองตามพระธรรมนูญ จึงยอมรับที่จะเป็นตัวเชิด เพื่อให้คุมโครงการตั้ง[[รัฐบาล]]ให้เป็นรูปแบบวิธีเปลี่ยนแปลงตั้งพระธรรมนูญโดยสะดวก...” | ||
แท้ที่จริงแล้วพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงตระเตรียมที่จะพระราชทาน[[อำนาจอธิปไตย]]ให้แก่ราษฎรอยู่แล้ว ดังจะเห็นได้จากพระราชดำรัสที่ทรงให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนที่สหรัฐอเมริกาในปี ๒๔๗๔ ว่าทรงเตรียมการที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศโดย[[เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เป็นประชาธิปไตย | |||
กล่าวได้ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว | กล่าวได้ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตรย์พระองค์สุดท้ายใน[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกใน[[ระบอบรัฐสภา]]ของประเทศไทย โดยในวันที่ [[๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕]] ทรงลงพระปรมาภิไธยใน''รัฐธรรมนูญฉบับถาวร''เพื่อใช้เป็น[[กฎหมายสูงสุด]]ในการปกครองบ้านเมืองตาม[[ระบอบประชาธิปไตย]] | ||
'''ที่มา ''' | '''ที่มา ''' | ||
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | ||
*[https://www.youtube.com/watch?v=_K-mraQF4oY&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo&index=101 YOU TUBE : ธ ทรงธรรม กับวิวัฒนาการการปกครองของสยาม : พระมหากษัตริย์ไทยในระบอบประชาธิปไตย] | |||
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ "ประชาธิปไตย"]] | [[หมวดหมู่:สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ "ประชาธิปไตย"]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:42, 10 กุมภาพันธ์ 2559
แม้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงประสบกับปัญหานานัปประการมาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ ประจวบกับการเผชิญปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ทว่าพระองค์ก็ทรงใช้พระปรีชาสามารถในการบริหารงานราชการแผ่นดินมาโดยตลอด
แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ครั้งสำคัญในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ส่งผลให้ฐานะของพระองค์ต้องเปลี่ยนแปลงจากพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงยอมรับสถานการณ์นั้นอย่างเป็นสุภาพบุรุษ ดังที่ปรากฏในลายพระหัตถ์ความว่า
“...ข้าพเจ้าเห็นแก่ความเรียบร้อยของอาณาประชาราษฎร์ ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อ กับทั้งเพื่อจัดการโดยละม่อมละมัยไม่ให้ขึ้นชื่อได้ว่าจลาจล เสียหายแก่บ้านเมือง และความจริงข้าพเจ้าก็ได้คิดอยู่แล้วที่จะเปลี่ยนแปลงตามทำนองนี้ คือมีพระเจ้าแผ่นดินปกครองตามพระธรรมนูญ จึงยอมรับที่จะเป็นตัวเชิด เพื่อให้คุมโครงการตั้งรัฐบาลให้เป็นรูปแบบวิธีเปลี่ยนแปลงตั้งพระธรรมนูญโดยสะดวก...”
แท้ที่จริงแล้วพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงตระเตรียมที่จะพระราชทานอำนาจอธิปไตยให้แก่ราษฎรอยู่แล้ว ดังจะเห็นได้จากพระราชดำรัสที่ทรงให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนที่สหรัฐอเมริกาในปี ๒๔๗๔ ว่าทรงเตรียมการที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศโดยเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย
กล่าวได้ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตรย์พระองค์สุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในระบอบรัฐสภาของประเทศไทย โดยในวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเพื่อใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองบ้านเมืองตามระบอบประชาธิปไตย
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖