ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดฉาก"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Tora (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{รอผู้ทรง}}
'''ผู้เรียบเรียง''' โอฬาร  ถิ่นบางเตียว และ  รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
 
----
----


'''ผู้เรียบเรียง''' โอฬาร  ถิ่นบางเตียว
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----


การจัดฉาก หมายถึง การสร้างเรื่องราวตบตาให้ดูเหมือนจริงของนักการเมืองและผู้เกี่ยวข้องในทางการเมือง เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามหรือประชาชนหลงเชื่อคิดวานั้นคือความจริง เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองในลักษณะใดลักษณะหนึ่งของบรรดานักการเมืองและผู้เกี่ยวข้อง     
'''“การจัดฉาก”''' หมายถึง การสร้างเรื่องราวตบตาให้ดูเหมือนจริงของ[[นักการเมือง]]และผู้เกี่ยวข้องในทางการเมือง เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามหรือสาธารณชนหลงเชื่อคิดว่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นคือความจริง เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองในลักษณะใดลักษณะหนึ่งของบรรดานักการเมืองและผู้เกี่ยวข้อง     
 
เป็นกลยุทธ์ทางการเมืองที่สำคัญของนักการเมืองที่ใช้ในเวทีการเมือง เช่น การจัดฉากวางวางระเบิดให้ดูเหมือนจริงของนักการเมืองเพื่อเรียกคะแนนสงสาร หรือเบี่ยงเบนประเด็นทางการเมืองในขณะนั้นโดยที่ตนเองเป็นตนเองเป็นคนวางแผนดำเนินการเอง 


การเผาแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ของตนเองแล้วกล่าวหาคูแข่งฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นผู้กระทำเพื่อสร้างคะแนนสงสาร หรือแม้กระทั่งการวางแผนลอบสังหารหรือการทำร้ายร่างกายแล้ว  การกล่าวหาคู่แข่งทางการเมืองว่าเป็นผู้กระทำ ก็เป็นการทำลายคู่แข่งทางการเมืองและสร้างคะแนนสงสารให้แก่ตนเอง  ถ้าประชาชนหลงเชื่อแล้วสามารถใช้เป็นสร้างเงื่อนและความชอบธรรมในการเล่นงานและโจมตีคู่แข่งฝ่ายตรงข้าม
การจัดฉากถือเป็นกลยุทธทางการเมืองที่สำคัญของนักการเมืองที่ใช้ในเวทีการเมือง เช่น การจัดฉากวางวางระเบิดให้ดูเหมือนจริงของนักการเมืองเพื่อเรียกคะแนนสงสาร หรือเบี่ยงเบนประเด็นทางการเมืองในขณะนั้นโดยที่ตนเองเป็นตนเองเป็นคนวางแผนดำเนินการเอง 


การเผาแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ของตนเองแล้วกล่าวหาคูแข่งฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นผู้กระทำเพื่อสร้างคะแนนสงสาร หรือแม้กระทั่งการวางแผนลอบสังหารหรือการทำร้ายร่างกาย แล้วกล่าวหาคู่แข่งทางการเมืองว่าเป็นผู้กระทำ ก็เป็นการทำลาย[[คู่แข่งทางการเมือง]]และสร้างคะแนนสงสารให้แก่ตนเอง โดยเชื่อว่าหากประชาชนหลงเชื่อแล้ว ก็สามารถใช้เป็นสร้างเงื่อนและ[[ความชอบธรรม]]ในการเล่นงานและโจมตีคู่แข่งฝ่ายตรงข้ามได้


[[หมวดหมู่:กิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]
[[หมวดหมู่:กิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:30, 3 กันยายน 2553

ผู้เรียบเรียง โอฬาร ถิ่นบางเตียว และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


“การจัดฉาก” หมายถึง การสร้างเรื่องราวตบตาให้ดูเหมือนจริงของนักการเมืองและผู้เกี่ยวข้องในทางการเมือง เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามหรือสาธารณชนหลงเชื่อคิดว่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นคือความจริง เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองในลักษณะใดลักษณะหนึ่งของบรรดานักการเมืองและผู้เกี่ยวข้อง

การจัดฉากถือเป็นกลยุทธทางการเมืองที่สำคัญของนักการเมืองที่ใช้ในเวทีการเมือง เช่น การจัดฉากวางวางระเบิดให้ดูเหมือนจริงของนักการเมืองเพื่อเรียกคะแนนสงสาร หรือเบี่ยงเบนประเด็นทางการเมืองในขณะนั้นโดยที่ตนเองเป็นตนเองเป็นคนวางแผนดำเนินการเอง

การเผาแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ของตนเองแล้วกล่าวหาคูแข่งฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นผู้กระทำเพื่อสร้างคะแนนสงสาร หรือแม้กระทั่งการวางแผนลอบสังหารหรือการทำร้ายร่างกาย แล้วกล่าวหาคู่แข่งทางการเมืองว่าเป็นผู้กระทำ ก็เป็นการทำลายคู่แข่งทางการเมืองและสร้างคะแนนสงสารให้แก่ตนเอง โดยเชื่อว่าหากประชาชนหลงเชื่อแล้ว ก็สามารถใช้เป็นสร้างเงื่อนและความชอบธรรมในการเล่นงานและโจมตีคู่แข่งฝ่ายตรงข้ามได้