ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' นางสาวธีรพรรณ ใจมั่น | '''ผู้เรียบเรียง''' นางสาวธีรพรรณ ใจมั่น | ||
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 4: | ||
---- | ---- | ||
วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 150 คน แบ่งออกเป็น | ==วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 150 คน แบ่งออกเป็น== | ||
1. | |||
1. มาจาก[[การเลือกตั้ง]]ในแต่ละจังหวัด 76 คน ตามมาตรา 112 วรรคหนึ่ง | |||
2. มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน | 2. มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน ทั้งนี้[[สมาชิกวุฒิสภา]]ที่มาจากการสรรหา จะมีจำนวนเท่ากับจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด (150 คน) หักด้วย จำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในจังหวัด ๆ ละ 1 คน (ตามมาตรา 111 วรรคหนึ่ง) โดย[[การสรรหา]]ของคณะกรรมการสรรหา เรียกว่า "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา" | ||
==องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วย== | ==องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วย== | ||
1. | 1. ประธาน[[ศาลรัฐธรรมนูญ]] | ||
2. | 2. ประธาน[[กรรมการการเลือกตั้ง]] | ||
3. | 3. ประธาน[[ผู้ตรวจการแผ่นดิน]] | ||
4. | 4. ประธาน[[กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]] | ||
5. | 5. ประธาน[[กรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน]] | ||
6. | 6. ผู้พิพากษาใน[[ศาลฏีกา]] ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฏีกาที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฏีกามอบหมาย จำนวน 1 คน | ||
7. | 7. ตุลาการใน[[ศาลปกครอง]]สูงสุด ที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย จำนวน 1 คน | ||
บรรทัดที่ 31: | บรรทัดที่ 31: | ||
2. ให้คณะกรรมการรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรต่าง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพและภาคอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาเป็นสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 114 วรรคหนึ่ง) | 2. ให้คณะกรรมการรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรต่าง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพและภาคอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาเป็นสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 114 วรรคหนึ่ง) | ||
3. ในการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ | 3. ในการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ โอกาสและ[[ความเท่าเทียม]]กันทางเพศ รวมทั้งการให้โอกาสกับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม (มาตรา 114 วรรคสอง) | ||
==ที่มา== | ==ที่มา== | ||
บรรทัดที่ 37: | บรรทัดที่ 37: | ||
2. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง วุฒิสภา โดย กลุ่มงานผลิตเอกสารเผยแพร่ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา | 2. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง วุฒิสภา โดย กลุ่มงานผลิตเอกสารเผยแพร่ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา | ||
[[หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภา]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:23, 14 กันยายน 2553
ผู้เรียบเรียง นางสาวธีรพรรณ ใจมั่น
วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 150 คน แบ่งออกเป็น
1. มาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด 76 คน ตามมาตรา 112 วรรคหนึ่ง
2. มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน ทั้งนี้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหา จะมีจำนวนเท่ากับจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด (150 คน) หักด้วย จำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในจังหวัด ๆ ละ 1 คน (ตามมาตรา 111 วรรคหนึ่ง) โดยการสรรหาของคณะกรรมการสรรหา เรียกว่า "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา"
องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วย
1. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
2. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
3. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน
4. ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
5. ประธานกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน
6. ผู้พิพากษาในศาลฏีกา ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฏีกาที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฏีกามอบหมาย จำนวน 1 คน
7. ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย จำนวน 1 คน
การดำเนินการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา
1. คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ทำหน้าที่สรรหาบุคคลให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ตามมาตรา 113 วรรคหนึ่ง)
2. ให้คณะกรรมการรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรต่าง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพและภาคอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาเป็นสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 114 วรรคหนึ่ง)
3. ในการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ โอกาสและความเท่าเทียมกันทางเพศ รวมทั้งการให้โอกาสกับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม (มาตรา 114 วรรคสอง)
ที่มา
1. รัฐธรรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
2. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง วุฒิสภา โดย กลุ่มงานผลิตเอกสารเผยแพร่ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา