ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยุบสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 19 พฤษภาคม 2538"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:


----
----
ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา การยุบสภาถือเป็นกระบวนการหรือวิถีทางทางการเมืองของฝ่ายบริหารที่นำมาใช้ถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายนิติบัญญัติในการแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายบริหารด้วยกันเอง หรือฝ่ายนิติบัญญัติ(สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร)ด้วยกันเอง หรือใช้การยุบสภาเป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง โดยเฉพาะฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลในขณะที่มีคะแนนนิยมสูง รวมถึงกรณีที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญใหม่ หรือมีกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งฉบับใหม่ ซึ่งจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามนั้น พระมหากษัตริย์โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหาร จึงประกาศให้มีการยุบสภาเพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งขึ้นใหม่ เสมือนเป็นการคืนอำนาจให้ประชาชน ซึ่งเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นผู้ตัดสินใจเลือกผู้แทนชุดใหม่ขึ้นบริหารประเทศต่อไป
ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา [[การยุบสภา]]ถือเป็นกระบวนการหรือวิถีทางทางการเมืองของฝ่ายบริหารที่นำมาใช้ถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายนิติบัญญัติในการแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายบริหารด้วยกันเอง หรือฝ่ายนิติบัญญัติ(สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร)ด้วยกันเอง หรือใช้การยุบสภาเป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง โดยเฉพาะฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลในขณะที่มีคะแนนนิยมสูง รวมถึงกรณีที่มีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับใหม่หรือมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญใหม่ หรือมีกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งฉบับใหม่ ซึ่งจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามนั้น [[พระมหากษัตริย์]]โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารจึงประกาศให้มีการยุบสภาเพื่อจัดให้มี[[การเลือกตั้ง]]ขึ้นใหม่ เสมือนเป็นการคืนอำนาจให้ประชาชน ซึ่งเป็นเจ้าของ[[อำนาจอธิปไตย]]หรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นผู้ตัดสินใจเลือกผู้แทนชุดใหม่ขึ้นบริหารประเทศต่อไป


==ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการยุบสภา==
==ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการยุบสภา==
บรรทัดที่ 12: บรรทัดที่ 12:
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายคำว่า ยุบ ไว้หลายประการ ประการหนึ่งคือ เลิก หรือ ยกเลิก เช่น ยุบกระทรวง ยุบตำแหน่ง<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, '''พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ.2542,''' กรุงเทพฯ : บริษัท นาน พับลิเคชั่นส์ จำกัด 2546, หน้า 911.</ref> ดังนั้น การยุบสภา จึงเป็นการยุบหรือยกเลิก หรือทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาสิ้นสุดลงก่อนครบวาระดำรงตำแหน่งนั่นเอง  
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายคำว่า ยุบ ไว้หลายประการ ประการหนึ่งคือ เลิก หรือ ยกเลิก เช่น ยุบกระทรวง ยุบตำแหน่ง<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, '''พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ.2542,''' กรุงเทพฯ : บริษัท นาน พับลิเคชั่นส์ จำกัด 2546, หน้า 911.</ref> ดังนั้น การยุบสภา จึงเป็นการยุบหรือยกเลิก หรือทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาสิ้นสุดลงก่อนครบวาระดำรงตำแหน่งนั่นเอง  


การยุบสภา ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า dissolution of parliament หมายถึง การประกาศให้สิ้นสุดอายุของสภาสิ้นสุดลงก่อนครบวาระตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ<ref>'''การยุบสภาผู้แทนราษฎร.''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.</ref> หรืออาจกล่าวว่า การยุบสภา หมายถึง การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งต้องพ้นจากสมาชิกภาพไปพร้อมกัน และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาที่ว่านี้ใช้กับสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับวุฒิสภา เพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย(ฉบับสมบูรณ์),''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548 หน้า 724.</ref>
การยุบสภา ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า dissolution of parliament หมายถึง การประกาศให้สิ้นสุดอายุของสภาสิ้นสุดลงก่อนครบวาระตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ<ref>'''การยุบสภาผู้แทนราษฎร.''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.</ref> หรืออาจกล่าวว่า การยุบสภา หมายถึง การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งต้องพ้นจากสมาชิกภาพไปพร้อมกัน และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาที่ว่านี้ใช้กับ[[สภาผู้แทนราษฎร]]เท่านั้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับ[[วุฒิสภา]] เพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย(ฉบับสมบูรณ์),''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548 หน้า 724.</ref>


เนื่องจากประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รัฐธรรมนูญได้มีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 724.</ref> ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการยุบสภาผู้แทนราษฎรเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ที่จะตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรขึ้น โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อให้อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงก่อนครบกำหนดตามวาระ อันมีผลให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งสภาพ้นจากตำแหน่งพร้อมกัน และจะได้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งจะกระทำในวันเดียวกัน ทั้งประเทศ
เนื่องจากประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รัฐธรรมนูญได้มีบทบัญญัติให้[[พระมหากษัตริย์]]ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็น[[การเลือกตั้ง]]ทั่วไปขึ้นใหม่<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 724.</ref> ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร]]เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ที่จะตรา[[พระราชกฤษฎีกา]]ยุบสภาผู้แทนราษฎรขึ้น โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารหรือ[[คณะรัฐมนตรี]] เพื่อให้[[อายุของสภาผู้แทนราษฎร]]สิ้นสุดลงก่อนครบกำหนดตามวาระ อันมีผลให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งสภาพ้นจากตำแหน่งพร้อมกัน และจะได้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งจะกระทำในวันเดียวกันทั้งประเทศ


1.2 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการยุบสภา
1.2 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการยุบสภา
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 22:
1) การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่  
1) การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่  


2) การยุบสภาต้องกระทำเป็นพระราชกฤษฎีกา ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งเป็นการทั่วไปขึ้นใหม่เป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ ทั้งนี้ ภายในระยะเวลาที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ  
2) การยุบสภาต้องกระทำเป็น[[พระราชกฤษฎีกา]] ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งเป็นการทั่วไปขึ้นใหม่เป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ ทั้งนี้ ภายในระยะเวลาที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ  


3) การยุบสภาจะกระทำได้เฉพาะการยุบสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น จะยุบวุฒิสภามิได้ ซึ่งสมาชิกวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปจนครบวาระ  
3) การยุบสภาจะกระทำได้เฉพาะการยุบสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น จะยุบวุฒิสภามิได้ ซึ่งสมาชิกวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปจนครบวาระ  


4) การยุบสภาจะทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง และคณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่งไปด้วย แต่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ามีการเลือกตั้ง  ขึ้นใหม่ และคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีจะปฏิบัติได้เฉพาะเรื่องที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญเท่านั้น
4) การยุบสภาจะทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง และคณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่งไปด้วย แต่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ามีการเลือกตั้งขึ้นใหม่ และคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีจะปฏิบัติได้เฉพาะเรื่องที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญเท่านั้น


5) การยุบสภาจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย,''' กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด, 2548.</ref>
5) การยุบสภาจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย,''' กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด, 2548.</ref>
บรรทัดที่ 32: บรรทัดที่ 32:
1.3 การยุบสภาในประเทศไทย  
1.3 การยุบสภาในประเทศไทย  


นับตั้งแต่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อปี พ.ศ.2475 จนถึงปัจจุบัน ได้มีการยุบสภามาแล้ว จำนวน 12 ครั้ง ดังนี้<ref>'''การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.</ref>
นับตั้งแต่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อปี พ.ศ.2475 จนถึงปัจจุบัน ได้มีการยุบสภามาแล้ว จำนวน 12 ครั้ง ดังนี้<ref>'''การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.</ref>


ครั้งที่ 1 วันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2481     สมัยพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี
{|
ครั้งที่ 2 วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488       สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
|ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 3 วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2516     สมัยนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี *
|วันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2481
ครั้งที่ 4 วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2512     สมัยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี      
|สมัย[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]
ครั้งที่ 5 วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2526       สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
ครั้งที่ 6   วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2529   สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
|ครั้งที่ 2
ครั้งที่ 7 วันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2531       สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี  
|วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488
ครั้งที่ 8 วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2535     สมัยนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี  
|สมัย[[เสนีย์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 9   วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538   สมัยนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี  
|-
ครั้งที่ 10 วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539     สมัยนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี  
|ครั้งที่ 3
ครั้งที่ 11 วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543   สมัยนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี  
|วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2516
ครั้งที่ 12 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549   สมัยพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี            
|สมัย[[สัญญา ธรรมศักดิ์|นายสัญญา ธรรมศักดิ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี *
|-
|ครั้งที่ 4
|วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2512
|สมัย[[คึกฤทธิ์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 5
|วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2526
|สมัย[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอก เปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 6
|วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2529
|สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 7
|วันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2531
|สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 8
|วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2535
|สมัย[[อานันท์ ปันยารชุน|นายอานันท์ ปันยารชุน]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 9
|วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538
|สมัย[[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 10
|วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539
|สมัย[[บรรหาร ศิลปอาชา |นายบรรหาร ศิลปอาชา]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 11
|วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543
|สมัยนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
|-
|ครั้งที่ 12
|วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549
|สมัย[[ทักษิณ ชินวัตร|พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี
|}


* หมายเหตุ การยุบสภา ครั้งที่ 3 จะเป็นการยุบสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งทำหน้าที่รัฐสภา ตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 ส่วนครั้งอื่นๆ จะเป็นการยุบสภาผู้แทนราษฎร
* หมายเหตุ การยุบสภา ครั้งที่ 3 จะเป็นการยุบ[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ซึ่งทำหน้าที่รัฐสภา ตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 ส่วนครั้งอื่นๆ จะเป็นการยุบสภาผู้แทนราษฎร


==เหตุการณ์ที่นำไปสู่การยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538==
==เหตุการณ์ที่นำไปสู่การยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538==


ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2535   พรรคประชาธิปัตย์มีสมาชิกได้รับการเลือกตั้งเข้ามาจำนวนมากที่สุดถึง 79 ที่นั่ง จึงได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลผสม 5 พรรค ประกอบด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม ซึ่งนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์.''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึง  ได้จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=418304 สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.</ref> และได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี   คนที่ 20 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2535 และมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2535<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.</ref>
ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2535 [[พรรคประชาธิปัตย์]]มีสมาชิกได้รับการเลือกตั้งเข้ามาจำนวนมากที่สุดถึง 79 ที่นั่ง จึงได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลผสม 5 พรรค ประกอบด้วย [[พรรคประชาธิปัตย์]] [[พรรคความหวังใหม่]] [[พรรคพลังธรรม]] [[พรรคเอกภาพ]] และ[[พรรคกิจสังคม]] ซึ่งนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้รับความไว้วางใจจาก[[สภาผู้แทนราษฎร]]ให้ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์.''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=418304 สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.</ref> และได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 20 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2535 และมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2535<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.</ref>


ในการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาของคณะรัฐมนตรีชุดนี้ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2535 ในนโยบายเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรที่จะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน โดยมีนโยบายที่จะยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น ประการหนึ่ง คือ เร่งรัดการปฏิรูปที่ดินและการออกเอกสารสิทธิ เพื่อกระจายสิทธิการถือครองที่ดินให้แก่ราษฎรผู้ยากไร้และเกษตรกรที่ครอบครองทำกินอยู่ในที่ดินของรัฐประเภทต่างๆ โดยจะปรับปรุงกลไกการบริหารและการจัดการของรัฐ ตลอดจนจัดสรรงบประมาณให้สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 4 ล้านไร่<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึง      ได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/ bb_main31.htm สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552. </ref> นโยบายนี้ได้กลายเป็นประเด็นปัญหาที่ถูกหยิบยกขึ้นมาโจมตีรัฐบาลในเรื่องการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อว่า ส.ป.ก. 4-01 โดยกลุ่มการเมืองที่เรียกว่า กลุ่ม 16 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางส่วนจากพรรคชาติพัฒนาที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล และจากพรรคชาติไทยที่เป็นพรรคฝ่ายค้านในขณะนั้น ได้กล่าวหาว่า รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์นำที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นที่ดินของรัฐไปแจกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ประชาชนที่มิใช่เกษตรกรอย่างมีเงื่อนงำ หรือที่ดินที่แจกไปแล้ว บางส่วนเหมาะสำหรับทำที่พักตากอากาศมากกว่าทำเกษตรกรรม<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัย ถึงบรรหาร ศิลปอาชา''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.chartthai.or.th/old/history_th9.html สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.</ref>  
ใน[[การแถลงนโยบายต่อรัฐสภา]]ของคณะรัฐมนตรีชุดนี้ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2535 ในนโยบายเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรที่จะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน โดยมีนโยบายที่จะยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น ประการหนึ่ง คือ เร่งรัดการปฏิรูปที่ดินและการออกเอกสารสิทธิ เพื่อกระจายสิทธิการถือครองที่ดินให้แก่ราษฎรผู้ยากไร้และเกษตรกรที่ครอบครองทำกินอยู่ในที่ดินของรัฐประเภทต่างๆ โดยจะปรับปรุงกลไกการบริหารและการจัดการของรัฐ ตลอดจนจัดสรรงบประมาณให้สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 4 ล้านไร่<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/ bb_main31.htm สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552. </ref> นโยบายนี้ได้กลายเป็นประเด็นปัญหาที่ถูกหยิบยกขึ้นมาโจมตีรัฐบาลในเรื่องการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อว่า ส.ป.ก. 4-01 โดยกลุ่มการเมืองที่เรียกว่า กลุ่ม 16 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางส่วนจาก[[พรรคชาติพัฒนา]]ที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล และจากพรรคชาติไทยที่เป็นพรรคฝ่ายค้านในขณะนั้น ได้กล่าวหาว่า รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์นำที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นที่ดินของรัฐไปแจกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ประชาชนที่มิใช่เกษตรกรอย่างมีเงื่อนงำ หรือที่ดินที่แจกไปแล้ว บางส่วนเหมาะสำหรับทำที่พักตากอากาศมากกว่าทำเกษตรกรรม<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัย ถึงบรรหาร ศิลปอาชา''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.chartthai.or.th/old/history_th9.html สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.</ref>  


จากกรณีดังกล่าว ในปลายปี พ.ศ.2537 พรรรคร่วมฝ่ายค้านที่มีพรรคชาติไทยเป็นแกนนำ ได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล คือ นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งทั้งสองคนเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ถูกกล่าวหา แต่ปรากฎว่าทั้งสองคนได้ลาออกจากตำแหน่งไปก่อนที่จะมีการอภิปราย<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538,หน้า 5.</ref> โดยนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2537 และนายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ ขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2537 ดังนั้น จึงไม่มีการอภิปรายในญัตติดังกล่าว ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งนายประจวบ ไชยสาส์น เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แทน เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2537<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย, อ้างแล้ว.</ref>
จากกรณีดังกล่าว ในปลายปี พ.ศ.2537 พรรรคร่วมฝ่ายค้านที่มี[[พรรคชาติไทย]]เป็นแกนนำ ได้ยื่น[[ญัตติ]]ขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ[[รัฐมนตรี]]เป็นรายบุคคล คือ [[นิพนธ์ พร้อมพันธุ์|นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ[[สุเทพ เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งทั้งสองคนเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ถูกกล่าวหา แต่ปรากฎว่าทั้งสองคนได้ลาออกจากตำแหน่งไปก่อนที่จะมี[[การอภิปราย]]<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538,หน้า 5.</ref> โดยนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2537 และนายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ ขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2537 ดังนั้น จึงไม่มีการอภิปรายในญัตติดังกล่าว ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง[[ประจวบ ไชยสาส์น|นายประจวบ ไชยสาส์น]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ[[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์|นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แทน เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2537<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย, อ้างแล้ว.</ref>


อย่างไรก็ตาม การดำเนินการตรวจสอบการบริหาราชการราชการแผ่นดินของรัฐบาลคงดำเนินต่อไป เมื่อนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวน้าพรรคชาติไทย และผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ร่วมกับ  พรรคร่วมฝ่ายค้าน ได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีทั้งคณะอีกครั้งหนึ่ง โดยยังมุ่งประเด็นโจมตีในเรื่องการออกเอกสารสิทธิ หรือ ส.ป.ก. 4-01 เช่นเดิม ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรได้มีการพิจารณาญัตติดังกล่าวในคราวการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 4 และ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง)     ในวันที่ 17-18 พฤษภาคม พ.ศ.2538 และให้วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 เป็นวันลงมติ<ref>สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538.</ref><ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2538.</ref>
อย่างไรก็ตาม การดำเนินการตรวจสอบ[[การบริหาราชการราชการแผ่นดิน]]ของรัฐบาลคงดำเนินต่อไป เมื่อ[[บรรหาร ศิลปอาชา|นายบรรหาร ศิลปอาชา]] หัวน้าพรรคชาติไทย และ[[ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร]] ร่วมกับพรรคร่วมฝ่ายค้าน ได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีทั้งคณะอีกครั้งหนึ่ง โดยยังมุ่งประเด็นโจมตีในเรื่องการออกเอกสารสิทธิ หรือ ส.ป.ก. 4-01 เช่นเดิม ซึ่ง[[สภาผู้แทนราษฎร]]ได้มีการพิจารณาญัตติดังกล่าวในคราวการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 4 และ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) ในวันที่ 17-18 พฤษภาคม พ.ศ.2538 และให้วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 เป็นวันลงมติ<ref>สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538.</ref><ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2538.</ref>


หลังจากการอภิปรายสิ้นสุดลง พรรคพลังธรรมซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลพรรคหนึ่งในขณะนั้น ได้มีการประชุมพรรคเป็นการด่วน และได้มีมติที่จะงดออกเสียงในการลงมติ และรัฐมนตรีของพรรคทุกคนจะขอลาออกจากตำแหน่ง โดยให้เหตุผลว่ารัฐบาลไม่สามารถตอบโต้ข้อกล่าวหาของพรรคร่วมฝ่ายค้านได้ชัดเจน ในขณะเดียวกันสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรครัฐบาลบางคนซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่ม 16 ก็ประกาศว่าจะไม่ยกมือให้ฝ่ายรัฐบาล<ref>ป'''ระวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัยถึงบรรหาร ศิลปอาชา,''' อ้างแล้ว.</ref> นายชวน หลีกภัย ตัดสินใจประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร ในเวลา 12.00 น. ของวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 ก่อนการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเพียง 1 ชั่วโมง 30 นาที และกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์ ,''' อ้างแล้ว.</ref> รวมเวลาที่เป็นรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดินประมาณ 2 ปี 8 เดือน
หลังจาก[[การอภิปราย]]สิ้นสุดลง [[พรรคพลังธรรม]]ซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลพรรคหนึ่งในขณะนั้น ได้มีการประชุมพรรคเป็นการด่วน และได้มีมติที่จะงดออกเสียงในการลงมติ และรัฐมนตรีของพรรคทุกคนจะขอลาออกจากตำแหน่ง โดยให้เหตุผลว่ารัฐบาลไม่สามารถตอบโต้ข้อกล่าวหาของพรรคร่วมฝ่ายค้านได้ชัดเจน ในขณะเดียวกันสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรครัฐบาลบางคนซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่ม 16 ก็ประกาศว่าจะไม่ยกมือให้ฝ่ายรัฐบาล<ref>ป'''ระวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัยถึงบรรหาร ศิลปอาชา,''' อ้างแล้ว.</ref> นายชวน หลีกภัย ตัดสินใจประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร ในเวลา 12.00 น. ของวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 ก่อนการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเพียง 1 ชั่วโมง 30 นาที และกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์ ,''' อ้างแล้ว.</ref> รวมเวลาที่เป็นรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดินประมาณ 2 ปี 8 เดือน


โดยเหตุผลของการยุบสภาครั้งนี้ ตามที่ปรากฎในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538 มีความว่า '''"...โดยที่สภาผู้แทนราษฎรปัจจุบันประกอบด้วยพรรคการเมืองหลายพรรค แต่ไม่มีพรรคการเมืองใดที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงพอที่จะจัดตั้งรัฐบาลได้ จำเป็นต้องอาศัยพรรคการเมืองหลายพรรคเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล และในภาวการณ์ที่ผ่านมา ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่างๆหลายพรรคมีความแตกแยก จนไม่สามารถจะดำเนินการทางการเมืองได้อย่างมีเอกภาพ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาและอุปสรรค      ในการบริหารราชการแผ่นดิน และการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ขึ้นอีก  ก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนี้ก็ไม่อาจสิ้นสุดลงได้ อันนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของการปกครอง      ในระบอบประชาธิปไตย สมควรยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่... "'''<ref>พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2538, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 112 ตอนที่ 17 ก, วันที่ 19 พฤษภาคม 2538, หน้า 1-2.</ref>
โดยเหตุผลของการยุบสภาครั้งนี้ ตามที่ปรากฎในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538 มีความว่า '''"...โดยที่สภาผู้แทนราษฎรปัจจุบันประกอบด้วยพรรคการเมืองหลายพรรค แต่ไม่มีพรรคการเมืองใดที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงพอที่จะจัดตั้งรัฐบาลได้ จำเป็นต้องอาศัยพรรคการเมืองหลายพรรคเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล และในภาวการณ์ที่ผ่านมา ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่างๆหลายพรรคมีความแตกแยก จนไม่สามารถจะดำเนินการทางการเมืองได้อย่างมีเอกภาพ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการแผ่นดิน และการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ขึ้นอีกก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนี้ก็ไม่อาจสิ้นสุดลงได้ อันนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมควรยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่... "'''<ref>พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2538, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 112 ตอนที่ 17 ก, วันที่ 19 พฤษภาคม 2538, หน้า 1-2.</ref>


ได้มีงานวิจัยเรื่อง"วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก.4-01"พบว่า ในการขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในกรณีดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากมีการนำเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับการมอบเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 ให้กับผู้ที่ร่ำรวย ข่าวนี้ได้สร้างกระแสให้กลุ่มประชาชน สมัชชาต่างๆ ทำการชุมนุมประท้วงเพื่อเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้นำไปสู่การ    ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของฝ่ายค้านเพื่อตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล และให้รัฐบาลได้ชี้แจงต่อสิ่งที่เกิดขึ้น และเมื่อมีการวิเคราะห์วาทะการแสดงเหตุผลของฝ่ายค้าน ข้อสนับสนุนเป็น        การยกขึ้นมาอย่างลอยๆ เช่น ผิดกฎหมายปฏิรูปที่ดิน แต่มิได้อธิบายว่าเป็นกฎหมายที่ดินมาตราใด มีใจความสำคัญใด ที่จะพอนำมาอ้างอิงได้ เช่นเดียวกับการตอบชี้แจงของฝ่ายรัฐบาล กรณีการอ้างว่า         คนภูเก็ตจน แต่ไม่มีอะไรมายืนยันว่า คนภูเก็ตยากจนจริงๆ และหลักฐานที่ใช้ในการอภิปรายส่วนใหญ่      จะเป็นข้อกฎหมายที่นำมาหักล้างกันในอภิปราย เพื่อให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือว่าได้ปฏิบัตินโยบายตาม    หลักกฎหมายรัฐธรรมนูญไทยอย่างถูกต้อง<ref>พรทิพย์ เอื้ออุฬาร, '''วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก. 4-01,''' วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, บทคัดย่อ.(ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภายในประเทศ http://www.tkc.go.th/thesis/abstract.asp?item_ id=11655 สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.</ref>
ได้มีงานวิจัยเรื่อง "วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของ[[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] กรณี ส.ป.ก.4-01"พบว่า ในการขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในกรณีดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากมีการนำเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับการมอบเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 ให้กับผู้ที่ร่ำรวย ข่าวนี้ได้สร้างกระแสให้กลุ่มประชาชน สมัชชาต่างๆ ทำการชุมนุมประท้วงเพื่อเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้นำไปสู่การยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของฝ่ายค้านเพื่อตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล และให้รัฐบาลได้ชี้แจงต่อสิ่งที่เกิดขึ้น และเมื่อมีการวิเคราะห์วาทะการแสดงเหตุผลของฝ่ายค้าน ข้อสนับสนุนเป็นการยกขึ้นมาอย่างลอยๆ เช่น ผิดกฎหมายปฏิรูปที่ดิน แต่มิได้อธิบายว่าเป็นกฎหมายที่ดินมาตราใด มีใจความสำคัญใด ที่จะพอนำมาอ้างอิงได้ เช่นเดียวกับการตอบชี้แจงของฝ่ายรัฐบาล กรณีการอ้างว่า คนภูเก็ตจน แต่ไม่มีอะไรมายืนยันว่า คนภูเก็ตยากจนจริงๆ และหลักฐานที่ใช้ในการอภิปรายส่วนใหญ่จะเป็นข้อกฎหมายที่นำมาหักล้างกันในอภิปราย เพื่อให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือว่าได้ปฏิบัตินโยบายตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญไทยอย่างถูกต้อง<ref>พรทิพย์ เอื้ออุฬาร, '''วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก. 4-01,''' วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, บทคัดย่อ.(ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภายในประเทศ http://www.tkc.go.th/thesis/abstract.asp?item_ id=11655 สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.</ref>


==ผลของการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538==
==ผลของการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538==


หลังจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2538 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.           2538 ทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 13 กันยายน     พ.ศ. 2535 สิ้นสุดลง แต่คณะรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในขณะนั้น คงบริหารราชการแผ่นดินต่อไป                     (เป็นคณะรัฐมนตรีรักษาการ) จนกว่าจะมีการเลือกตั้งและมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ารับหน้าที่ และได้กำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538 ซึ่งการเลือกตั้งครั้งนี้มีสิ่งที่แตกต่างจากการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ คือ อายุของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้ลดจาก 20 ปีเหลือ 18 ปี เป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 แก้ไขเพิ่มเติม   (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ) พุทธศักราช ๒๕๓๘, '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ ก เล่ม ๑๑๒ หน้า , วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘.</ref>
หลังจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2538 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 สิ้นสุดลง แต่คณะรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในขณะนั้น คงบริหารราชการแผ่นดินต่อไป (เป็นคณะรัฐมนตรีรักษาการ) จนกว่าจะมีการเลือกตั้งและมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ารับหน้าที่ และได้กำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538 ซึ่งการเลือกตั้งครั้งนี้มีสิ่งที่แตกต่างจากการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ คือ อายุของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้ลดจาก 20 ปีเหลือ 18 ปี เป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538, '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 7 ก เล่ม 112 หน้า 1, วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538.</ref>


ในการเลือกตั้งวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538 มีผู้สมัครจากพรรคการเมืองต่างๆ รวม 14 พรรค มีจำนวนผู้ได้รับเลือกตั้ง จำนวน 391 คน ตามเกณฑ์คำนวณที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่าพรรคชาติไทย มีสมาชิกได้รับเลือกตั้งเป็นจำนวนมากที่สุด จำนวน 92 ที่นั่ง ส่วนพรรคประชาธิปัตย์ มีสมาชิกได้รับเลือกตั้งมาเป็นอันดับที่สอง จำนวน 86 ที่นั่ง ซึ่งน้อยกว่าพรรคชาติไทยเพียง     9 ที่นั่ง ภายหลังการเลือกตั้งพรรคชาติไทย พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย พรรคนำไทย และพรรคมวลชน ได้รวมตัวกันจัดตั้งรัฐบาล มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวมกันทั้งหมด 233 คน โดยมีพรรคชาติไทยเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ต่อมาสภาผู้แทนราษฎรได้       มีมติเลือกนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี พรรคชาติไทยเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นประธานรัฐสภาโดยตำแหน่งด้วย  และสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบให้   นายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คนที่ 21 ของประเทศไทย<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัยถึงบรรหาร ศิลปอาชา,''' อ้างแล้ว.</ref> โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2538<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย,''' อ้างแล้ว.</ref>
ในการเลือกตั้งวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538 มีผู้สมัครจากพรรคการเมืองต่างๆ รวม 14 พรรค มีจำนวนผู้ได้รับเลือกตั้ง จำนวน 391 คน ตามเกณฑ์คำนวณที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่าพรรคชาติไทย มีสมาชิกได้รับเลือกตั้งเป็นจำนวนมากที่สุด จำนวน 92 ที่นั่ง ส่วนพรรคประชาธิปัตย์ มีสมาชิกได้รับเลือกตั้งมาเป็นอันดับที่สอง จำนวน 86 ที่นั่ง ซึ่งน้อยกว่าพรรคชาติไทยเพียง 9 ที่นั่ง ภายหลังการเลือกตั้งพรรคชาติไทย พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย พรรคนำไทย และพรรคมวลชน ได้รวมตัวกันจัดตั้งรัฐบาล มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวมกันทั้งหมด 233 คน โดยมีพรรคชาติไทยเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ต่อมาสภาผู้แทนราษฎรได้ มีมติเลือก[[บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ|นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ]] สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี พรรคชาติไทยเป็น[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] ซึ่งเป็น[[ประธานรัฐสภา]]โดยตำแหน่งด้วย และสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบให้ [[บรรหาร ศิลปอาชา|นายบรรหาร ศิลปอาชา]] หัวหน้าพรรคชาติไทย ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] คนที่ 21 ของประเทศไทย<ref>'''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัยถึงบรรหาร ศิลปอาชา,''' อ้างแล้ว.</ref> โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2538<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย,''' อ้างแล้ว.</ref>


อย่างไรก็ตาม นายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี ได้บริหารราชการแผ่นดินอยู่ได้เพียงประมาณ 1 ปี ก็ต้องประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรเช่นกัน เพราะถูกพรรคประชาธิปัตย์ในฐานะพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ เมื่อการอภิปรายสิ้นสุดลง พรรคร่วมรัฐบาลยื่นข้อเสนอขอให้นายบรรหาร ลาออกจากตำแหน่ง แต่นายบรรหาร ได้ใช้วิธีการยุบสภาผู้แทนราษฎรแทนการลาออกจากตำแหน่ง เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539
อย่างไรก็ตาม [[บรรหาร ศิลปอาชา|นายบรรหาร ศิลปอาชา]] นายกรัฐมนตรี ได้บริหารราชการแผ่นดินอยู่ได้เพียงประมาณ 1 ปี ก็ต้องประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรเช่นกัน เพราะถูกพรรคประชาธิปัตย์ในฐานะพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ เมื่อการอภิปรายสิ้นสุดลง พรรคร่วมรัฐบาลยื่นข้อเสนอขอให้นายบรรหาร ลาออกจากตำแหน่ง แต่นายบรรหาร ได้ใช้วิธีการยุบสภาผู้แทนราษฎรแทนการลาออกจากตำแหน่ง เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>


==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
บรรทัดที่ 85: บรรทัดที่ 124:
==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


'''การยุบสภาผู้แทนราษฎร''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่         9 ตุลาคม 2552.
'''การยุบสภาผู้แทนราษฎร''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.


'''การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.
'''การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย''' (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.


คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์),''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.
คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์),''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.
บรรทัดที่ 97: บรรทัดที่ 136:
พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 112 ตอนที่ 17 ก วันที่ 19 พฤษภาคม 2538.
พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 112 ตอนที่ 17 ก วันที่ 19 พฤษภาคม 2538.


พรทิพย์ เอื้ออุฬาร, '''วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก. 4-01,''' วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, บทคัดย่อ. (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภายในประเทศ http://www.tkc.go.th/ thesis/abstract.asp?item_id=11655 สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.
พรทิพย์ เอื้ออุฬาร, '''วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก. 4-01,''' วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, บทคัดย่อ. (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภายในประเทศ http://www.tkc.go.th/ thesis/abstract.asp?item_id=11655 สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.


ราชบัณฑิตยสถาน, '''พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ. 2542,''' กรุงเทพฯ: บริษัท นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์ จำกัด, 2546.
ราชบัณฑิตยสถาน, '''พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ. 2542,''' กรุงเทพฯ: บริษัท นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์ จำกัด, 2546.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, '''รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง),''' วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538.
บรรทัดที่ 115: บรรทัดที่ 154:
*[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร]]
*[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร]]


[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]
[[หมวดหมู่ : การยุบสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:16, 6 กันยายน 2553

ผู้เรียบเรียง เชษฐา ทองยิ่ง

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา การยุบสภาถือเป็นกระบวนการหรือวิถีทางทางการเมืองของฝ่ายบริหารที่นำมาใช้ถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายนิติบัญญัติในการแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายบริหารด้วยกันเอง หรือฝ่ายนิติบัญญัติ(สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร)ด้วยกันเอง หรือใช้การยุบสภาเป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง โดยเฉพาะฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลในขณะที่มีคะแนนนิยมสูง รวมถึงกรณีที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญใหม่ หรือมีกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งฉบับใหม่ ซึ่งจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามนั้น พระมหากษัตริย์โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารจึงประกาศให้มีการยุบสภาเพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งขึ้นใหม่ เสมือนเป็นการคืนอำนาจให้ประชาชน ซึ่งเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นผู้ตัดสินใจเลือกผู้แทนชุดใหม่ขึ้นบริหารประเทศต่อไป

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการยุบสภา

1.1 ความหมายของการยุบสภา

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายคำว่า ยุบ ไว้หลายประการ ประการหนึ่งคือ เลิก หรือ ยกเลิก เช่น ยุบกระทรวง ยุบตำแหน่ง[1] ดังนั้น การยุบสภา จึงเป็นการยุบหรือยกเลิก หรือทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาสิ้นสุดลงก่อนครบวาระดำรงตำแหน่งนั่นเอง

การยุบสภา ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า dissolution of parliament หมายถึง การประกาศให้สิ้นสุดอายุของสภาสิ้นสุดลงก่อนครบวาระตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ[2] หรืออาจกล่าวว่า การยุบสภา หมายถึง การดำเนินการทางการเมืองเพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะใดขณะหนึ่งต้องพ้นจากสมาชิกภาพไปพร้อมกัน และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาที่ว่านี้ใช้กับสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น โดยไม่เกี่ยวข้องกับวุฒิสภา เพราะไม่มีการยุบวุฒิสภา[3]

เนื่องจากประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รัฐธรรมนูญได้มีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่[4] ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการยุบสภาผู้แทนราษฎรเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ที่จะตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรขึ้น โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อให้อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงก่อนครบกำหนดตามวาระ อันมีผลให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งสภาพ้นจากตำแหน่งพร้อมกัน และจะได้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งจะกระทำในวันเดียวกันทั้งประเทศ

1.2 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการยุบสภา

สำหรับประเทศไทย ในการยุบสภาแต่ละครั้ง จะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่ใช้บังคับในขณะนั้น หากพิจารณาแล้วพบว่า ส่วนใหญ่จะมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขสำคัญที่คล้ายคลึงกัน พอสรุปได้ดังนี้

1) การยุบสภาเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยคำแนะนำของฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นใหม่

2) การยุบสภาต้องกระทำเป็นพระราชกฤษฎีกา ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งเป็นการทั่วไปขึ้นใหม่เป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ ทั้งนี้ ภายในระยะเวลาที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ

3) การยุบสภาจะกระทำได้เฉพาะการยุบสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น จะยุบวุฒิสภามิได้ ซึ่งสมาชิกวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปจนครบวาระ

4) การยุบสภาจะทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง และคณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่งไปด้วย แต่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ามีการเลือกตั้งขึ้นใหม่ และคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีจะปฏิบัติได้เฉพาะเรื่องที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญเท่านั้น

5) การยุบสภาจะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน[5]

1.3 การยุบสภาในประเทศไทย

นับตั้งแต่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อปี พ.ศ.2475 จนถึงปัจจุบัน ได้มีการยุบสภามาแล้ว จำนวน 12 ครั้ง ดังนี้[6]

ครั้งที่ 1 วันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2481 สมัยพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 2 วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488 สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 3 วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2516 สมัยนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี *
ครั้งที่ 4 วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2512 สมัยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 5 วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2526 สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 6 วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2529 สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 7 วันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2531 สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 8 วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2535 สมัยนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 9 วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 สมัยนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 10 วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539 สมัยนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 11 วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543 สมัยนายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี
ครั้งที่ 12 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 สมัยพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี

* หมายเหตุ การยุบสภา ครั้งที่ 3 จะเป็นการยุบสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งทำหน้าที่รัฐสภา ตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 ส่วนครั้งอื่นๆ จะเป็นการยุบสภาผู้แทนราษฎร

เหตุการณ์ที่นำไปสู่การยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538

ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2535 พรรคประชาธิปัตย์มีสมาชิกได้รับการเลือกตั้งเข้ามาจำนวนมากที่สุดถึง 79 ที่นั่ง จึงได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลผสม 5 พรรค ประกอบด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม ซึ่งนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[7] และได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี คนที่ 20 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2535 และมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2535[8]

ในการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาของคณะรัฐมนตรีชุดนี้ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2535 ในนโยบายเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรที่จะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน โดยมีนโยบายที่จะยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น ประการหนึ่ง คือ เร่งรัดการปฏิรูปที่ดินและการออกเอกสารสิทธิ เพื่อกระจายสิทธิการถือครองที่ดินให้แก่ราษฎรผู้ยากไร้และเกษตรกรที่ครอบครองทำกินอยู่ในที่ดินของรัฐประเภทต่างๆ โดยจะปรับปรุงกลไกการบริหารและการจัดการของรัฐ ตลอดจนจัดสรรงบประมาณให้สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 4 ล้านไร่[9] นโยบายนี้ได้กลายเป็นประเด็นปัญหาที่ถูกหยิบยกขึ้นมาโจมตีรัฐบาลในเรื่องการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อว่า ส.ป.ก. 4-01 โดยกลุ่มการเมืองที่เรียกว่า กลุ่ม 16 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางส่วนจากพรรคชาติพัฒนาที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล และจากพรรคชาติไทยที่เป็นพรรคฝ่ายค้านในขณะนั้น ได้กล่าวหาว่า รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์นำที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นที่ดินของรัฐไปแจกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ประชาชนที่มิใช่เกษตรกรอย่างมีเงื่อนงำ หรือที่ดินที่แจกไปแล้ว บางส่วนเหมาะสำหรับทำที่พักตากอากาศมากกว่าทำเกษตรกรรม[10]

จากกรณีดังกล่าว ในปลายปี พ.ศ.2537 พรรรคร่วมฝ่ายค้านที่มีพรรคชาติไทยเป็นแกนนำ ได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล คือ นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งทั้งสองคนเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ถูกกล่าวหา แต่ปรากฎว่าทั้งสองคนได้ลาออกจากตำแหน่งไปก่อนที่จะมีการอภิปราย[11] โดยนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2537 และนายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ ขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2537 ดังนั้น จึงไม่มีการอภิปรายในญัตติดังกล่าว ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งนายประจวบ ไชยสาส์น เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แทน เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2537[12]

อย่างไรก็ตาม การดำเนินการตรวจสอบการบริหาราชการราชการแผ่นดินของรัฐบาลคงดำเนินต่อไป เมื่อนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวน้าพรรคชาติไทย และผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ร่วมกับพรรคร่วมฝ่ายค้าน ได้ยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีทั้งคณะอีกครั้งหนึ่ง โดยยังมุ่งประเด็นโจมตีในเรื่องการออกเอกสารสิทธิ หรือ ส.ป.ก. 4-01 เช่นเดิม ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรได้มีการพิจารณาญัตติดังกล่าวในคราวการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 4 และ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) ในวันที่ 17-18 พฤษภาคม พ.ศ.2538 และให้วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 เป็นวันลงมติ[13][14]

หลังจากการอภิปรายสิ้นสุดลง พรรคพลังธรรมซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลพรรคหนึ่งในขณะนั้น ได้มีการประชุมพรรคเป็นการด่วน และได้มีมติที่จะงดออกเสียงในการลงมติ และรัฐมนตรีของพรรคทุกคนจะขอลาออกจากตำแหน่ง โดยให้เหตุผลว่ารัฐบาลไม่สามารถตอบโต้ข้อกล่าวหาของพรรคร่วมฝ่ายค้านได้ชัดเจน ในขณะเดียวกันสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรครัฐบาลบางคนซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่ม 16 ก็ประกาศว่าจะไม่ยกมือให้ฝ่ายรัฐบาล[15] นายชวน หลีกภัย ตัดสินใจประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร ในเวลา 12.00 น. ของวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538 ก่อนการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเพียง 1 ชั่วโมง 30 นาที และกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538[16] รวมเวลาที่เป็นรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดินประมาณ 2 ปี 8 เดือน

โดยเหตุผลของการยุบสภาครั้งนี้ ตามที่ปรากฎในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538 มีความว่า "...โดยที่สภาผู้แทนราษฎรปัจจุบันประกอบด้วยพรรคการเมืองหลายพรรค แต่ไม่มีพรรคการเมืองใดที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงพอที่จะจัดตั้งรัฐบาลได้ จำเป็นต้องอาศัยพรรคการเมืองหลายพรรคเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล และในภาวการณ์ที่ผ่านมา ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่างๆหลายพรรคมีความแตกแยก จนไม่สามารถจะดำเนินการทางการเมืองได้อย่างมีเอกภาพ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการแผ่นดิน และการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ขึ้นอีกก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนี้ก็ไม่อาจสิ้นสุดลงได้ อันนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมควรยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่... "[17]

ได้มีงานวิจัยเรื่อง "วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก.4-01"พบว่า ในการขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในกรณีดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากมีการนำเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับการมอบเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 ให้กับผู้ที่ร่ำรวย ข่าวนี้ได้สร้างกระแสให้กลุ่มประชาชน สมัชชาต่างๆ ทำการชุมนุมประท้วงเพื่อเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้นำไปสู่การยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของฝ่ายค้านเพื่อตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล และให้รัฐบาลได้ชี้แจงต่อสิ่งที่เกิดขึ้น และเมื่อมีการวิเคราะห์วาทะการแสดงเหตุผลของฝ่ายค้าน ข้อสนับสนุนเป็นการยกขึ้นมาอย่างลอยๆ เช่น ผิดกฎหมายปฏิรูปที่ดิน แต่มิได้อธิบายว่าเป็นกฎหมายที่ดินมาตราใด มีใจความสำคัญใด ที่จะพอนำมาอ้างอิงได้ เช่นเดียวกับการตอบชี้แจงของฝ่ายรัฐบาล กรณีการอ้างว่า คนภูเก็ตจน แต่ไม่มีอะไรมายืนยันว่า คนภูเก็ตยากจนจริงๆ และหลักฐานที่ใช้ในการอภิปรายส่วนใหญ่จะเป็นข้อกฎหมายที่นำมาหักล้างกันในอภิปราย เพื่อให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือว่าได้ปฏิบัตินโยบายตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญไทยอย่างถูกต้อง[18]

ผลของการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2538

หลังจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2538 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ทำให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 สิ้นสุดลง แต่คณะรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในขณะนั้น คงบริหารราชการแผ่นดินต่อไป (เป็นคณะรัฐมนตรีรักษาการ) จนกว่าจะมีการเลือกตั้งและมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ารับหน้าที่ และได้กำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ ในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538 ซึ่งการเลือกตั้งครั้งนี้มีสิ่งที่แตกต่างจากการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ คือ อายุของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้ลดจาก 20 ปีเหลือ 18 ปี เป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538[19]

ในการเลือกตั้งวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2538 มีผู้สมัครจากพรรคการเมืองต่างๆ รวม 14 พรรค มีจำนวนผู้ได้รับเลือกตั้ง จำนวน 391 คน ตามเกณฑ์คำนวณที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่าพรรคชาติไทย มีสมาชิกได้รับเลือกตั้งเป็นจำนวนมากที่สุด จำนวน 92 ที่นั่ง ส่วนพรรคประชาธิปัตย์ มีสมาชิกได้รับเลือกตั้งมาเป็นอันดับที่สอง จำนวน 86 ที่นั่ง ซึ่งน้อยกว่าพรรคชาติไทยเพียง 9 ที่นั่ง ภายหลังการเลือกตั้งพรรคชาติไทย พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย พรรคนำไทย และพรรคมวลชน ได้รวมตัวกันจัดตั้งรัฐบาล มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวมกันทั้งหมด 233 คน โดยมีพรรคชาติไทยเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ต่อมาสภาผู้แทนราษฎรได้ มีมติเลือกนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี พรรคชาติไทยเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นประธานรัฐสภาโดยตำแหน่งด้วย และสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบให้ นายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คนที่ 21 ของประเทศไทย[20] โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2538[21]

อย่างไรก็ตาม นายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี ได้บริหารราชการแผ่นดินอยู่ได้เพียงประมาณ 1 ปี ก็ต้องประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรเช่นกัน เพราะถูกพรรคประชาธิปัตย์ในฐานะพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ เมื่อการอภิปรายสิ้นสุดลง พรรคร่วมรัฐบาลยื่นข้อเสนอขอให้นายบรรหาร ลาออกจากตำแหน่ง แต่นายบรรหาร ได้ใช้วิธีการยุบสภาผู้แทนราษฎรแทนการลาออกจากตำแหน่ง เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ.2542, กรุงเทพฯ : บริษัท นาน พับลิเคชั่นส์ จำกัด 2546, หน้า 911.
  2. การยุบสภาผู้แทนราษฎร. (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.
  3. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย(ฉบับสมบูรณ์), กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548 หน้า 724.
  4. เรื่องเดียวกัน, หน้า 724.
  5. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด, 2548.
  6. การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.
  7. ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์. (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=418304 สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.
  8. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb_main11.htm สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.
  9. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/ bb_main31.htm สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.
  10. ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัย ถึงบรรหาร ศิลปอาชา (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.chartthai.or.th/old/history_th9.html สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.
  11. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง), วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538,หน้า 5.
  12. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย, อ้างแล้ว.
  13. สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง), วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538.
  14. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง), วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2538.
  15. ระวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัยถึงบรรหาร ศิลปอาชา, อ้างแล้ว.
  16. ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์ , อ้างแล้ว.
  17. พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2538, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 17 ก, วันที่ 19 พฤษภาคม 2538, หน้า 1-2.
  18. พรทิพย์ เอื้ออุฬาร, วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก. 4-01, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, บทคัดย่อ.(ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภายในประเทศ http://www.tkc.go.th/thesis/abstract.asp?item_ id=11655 สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.
  19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538, ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 7 ก เล่ม 112 หน้า 1, วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538.
  20. ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัยถึงบรรหาร ศิลปอาชา, อ้างแล้ว.
  21. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย, อ้างแล้ว.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

มานิตย์ จุมปา. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) หมวดองค์กรทางการเมือง เรื่องการยุบสภา, กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, 2544.

สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ประวัติศาสตร์การเมืองไทยตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2539.

ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ์. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (2475-2517), กรุงเทพฯ : ช.ชุมนุมช่าง, 2517.

บรรณานุกรม

การยุบสภาผู้แทนราษฎร (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.

การยุบสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์), กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.

ประวัติศาสตร์การเมืองเรื่องการขึ้นสู่อำนาจของพรรคประชาธิปัตย์ (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=418304 สืบค้น ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2552.

ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ช่วง พ.ศ.2535-2538 จากชวน หลีกภัย ถึงบรรหาร ศิลปอาชา (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.chartthai.or.th/old/history_th9.html สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.

พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 17 ก วันที่ 19 พฤษภาคม 2538.

พรทิพย์ เอื้ออุฬาร, วาทะในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย กรณี ส.ป.ก. 4-01, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, บทคัดย่อ. (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภายในประเทศ http://www.tkc.go.th/ thesis/abstract.asp?item_id=11655 สืบค้น ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2552.

ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ. 2542, กรุงเทพฯ: บริษัท นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์ จำกัด, 2546.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 4 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง), วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2538.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักรายงานการประชุมและชวเลข, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18 ปีที่ 3 ครั้งที่ 5 (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง), วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2538.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด, 2548.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/ bb_main 31.htm สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย, (ข้อมูลออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/ bb_main11.htm สืบค้น ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552.

ดูเพิ่มเติม