ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝนห่าใหญ่"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ฝนห่าใหญ่'''
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต


เป็นวาทะกรรมของนายบรรหาร ศิลปอาชา [[หัวหน้าพรรค]][[ชาติไทย ]]ภายหลัง[[การเลือกตั้ง]][[ผู้แทนราษฎร]]ทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 ซึ่งพรรค[[ไทยรักไทย]]ชนะการเลือกตั้งอย่างท่วมท้นถึง 377 ที่นั่ง จากทั้งหมด 500 ที่นั่ง โดยแบ่งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ]] 67 ที่นั่ง [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบแบ่งเขต]] 310 ที่นั่ง ในขณะที่พรรคชาติไทยได้ที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบบัญชีรายชื่อเพียง 7 ที่นั่ง และสมาชิกระบบแบ่งเขตเพียง 18 ที่นั่ง 
----


นายบรรหาร  กล่าวถึงสาเหตุที่พรรคชาติไทยต้องสูญเสียที่นั่งไปให้กับพรรคไทยรักไทย ไปจำนวนหนึ่ง จากเดิมซึ่งพรรคชาติไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 40 คน สืบเนื่องมาจาก “ฝนห่าใหญ่” ซึ่งเป็นการสื่อความแก่สาธารณชนว่า พรรคไทยรักไทยที่ชนะเลือกตั้งอย่างท่วมท้นนั้น เป็นเพราะใช้เงินจำนวนมหาศาล[[ซื้อเสียง]]ในช่วงสุดท้ายของ[[การเลือกตั้ง]] รวมทั้งการใช้เจ้าหน้าที่ของรัฐช่วยเหลือผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคไทยรักไทยด้วย
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล


พยานหลักฐานที่แสดงว่า นายบรรหาร พูดถึง “ฝนห่าใหญ่” หมายถึงการใช้เงินซื้อเสียงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปทั้งประเทศ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 นั้น  จะเห็นได้จากการที่นายบรรหาร เปิดบทสนทนาบนโต๊ะหูฉลามสมานฉันท์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2549 ว่า “นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร รับปากเลือกตั้งเที่ยวนี้ (15 ตุลาคม 2549) จะพยายามใช้เงิน – ใช้อำนาจรัฐให้น้อยลง โดยจะเดินทางไปต่างประเทศมากขึ้น...”
----


รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
'''ฝนห่าใหญ่'''เป็นวาทะกรรมของนายบรรหาร ศิลปอาชา [[หัวหน้าพรรค]][[ชาติไทย ]]ภายหลัง[[การเลือกตั้ง]][[ผู้แทนราษฎร]]ทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 ซึ่งพรรค[[ไทยรักไทย]]ชนะการเลือกตั้งอย่างท่วมท้นถึง 377 ที่นั่ง จากทั้งหมด 500 ที่นั่ง โดยแบ่งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ]] 67 ที่นั่ง [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบแบ่งเขต]] 310 ที่นั่ง ในขณะที่พรรคชาติไทยได้ที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบบัญชีรายชื่อเพียง 7 ที่นั่ง และสมาชิกระบบแบ่งเขตเพียง 18 ที่นั่ง 
 
นายบรรหาร  กล่าวถึงสาเหตุที่พรรคชาติไทยต้องสูญเสียที่นั่งไปให้กับพรรคไทยรักไทย ไปจำนวนหนึ่ง จากเดิมซึ่งพรรคชาติไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 40 คน สืบเนื่องมาจาก “ฝนห่าใหญ่” ซึ่งเป็นการสื่อความแก่สาธารณชนว่า พรรคไทยรักไทยที่ชนะเลือกตั้งอย่างท่วมท้นนั้น เป็นเพราะใช้เงินจำนวนมหาศาล[[ซื้อเสียง]]ในช่วงสุดท้ายของ[[การเลือกตั้ง]] รวมทั้งการใช้เจ้าหน้าที่ของรัฐช่วยเหลือผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคไทยรักไทยด้วย
 
พยานหลักฐานที่แสดงว่า นายบรรหาร พูดถึง “ฝนห่าใหญ่” หมายถึงการใช้เงินซื้อเสียงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปทั้งประเทศ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 นั้น  จะเห็นได้จากการที่นายบรรหาร เปิดบทสนทนาบนโต๊ะหูฉลามสมานฉันท์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2549 ว่า “นายกรัฐมนตรี [[ทักษิณ ชินวัตร|พ..ท. ทักษิณ ชินวัตร]] รับปากเลือกตั้งเที่ยวนี้ (15 ตุลาคม 2549) จะพยายามใช้เงิน – ใช้อำนาจรัฐให้น้อยลง โดยจะเดินทางไปต่างประเทศมากขึ้น...”
 
[[หมวดหมู่: สารานุกรมการเมืองไทย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:07, 28 พฤษภาคม 2555

ผู้เรียบเรียง รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล


ฝนห่าใหญ่เป็นวาทะกรรมของนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย ภายหลังการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 ซึ่งพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งอย่างท่วมท้นถึง 377 ที่นั่ง จากทั้งหมด 500 ที่นั่ง โดยแบ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ 67 ที่นั่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบแบ่งเขต 310 ที่นั่ง ในขณะที่พรรคชาติไทยได้ที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบบัญชีรายชื่อเพียง 7 ที่นั่ง และสมาชิกระบบแบ่งเขตเพียง 18 ที่นั่ง

นายบรรหาร กล่าวถึงสาเหตุที่พรรคชาติไทยต้องสูญเสียที่นั่งไปให้กับพรรคไทยรักไทย ไปจำนวนหนึ่ง จากเดิมซึ่งพรรคชาติไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 40 คน สืบเนื่องมาจาก “ฝนห่าใหญ่” ซึ่งเป็นการสื่อความแก่สาธารณชนว่า พรรคไทยรักไทยที่ชนะเลือกตั้งอย่างท่วมท้นนั้น เป็นเพราะใช้เงินจำนวนมหาศาลซื้อเสียงในช่วงสุดท้ายของการเลือกตั้ง รวมทั้งการใช้เจ้าหน้าที่ของรัฐช่วยเหลือผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคไทยรักไทยด้วย

พยานหลักฐานที่แสดงว่า นายบรรหาร พูดถึง “ฝนห่าใหญ่” หมายถึงการใช้เงินซื้อเสียงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปทั้งประเทศ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 นั้น จะเห็นได้จากการที่นายบรรหาร เปิดบทสนทนาบนโต๊ะหูฉลามสมานฉันท์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2549 ว่า “นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร รับปากเลือกตั้งเที่ยวนี้ (15 ตุลาคม 2549) จะพยายามใช้เงิน – ใช้อำนาจรัฐให้น้อยลง โดยจะเดินทางไปต่างประเทศมากขึ้น...”