ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2517"
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' อลิศรา พรหมโชติชัย ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒิประ... |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัดที่ 7: | บรรทัดที่ 7: | ||
---- | ---- | ||
== พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2517 == | |||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2517 เป็น[[กฎหมาย]]แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล ตามมาตรา 52 แห่ง[[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482]] ซึ่งแก้ไขโดย[[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2501]] ซึ่งได้บังคับใช้ตาม[[พระราชบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2499]] กฎหมายฉบับใหม่นี้ได้มีการแก้ไขเพียงมาตราเดียว คือ ในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2517 มีบทบัญญัติให้ยกเลิกลักษณะของบัตรเลือกตั้งที่เป็น[[บัตรเสีย]]ตามกฎหมายเดิม และได้กำหนดลักษณะของบัตรเลือกตั้งที่เป็นบัตรเสียใหม่ โดยบัตรเลือกตั้งที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นบัตรเสีย ซึ่งสามารถพิจารณาการแก้ไขได้จากตารางเปรียบเทียบกับกฎหมายเดิมได้ดังนี้ | |||
{| border="2" align="center" | {| border="2" align="center" | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" style="background:#87cefa;" align ="center" |พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) | ||
|width=" | พ.ศ.2015<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2015, ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 75 ตอนที่ 19 วันที่ 4 มีนาคม 2501 </ref> | ||
|width="350" style="background:#87cefa;" align ="center" |พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) | |||
พ.ศ.2517<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2517, ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 91, ตอนที่ 154, วันที่ 17 กันยายน 2517</ref> | |||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 1.เป็นบัตรปลอม | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 1.เป็นบัตรปลอม | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 2.เป็นบัตรที่ลงเครื่องหมายเลอะเลือน หรือไม่ชัดเจนว่าลงเครื่องหมายให้แก่ผู้สมัครคนใด | ||
|width=" | |width="350" align ="center" |-ยกเลิก- | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 3.เป็นบัตรที่ลงเครื่องหมายเกินกว่าจำนวนสมาชิกสภาเทศบาลจะมีได้ในเขตเลือกตั้งนั้น | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 3.เป็นบัตรที่ทำเครื่องหมายเกินกว่าจำนวนสมาชิกที่จะมีในเขตเลือกตั้งนั้นได้ | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 4.เป็นบัตรที่ลงเครื่องหมายซ้ำกันหรือซ้อนกัน จนไม่สามารถอ่านเครื่องหมายที่ถูกซ้อนนั้นได้ | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 4.เป็นบัตรที่ปรากฏว่าได้พับซ้อนกันเกินกว่าบัตรเดียว | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 5.เป็นบัตรที่ไม่ได้ลงเครื่องหมายเลย | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 5.เป็นบัตรที่ไม่ได้ลงเครื่องหมายเลย | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 6.เป็นบัตรที่มีเครื่องหมายปรากฏซ่อนอยู่ในบัตรนั้นอีก | ||
|width=" | |width="350" align ="center" |-ยกเลิก- | ||
|- | |- | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 7.เป็นบัตรที่มีเครื่องหมาย เครื่องสังเกต หรือข้อความอื่นใด นอกจากที่กำหนดในกฎกระทรวง | ||
|width=" | |width="350" align ="Left" | 7.เป็นบัตรที่มีเครื่องหมาย เครื่องสังเกต หรือข้อความอื่นๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง | ||
|} | |} | ||
== ที่มา == | == ที่มา == | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2015, ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 75 ตอนที่ 19 วันที่ 4 มีนาคม 2501 | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2015, '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่มที่ 75 ตอนที่ 19 วันที่ 4 มีนาคม 2501 | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2517, '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่มที่ 91, ตอนที่ 154, วันที่ 17 กันยายน 2517 | |||
==อ้างอิง== | ==อ้างอิง== |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:30, 8 ตุลาคม 2553
ผู้เรียบเรียง อลิศรา พรหมโชติชัย
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2517
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2517 เป็นกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล ตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 ซึ่งแก้ไขโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2501 ซึ่งได้บังคับใช้ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2499 กฎหมายฉบับใหม่นี้ได้มีการแก้ไขเพียงมาตราเดียว คือ ในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2517 มีบทบัญญัติให้ยกเลิกลักษณะของบัตรเลือกตั้งที่เป็นบัตรเสียตามกฎหมายเดิม และได้กำหนดลักษณะของบัตรเลือกตั้งที่เป็นบัตรเสียใหม่ โดยบัตรเลือกตั้งที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นบัตรเสีย ซึ่งสามารถพิจารณาการแก้ไขได้จากตารางเปรียบเทียบกับกฎหมายเดิมได้ดังนี้
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4)
พ.ศ.2015[1] |
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6)
พ.ศ.2517[2] |
1.เป็นบัตรปลอม | 1.เป็นบัตรปลอม |
2.เป็นบัตรที่ลงเครื่องหมายเลอะเลือน หรือไม่ชัดเจนว่าลงเครื่องหมายให้แก่ผู้สมัครคนใด | -ยกเลิก- |
3.เป็นบัตรที่ลงเครื่องหมายเกินกว่าจำนวนสมาชิกสภาเทศบาลจะมีได้ในเขตเลือกตั้งนั้น | 3.เป็นบัตรที่ทำเครื่องหมายเกินกว่าจำนวนสมาชิกที่จะมีในเขตเลือกตั้งนั้นได้ |
4.เป็นบัตรที่ลงเครื่องหมายซ้ำกันหรือซ้อนกัน จนไม่สามารถอ่านเครื่องหมายที่ถูกซ้อนนั้นได้ | 4.เป็นบัตรที่ปรากฏว่าได้พับซ้อนกันเกินกว่าบัตรเดียว |
5.เป็นบัตรที่ไม่ได้ลงเครื่องหมายเลย | 5.เป็นบัตรที่ไม่ได้ลงเครื่องหมายเลย |
6.เป็นบัตรที่มีเครื่องหมายปรากฏซ่อนอยู่ในบัตรนั้นอีก | -ยกเลิก- |
7.เป็นบัตรที่มีเครื่องหมาย เครื่องสังเกต หรือข้อความอื่นใด นอกจากที่กำหนดในกฎกระทรวง | 7.เป็นบัตรที่มีเครื่องหมาย เครื่องสังเกต หรือข้อความอื่นๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง |
ที่มา
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2015, ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 75 ตอนที่ 19 วันที่ 4 มีนาคม 2501
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2517, ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 91, ตอนที่ 154, วันที่ 17 กันยายน 2517