ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิสาน"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''พรรคอิสาน''' | '''พรรคอิสาน''' | ||
เดือนเมษายน พ.ศ. 2496 [[ | เดือนเมษายน พ.ศ. 2496 [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป.พิบูลสงคราม ]]กลับจากการเดินทางไปเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา จอมพล ป. มีความประทับใจลักษณะของ[[ประชาธิปไตย]]ของประเทศตะวันตกมากใน 3 ประเด็นใหญ่ คือการให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์อย่างเป็นทางการของหัวหน้ารัฐบาล (Press Conference), การให้ประชาชนแสดงความเห็นในที่สาธารณะ ซึ่งมีมากที่สวนสาธารณะไฮด์ปาร์คในประเทศอังกฤษ ผู้พูดจะสามารถแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและเรื่องอื่น ๆ โดยเสรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็อนุญาตให้นักการเมืองมาพูดแบบเดียวกันได้ที่สนามหลวง สามารถวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลได้อย่างเต็มที่ และ การมีพรรคการเมืองในประเทศตะวันตก และจอมพล ป.พิบูลสงครามก็ได้จัดให้มีการร่างพระราชบัญญัติพรรคการเมืองฉบับแรก ซึ่งผ่านสภาประกาศใช้เป็นกฎหมายเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2489 การตั้ง[[พรรคการเมือง]] ทำได้โดยผู้มีสิทธิออกเสียง 500 คน หรือ[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] 10 คนรวมกันก็ตั้งพรรคการเมืองได้ | ||
เมื่อพระราชบัญญัติพรรคการเมืองได้ประกาศใช้แล้วก็มีผู้จดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองกันมาก และมีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 มีพรรคที่ส่งผู้สมัครเข้าแข่งขัน 17 พรรค และยังมีผู้สมัครที่ไม่สังกัดพรรคอีกจำนวนหนึ่ง ผลการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคเสรีมนังคศิลามีเสียงเกินครึ่งคือ 86 เสียง จากจำนวนทั้งหมด 160 เสียง จอมพล ป. จึงได้เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ต่อมาแต่การเลือกตั้งครั้งนี้มีการโกงการเลือกตั้งอย่างมากโดยฝ่ายพรรคเสนีมนังคศิลาทำให้นิสิตนักศึกษาเดินขบวนคัดค้านกันหลายครั้ง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจการจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้แต่งตั้งนายพจน์ สารสิน เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2500 นั้นเองซึ่งปรากฏว่าพรรคการเมืองส่งผู้สมัครเข้ารับเลือกตั้ง 19 พรรค รวมถึงพรรคอิสานที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน แต่สอบตกและไม่ปรากฏว่ามีการดำเนินการทางการเมืองผ่านชื่อพรรคอิสานอีกต่อไป | เมื่อพระราชบัญญัติพรรคการเมืองได้ประกาศใช้แล้วก็มีผู้จดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองกันมาก และมีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 มีพรรคที่ส่งผู้สมัครเข้าแข่งขัน 17 พรรค และยังมีผู้สมัครที่ไม่สังกัดพรรคอีกจำนวนหนึ่ง ผลการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคเสรีมนังคศิลามีเสียงเกินครึ่งคือ 86 เสียง จากจำนวนทั้งหมด 160 เสียง จอมพล ป. จึงได้เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ต่อมาแต่การเลือกตั้งครั้งนี้มีการโกงการเลือกตั้งอย่างมากโดยฝ่ายพรรคเสนีมนังคศิลาทำให้นิสิตนักศึกษาเดินขบวนคัดค้านกันหลายครั้ง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจการจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้แต่งตั้งนายพจน์ สารสิน เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2500 นั้นเองซึ่งปรากฏว่าพรรคการเมืองส่งผู้สมัครเข้ารับเลือกตั้ง 19 พรรค รวมถึงพรรคอิสานที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน แต่สอบตกและไม่ปรากฏว่ามีการดำเนินการทางการเมืองผ่านชื่อพรรคอิสานอีกต่อไป |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:15, 16 สิงหาคม 2556
พรรคอิสาน
เดือนเมษายน พ.ศ. 2496 จอมพล ป.พิบูลสงคราม กลับจากการเดินทางไปเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา จอมพล ป. มีความประทับใจลักษณะของประชาธิปไตยของประเทศตะวันตกมากใน 3 ประเด็นใหญ่ คือการให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์อย่างเป็นทางการของหัวหน้ารัฐบาล (Press Conference), การให้ประชาชนแสดงความเห็นในที่สาธารณะ ซึ่งมีมากที่สวนสาธารณะไฮด์ปาร์คในประเทศอังกฤษ ผู้พูดจะสามารถแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและเรื่องอื่น ๆ โดยเสรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็อนุญาตให้นักการเมืองมาพูดแบบเดียวกันได้ที่สนามหลวง สามารถวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลได้อย่างเต็มที่ และ การมีพรรคการเมืองในประเทศตะวันตก และจอมพล ป.พิบูลสงครามก็ได้จัดให้มีการร่างพระราชบัญญัติพรรคการเมืองฉบับแรก ซึ่งผ่านสภาประกาศใช้เป็นกฎหมายเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2489 การตั้งพรรคการเมือง ทำได้โดยผู้มีสิทธิออกเสียง 500 คน หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 คนรวมกันก็ตั้งพรรคการเมืองได้
เมื่อพระราชบัญญัติพรรคการเมืองได้ประกาศใช้แล้วก็มีผู้จดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองกันมาก และมีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 มีพรรคที่ส่งผู้สมัครเข้าแข่งขัน 17 พรรค และยังมีผู้สมัครที่ไม่สังกัดพรรคอีกจำนวนหนึ่ง ผลการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคเสรีมนังคศิลามีเสียงเกินครึ่งคือ 86 เสียง จากจำนวนทั้งหมด 160 เสียง จอมพล ป. จึงได้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อมาแต่การเลือกตั้งครั้งนี้มีการโกงการเลือกตั้งอย่างมากโดยฝ่ายพรรคเสนีมนังคศิลาทำให้นิสิตนักศึกษาเดินขบวนคัดค้านกันหลายครั้ง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจการจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้แต่งตั้งนายพจน์ สารสิน เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีชั่วคราวและจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2500 นั้นเองซึ่งปรากฏว่าพรรคการเมืองส่งผู้สมัครเข้ารับเลือกตั้ง 19 พรรค รวมถึงพรรคอิสานที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน แต่สอบตกและไม่ปรากฏว่ามีการดำเนินการทางการเมืองผ่านชื่อพรรคอิสานอีกต่อไป
ที่มา
เชาวนะ ไตรมาศ. ข้อมูลพื้นฐาน 66 ปีประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา, 2542.
พรรคการเมืองไทย. http://www.weopenmind.com/board/index.php?topic=5929.msg47927