ผลต่างระหว่างรุ่นของ "26 มกราคม พ.ศ. 2518"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศ.นรนิต เศรษฐบุตร ---- '''ผู้ทรงคุณวุ...' |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' | '''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร | ||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 7: | บรรทัดที่ 7: | ||
---- | ---- | ||
วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 | วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 เป็นวันที่มี[[การเลือกตั้งทั่วไป ครั้งที่ 10]] ของไทย และเป็น[[การเลือกตั้งทั่วไป]]ครั้งแรกหลังการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517]] [[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับนี้ร่างขึ้นหลังล้มรัฐบาลทหารของจอมพล ถนอม กิตติขจร | ||
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 | รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้แก่[[พรรคการเมือง]]และ[[รัฐสภา]]มากขึ้น จึงได้มีบทบัญญัติที่ถือว่าใหม่มากเกี่ยวกับ[[การสังกัดพรรคการเมือง]]อยู่ด้วย เช่นมีบทบัญญัติเป็นครั้งแรกให้ผู้สมัครลงเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ต้องสังกัดพรรคการเมือง ดังปรากฏในมาตรา 177 ว่าผู้มีสิทธิสมัครต้องมีคุณสมบัติ | ||
“เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่พรรคเดียว” | “เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่พรรคเดียว” | ||
ยิ่งไปกว่านั้นในมาตราเดียวกันนี้ | ยิ่งไปกว่านั้นในมาตราเดียวกันนี้ ยังกำหนดอีกว่าผู้จะเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]จะต้องชนะการเลือกตั้งเป็น[[ผู้แทนราษฎร]] โดยบัญญัติว่า | ||
“นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร...” | “นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร...” | ||
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครที่เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าแข่งขันชิงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้สภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่ทั้งหมด 269 ที่นั่งกันเป็นจำนวนมาก และหลายพรรคการเมือง | การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครที่เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าแข่งขันชิงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้สภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่ทั้งหมด 269 ที่นั่งกันเป็นจำนวนมาก และหลายพรรคการเมือง [[การหาเสียง]]ในตอนนั้นก็ถือว่าทำกันได้อย่าง[[เสรีมาก]] รัฐบาลไม่ได้ลงแข่งขันด้วยและพรรคการเมืองก็มีทั้งฝ่ายอนุรักษ์นิยม ไปจนถึงฝ่ายสังคมนิยม | ||
ผลการเลือกตั้งครั้งนี้ ไม่มีพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งได้เสียเกินกว่าครึ่ง ปรากฏว่าพรรคการเมืองสิบพรรคแรกได้คะแนนเสียงเรียงกันตามลำดับดังนี้ | ผลการเลือกตั้งครั้งนี้ ไม่มีพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งได้เสียเกินกว่าครึ่ง ปรากฏว่าพรรคการเมืองสิบพรรคแรกได้คะแนนเสียงเรียงกันตามลำดับดังนี้ | ||
1. พรรคประชาธิปัตย์ 72 เสียง | 1. [[พรรคประชาธิปัตย์ 72 เสียง]] | ||
2. พรรคธรรมสังคม 45 เสียง | 2. [[พรรคธรรมสังคม 45 เสียง]] | ||
3. พรรคชาติไทย 28 เสียง | 3. [[พรรคชาติไทย 28 เสียง]] | ||
4. พรรคเกษตรสังคม 19 เสียง | 4. [[พรรคเกษตรสังคม 19 เสียง]] | ||
5. พรรคกิจสังคม 18 เสียง | 5. [[พรรคกิจสังคม 18 เสียง]] | ||
6. พรรคสังคมชาตินิยม 16 เสียง | 6.[[พรรคสังคมชาตินิยม 16 เสียง]] | ||
7. พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย 15 เสียง | 7. [[พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย 15 เสียง]] | ||
8. พรรคพลังใหม่ 12 เสียง | 8. [[พรรคพลังใหม่ 12 เสียง]] | ||
9. พรรคแนวร่วมสังคมนิยม 10 เสียง | 9. [[พรรคแนวร่วมสังคมนิยม 10 เสียง]] | ||
10. พรรคสันติชน 8 เสียง | 10. [[พรรคสันติชน 8 เสียง]] | ||
พรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งจึงเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล แต่เป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย | พรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งจึงเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล แต่เป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย จึงอยู่ได้เพียงถึงวัน[[ลงมติไว้วางใจ]] และรัฐบาลไม่ได้รับมติไว้วางใจจึงต้องออกไปให้มีการการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ | ||
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]] | [[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:50, 17 กันยายน 2556
ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 เป็นวันที่มีการเลือกตั้งทั่วไป ครั้งที่ 10 ของไทย และเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 รัฐธรรมนูญฉบับนี้ร่างขึ้นหลังล้มรัฐบาลทหารของจอมพล ถนอม กิตติขจร
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้แก่พรรคการเมืองและรัฐสภามากขึ้น จึงได้มีบทบัญญัติที่ถือว่าใหม่มากเกี่ยวกับการสังกัดพรรคการเมืองอยู่ด้วย เช่นมีบทบัญญัติเป็นครั้งแรกให้ผู้สมัครลงเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมือง ดังปรากฏในมาตรา 177 ว่าผู้มีสิทธิสมัครต้องมีคุณสมบัติ
“เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่พรรคเดียว”
ยิ่งไปกว่านั้นในมาตราเดียวกันนี้ ยังกำหนดอีกว่าผู้จะเป็นนายกรัฐมนตรีจะต้องชนะการเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎร โดยบัญญัติว่า
“นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร...”
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครที่เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าแข่งขันชิงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้สภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่ทั้งหมด 269 ที่นั่งกันเป็นจำนวนมาก และหลายพรรคการเมือง การหาเสียงในตอนนั้นก็ถือว่าทำกันได้อย่างเสรีมาก รัฐบาลไม่ได้ลงแข่งขันด้วยและพรรคการเมืองก็มีทั้งฝ่ายอนุรักษ์นิยม ไปจนถึงฝ่ายสังคมนิยม
ผลการเลือกตั้งครั้งนี้ ไม่มีพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งได้เสียเกินกว่าครึ่ง ปรากฏว่าพรรคการเมืองสิบพรรคแรกได้คะแนนเสียงเรียงกันตามลำดับดังนี้ 1. [[พรรคประชาธิปัตย์ 72 เสียง]]
2. [[พรรคธรรมสังคม 45 เสียง]]
3. [[พรรคชาติไทย 28 เสียง]]
4. [[พรรคเกษตรสังคม 19 เสียง]]
5. [[พรรคกิจสังคม 18 เสียง]]
6.[[พรรคสังคมชาตินิยม 16 เสียง]]
7. พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย 15 เสียง
8. [[พรรคพลังใหม่ 12 เสียง]]
9. [[พรรคแนวร่วมสังคมนิยม 10 เสียง]]
10. [[พรรคสันติชน 8 เสียง]]
พรรคประชาธิปัตย์ได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งจึงเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล แต่เป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย จึงอยู่ได้เพียงถึงวันลงมติไว้วางใจ และรัฐบาลไม่ได้รับมติไว้วางใจจึงต้องออกไปให้มีการการจัดตั้งรัฐบาลใหม่