ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จฯ เยือนญี่ปุ่น 3"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'สยามและญี่ปุ่น ต่างมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาไ...' |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
บรรทัดที่ 3: | บรรทัดที่ 3: | ||
วัดแห่งนี้ นอกจากจะประดิษฐานพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์อย่างพระไดบุตสุแล้ว ที่นี่ยังมีร่องรอยของสัมพันธไมตรีระหว่างสยามกับญี่ปุ่น ที่ยังคงปรากฏเป็นหลักฐานมาจนถึงทุกวันนี้ | วัดแห่งนี้ นอกจากจะประดิษฐานพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์อย่างพระไดบุตสุแล้ว ที่นี่ยังมีร่องรอยของสัมพันธไมตรีระหว่างสยามกับญี่ปุ่น ที่ยังคงปรากฏเป็นหลักฐานมาจนถึงทุกวันนี้ | ||
วันที่ ๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๔ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว | วันที่ ๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๔ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] เสด็จไปยังเมืองคามาคุระโดยรถไฟเพื่อทอดพระเนตรพระพุทธรูปไดบุตสุ ที่วัดโคโตกุอิน วัดแห่งนี้[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เคยเสด็จพระราชดำเนินมาทอดพระเนตร ในวันที่ ๒๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๔๕ เมื่อครั้งที่ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทั้งยังทรงปลูกต้นสนไว้เป็นที่ระลึกภายในสวนของวัดอีกด้วย | ||
นอกจากจะทอดพระเนตรพระพุทธรูปไดบุตสุและต้นสนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปลูกไว้แล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงปลูกต้นสนไว้อีกต้นหนึ่งในบริเวณเดียวกันเป็นเครื่องยืนยันถึงสัมพันธไมตรีและความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่มั่นคง ยั่งยืนมาตราบจนทุกวันนี้ | นอกจากจะทอดพระเนตรพระพุทธรูปไดบุตสุและต้นสนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปลูกไว้แล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงปลูกต้นสนไว้อีกต้นหนึ่งในบริเวณเดียวกันเป็นเครื่องยืนยันถึงสัมพันธไมตรีและความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่มั่นคง ยั่งยืนมาตราบจนทุกวันนี้ | ||
บรรทัดที่ 11: | บรรทัดที่ 11: | ||
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | ||
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]] | *[https://www.youtube.com/watch?v=ja600oakIfs&index=82&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo YOU TUBE : ทางสายพระราชไมตรี : เสด็จฯ เยือนญี่ปุ่น 3] | ||
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ|ส]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:43, 10 กุมภาพันธ์ 2559
สยามและญี่ปุ่น ต่างมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาไม่ต่างกัน ทำให้ญี่ปุ่นยังคงมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประดิษฐานและเป็นที่สักการะของชาวญี่ปุ่น ดังเช่นพระพุทธรูปไดบุตสุ วัดโคโตกุอิน เมืองคามาคุระ
วัดแห่งนี้ นอกจากจะประดิษฐานพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์อย่างพระไดบุตสุแล้ว ที่นี่ยังมีร่องรอยของสัมพันธไมตรีระหว่างสยามกับญี่ปุ่น ที่ยังคงปรากฏเป็นหลักฐานมาจนถึงทุกวันนี้
วันที่ ๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๔ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จไปยังเมืองคามาคุระโดยรถไฟเพื่อทอดพระเนตรพระพุทธรูปไดบุตสุ ที่วัดโคโตกุอิน วัดแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยเสด็จพระราชดำเนินมาทอดพระเนตร ในวันที่ ๒๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๔๕ เมื่อครั้งที่ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทั้งยังทรงปลูกต้นสนไว้เป็นที่ระลึกภายในสวนของวัดอีกด้วย
นอกจากจะทอดพระเนตรพระพุทธรูปไดบุตสุและต้นสนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปลูกไว้แล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงปลูกต้นสนไว้อีกต้นหนึ่งในบริเวณเดียวกันเป็นเครื่องยืนยันถึงสัมพันธไมตรีและความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่มั่นคง ยั่งยืนมาตราบจนทุกวันนี้
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖