ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหพันธรัฐ"
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ -... |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
== สหพันธรัฐ == | == สหพันธรัฐ == | ||
[[รัฐรวม]]ในแบบสหพันธรัฐ(Federation)เป็นการรวมตัวของรัฐต่างๆ โดยการสร้างรัฐขึ้นมาใหม่ให้มี[[อำนาจอธิปไตย]]อยู่เหนือรัฐเดิมที่มารวมตัวกันนั้น โดยที่รัฐต่างๆ ที่รวมตัวกันจะสละอำนาจอธิปไตยของตนให้แก่รัฐที่สร้างขึ้นใหม่นี้ เพื่อทำหน้าที่แทนตน ตัวอย่างของระบบรัฐแบบนี้ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกานับจากปี 1789 เป็นต้นมาตราบจนปัจจุบัน | |||
ระบบสหพันธรัฐทำให้เกิดมีรัฐ 2 ระดับขึ้นภายในโครงสร้างภายในของรัฐรวมนั้นเสมอ ได้แก่ รัฐระดับบน คือ รัฐที่สร้างขึ้นใหม่ ซึ่งมักจะเรียกกันว่า | ระบบสหพันธรัฐทำให้เกิดมีรัฐ 2 ระดับขึ้นภายในโครงสร้างภายในของรัฐรวมนั้นเสมอ ได้แก่ รัฐระดับบน คือ รัฐที่สร้างขึ้นใหม่ ซึ่งมักจะเรียกกันว่า [[รัฐบาล]]กลาง หรือรัฐ สหพันธ์ และรัฐระดับล่าง ได้แก่รัฐสมาชิกต่างๆ นั่นเอง ซึ่งมักจะเรียกกันว่า มลรัฐ หรือ รัฐ | ||
องค์กรต่างๆ ภายใต้ระบบสหพันธรัฐจะมีโครงสร้างที่ซับซ้อน รวมทั้งการมี องค์กรที่มีชื่อเรียกเดียวกัน และมีการหน้าที่ในลักษณะเดียวกัน แบ่งออกเป็น 2 ระดับเสมอ เช่น รัฐสภา จะมีทั้ง[[รัฐสภา]]ในระดับสหพันธ์ และรัฐสภาในระดับรัฐ เช่นเดียวกับรัฐบาล และศาล เป็นต้น ซึ่งจะมี[[ศาล]]สูงทั้งของรัฐ และศาลสูงของสหพันธรัฐดำรงอยู่คู่ขนานกัน | |||
== เอกสารอ่านเพิ่มเติม == | == เอกสารอ่านเพิ่มเติม == | ||
บรรทัดที่ 27: | บรรทัดที่ 27: | ||
5. Hague, R and M. Harrop. Comparative Government and Politics: An Introduction. London: Palgrave, 2001. | 5. Hague, R and M. Harrop. Comparative Government and Politics: An Introduction. London: Palgrave, 2001. | ||
[[หมวดหมู่:ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น]] | [[หมวดหมู่:ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น]] | ||
[[หมวดหมู่:รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:22, 27 กรกฎาคม 2554
ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผล
สหพันธรัฐ
รัฐรวมในแบบสหพันธรัฐ(Federation)เป็นการรวมตัวของรัฐต่างๆ โดยการสร้างรัฐขึ้นมาใหม่ให้มีอำนาจอธิปไตยอยู่เหนือรัฐเดิมที่มารวมตัวกันนั้น โดยที่รัฐต่างๆ ที่รวมตัวกันจะสละอำนาจอธิปไตยของตนให้แก่รัฐที่สร้างขึ้นใหม่นี้ เพื่อทำหน้าที่แทนตน ตัวอย่างของระบบรัฐแบบนี้ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกานับจากปี 1789 เป็นต้นมาตราบจนปัจจุบัน
ระบบสหพันธรัฐทำให้เกิดมีรัฐ 2 ระดับขึ้นภายในโครงสร้างภายในของรัฐรวมนั้นเสมอ ได้แก่ รัฐระดับบน คือ รัฐที่สร้างขึ้นใหม่ ซึ่งมักจะเรียกกันว่า รัฐบาลกลาง หรือรัฐ สหพันธ์ และรัฐระดับล่าง ได้แก่รัฐสมาชิกต่างๆ นั่นเอง ซึ่งมักจะเรียกกันว่า มลรัฐ หรือ รัฐ
องค์กรต่างๆ ภายใต้ระบบสหพันธรัฐจะมีโครงสร้างที่ซับซ้อน รวมทั้งการมี องค์กรที่มีชื่อเรียกเดียวกัน และมีการหน้าที่ในลักษณะเดียวกัน แบ่งออกเป็น 2 ระดับเสมอ เช่น รัฐสภา จะมีทั้งรัฐสภาในระดับสหพันธ์ และรัฐสภาในระดับรัฐ เช่นเดียวกับรัฐบาล และศาล เป็นต้น ซึ่งจะมีศาลสูงทั้งของรัฐ และศาลสูงของสหพันธรัฐดำรงอยู่คู่ขนานกัน
เอกสารอ่านเพิ่มเติม
1. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. ทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2546.
2. Barber, Benjamin R. Strong Democracy: Participatory Politics for a New Age. Los Angeles: University of California Press, 2003.
3. Blondel, J. Comparative Government: An Introduction. New Jersey: Prentice Hall, 1995.
4. Bogdanor, Vernon. Devolution in the United Kingdom. London: Oxford University Press, 1999.
5. Hague, R and M. Harrop. Comparative Government and Politics: An Introduction. London: Palgrave, 2001.