ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนิท วรปัญญา"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' ขัตติยา ทองทา '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทควา...
 
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:


----
----
นายสนิท วรปัญญา อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก มีความตั้งใจว่าหลังเกษียณอายุราชการจะเป็นที่ปรึกษาให้แก่พรรคการเมือง แต่เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ จึงลงสมัครรับเลือกตั้งและได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี จากนั้น ได้สมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภา ด้วยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในงานราชการ และบุคลิกภาพที่มีความประนีประนอม จึงได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา และเป็นประธานวุฒิสภาคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง


[[ภาพ:สนิท.JPG]]
[[ภาพ:สนิท.JPG]]


==ประวัตินายสนิท วรปัญญา==                           
นายสนิท วรปัญญา อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก มีความตั้งใจว่าหลังเกษียณอายุราชการจะเป็นที่ปรึกษาให้แก่พรรคการเมือง แต่เมื่อมี[[พระราชกฤษฎีกา]]ประกาศให้มี[[การเลือกตั้ง]]สมาชิกวุฒิสภาเป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงลงสมัครรับเลือกตั้งและได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี จากนั้นได้สมัครรับเลือกเป็น[[ประธานวุฒิสภา]] ด้วยความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ในงานราชการและบุคลิกภาพที่มีความประนีประนอม จึงได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภาและเป็น[[ประธานวุฒิสภา]]คนแรกที่มาจาก[[การเลือกตั้ง]]


นายสนิท วรปัญญา เกิดเมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๔๘๒ ที่ตำบลศรีเทพ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ สมรสกับนางมณฑา เชวงศักดิ์สงคราม บุตรีหลวงเชวงศักดิ์สงคราม มีบุตร ๓ คน และเป็นน้องชายของนายนิยม วรปัญญา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี 
==ประวัตินายสนิท วรปัญญา==
การศึกษา  เข้ารับการศึกษาในระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนประจำตำบลศรีเทพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนมัธยมประจำอำเภอวิเชียรบุรี และโรงเรียนมัธยมประจำอำเภอ      โคกสำโรง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร ระดับปริญญาตรี                    ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ ระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา สาขาเศรษฐศาสตร์ ได้รับ Certificate in Local Administration (Berlin), Certificate in International Marketing (Tuft University) และศึกษาจบวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๓๐ 
การรับราชการ  ปี ๒๕๐๓ เป็นพนักงานโครงการของสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ปี ๒๕๐๘ เป็นเศรษฐกร กรมวิเทศสหการ กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ  ปี ๒๕๑๐ เป็นอาจารย์ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์  ปี ๒๕๑๔ เป็นหัวหน้ากองคลังสินค้า องค์การคลังสินค้า ปี ๒๕๑๖ เป็นหัวหน้ากองแผนงานฯ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์  ปี ๒๕๑๘ เป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักงานประกันภัย  ปี ๒๕๒๒ เป็นนักบริหาร ๙ และรองผู้อำนวยการสำนักงานประกันภัย  ปี ๒๕๒๖ เป็นรองอธิบดีกรมการค้าภายใน  ปี ๒๕๒๙ เป็นที่ปรึกษาการพาณิชย์ ๑๐ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์  ปี ๒๕๓๑ เป็นอธิบดีกรมการค้าภายใน(๑)  ปี ๒๕๓๒ เป็นอธิบดีกรมการประกันภัย  ปี ๒๕๓๗ เป็นรองปลัดกระทรวงพาณิชย์ และรักษาการปลัดกระทรวงพาณิชย์            ปี ๒๕๓๘  เป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก และอยู่ในตำแหน่งนี้จนเกษียณอายุราชการใน        ปี ๒๕๔๒(๒)         
การดำรงตำแหน่งทางการเมือง  ๔ มีนาคม ๒๕๔๓ เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี  ๔ สิงหาคม ๒๕๔๓ เป็นประธานวุฒิสภา 
หน้าที่พิเศษอื่นๆ  อาทิ  อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี รักษาการฯ ผู้อำนวยการองค์การคลังสินค้า ประธานกรรมการน้ำตาลทราย ตามพระราชบัญญัติอ้อยและน้ำตาลทราย พ.ศ. ๒๕๒๗  และกรรมการบริหาร บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด(๓) 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยที่ได้รับ  มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (มปช.)(๔)   


๒. การก้าวสู่ตำแหน่งประธานวุฒิสภา
'''นายสนิท วรปัญญา''' เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2482 ที่ตำบลศรีเทพ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ สมรสกับนางมณฑา เชวงศักดิ์สงคราม บุตรีหลวงเชวงศักดิ์สงคราม มีบุตร 3 คน และเป็นน้องชายของนายนิยม วรปัญญา สมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎร]]จังหวัดลพบุรี


ชีวิตหลังเกษียณอายุราชการ  นายสนิท วรปัญญา ได้ตัดสินใจเดินเข้าสู่ถนนสายการเมือง เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๓ ด้วยการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี และได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี โดยมีคะแนนเป็นอันดับ ๑ ได้รับเลือกถึง ๑๓๓,๘๗๒ คะแนน เมื่อจัดอันดับคะแนนของผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภาทั่วประเทศแล้ว ปรากฏว่า อยู่ในอันดับ ๑๓ ซึ่ง นายสนิท วรปัญญา ได้กล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ได้คะแนนจากประชาชนจังหวัดลพบุรีอย่างท่วมท้นว่า มาจากผลงานที่ทำไว้ตั้งแต่ยังรับราชการที่กระทรวงพาณิชย์ เมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก ได้ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศด้วยการผลักดันสินค้าส่งออกในภาวะวิกฤตจากตัวเลขติดลบเป็นตัวเลขส่งออกบวกขึ้นมา ๖-๗ %  การคิดป้ายสินค้าตราประเทศไทย  การนำกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา มาตรา ๓๐๑ มาใช้ว่าด้วยเรื่อง การปลอมแปลงสินค้า รวมทั้ง การตั้ง “กองธุรกิจบริการ” ในกรมส่งเสริมการส่งออก  มีหน้าที่ดูแลเรื่อง ธุรกิจบริการ ที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับทุกประเภท และเมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการประกันภัย ได้ผลักดันให้มีการทำประกันภัยรถยนต์ สิ่งเหล่านี้ถือเป็นผลงานที่ได้สร้างชื่อเสียงจนเป็นที่รู้จักของประชาชนทั้งประเทศ 
'''การศึกษา''' เข้ารับการศึกษาในระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนประจำตำบลศรีเทพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนมัธยมประจำอำเภอวิเชียรบุรี และโรงเรียนมัธยมประจำอำเภอโคกสำโรง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร ระดับปริญญาตรี ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ ระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา สาขาเศรษฐศาสตร์ ได้รับ Certificate in Local Administration (Berlin), Certificate in International Marketing (Tuft University) และศึกษาจบวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 30
ความรู้สึกที่มีต่อการสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา  นายสนิท วรปัญญา ได้กล่าวถึงความรู้สึกส่วนตัวว่า การสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาครั้งนี้ ไม่ใช่เป็นความตั้งใจแรกหลังเกษียณจากชีวิตราชการ เพราะได้วางแผนชีวิตหลังเกษียณไว้ว่าจะเป็นที่ปรึกษาให้แก่พรรคการเมืองเท่านั้น เนื่องจากความรู้ความสามารถกับประสบการณ์ที่อยู่ในวงราชการมาค่อนชีวิตนั้นน่าจะยังสามารถทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติได้ไม่มากก็น้อย แต่เมื่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เปิดช่องให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งได้ จึงคิดว่าการทำงานในตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาน่าจะเหมาะมากกว่าการเป็นที่ปรึกษาพรรคการเมือง เพราะจะช่วยผลักดันแนวคิดของตนหลายเรื่องที่ยังค้างคาสมัยรับราชการให้ประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่า แล้วยังเป็นตำแหน่งที่ปลอดจากพรรคการเมืองอีกด้วย()  
จากสมาชิกวุฒิสภาก้าวสู่ตำแหน่งประธานวุฒิสภา  หลังจากที่มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตั้งแต่วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๓ และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในอีกหลายจังหวัดรวม ๕ ครั้ง จนได้สมาชิกวุฒิสภาครบจำนวน ๒๐๐ คน วุฒิสภาได้มีการนัดประชุมเพื่อเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา ในวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๓ มีผู้ที่แสดงเจตจำนงและลงชื่อสมัครเพื่อรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาจำนวน ๗ คน คือ ๑. นายปราโมทย์ ไม้กลัด ๒. พันเอก สมคิด ศรีสังคม        ๓. นายสนิท วรปัญญา ๔. พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ๕. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๖. นายชุมพล ศิลปอาชา ๗. พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ โดยก่อนถึงกำหนดวันนัดประชุมเพื่อเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภานั้น สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได้จัดให้มีการประชุมสมาชิกวุฒิสภานอกรอบล่วงหน้า ๑ วัน เมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๓ เป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกวุฒิสภาที่สมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในที่ประชุมวุฒิสภา เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภาได้ใช้วิจารณญาณในการเลือกประธานและรองประธานวุฒิสภาต่อไป(๖)   
การแสดงวิสัยทัศน์ในการเลือกประธานวุฒิสภา  นายสนิท วรปัญญา สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี ได้กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ว่า มีเพื่อนสมาชิกวุฒิสภาแนะนำให้ตนสมัครเป็นประธานวุฒิสภา ทั้งที่ตนไม่เคยคิดมาก่อน แต่เมื่อมองเหตุการณ์บ้านเมืองย้อนยุคไปแล้วเห็นว่า ตนผ่านการทำงานมามากพอสมควร เคยเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี สมัย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์  และได้มีส่วนร่วมในการออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ ๖๖/๒๓ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการเตรียมปัดฝุ่นโครงการพัฒนาชายฝั่งภาคตะวันออก ตนจึงมองเห็นว่า งานของวุฒิสภาไม่ใช่เป็นงานการออกกฎหมายปกครองประชาชนอย่างเดียว แต่เป็นการเตรียมกฎหมาย กฎระเบียบที่จะนำพาประเทศสู่ความเจริญรุ่งเรือง แข่งขันกับนานาประเทศได้ จึงจำเป็นต้องหาคนที่มีความรู้ มีประสบการณ์ในเรื่องราวของเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของประเทศมานำวุฒิสภาไปสู่ความก้าวหน้า
ในขณะนั้น ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาแล้ว ๘ ฉบับ เป็นแผนที่รัฐบาลร่างขึ้นโดยความต้องการของพรรคการเมืองของบุคคลที่อยากเป็นรัฐบาลสั่งการให้เจ้าหน้าที่ทำ แต่ไม่ได้เป็นความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ดังนั้น ตนเชื่อมั่นว่า              พื้นฐานความรู้ของตนจะมีส่วนช่วยให้วุฒิสภาสามารถออกกฎหมายที่เป็นประโยชน์ในทางเศรษฐกิจได้ตามความต้องการของประเทศ ที่ผ่านมาวุฒิสภาออกกฎหมายเศรษฐกิจที่ล้มเหลวมามาก เป็นผลให้บ้านเมืองแทบล่มสลาย ภาคการเงินล้มเหลวเพราะ วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งทำงานไปตามความต้องการของพรรคการเมือง แต่วุฒิสภาชุดนี้มาจากหลายอาชีพ ตั้งใจในทิศทางเดียวกัน มาร่วมกันทำงานอยู่บนพื้นฐานกรอบของรัฐธรรมนูญที่ประกอบด้วย การกลั่นกรองกฎหมาย และการตรวจสอบ ที่ตนต้องการเพิ่มการกำกับดูแลการบริหารภาครัฐด้วย มีการแต่งตั้งถอดถอนบุคคลจากตำแหน่งขององค์กรอิสระ ถ้าผู้นำของวุฒิสภามีวิสัยทัศน์กว้าง มีแนวความคิดที่เปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนสมาชิก จะสามารถสร้างระบบการทำงานที่เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพตรวจสอบได้
สิ่งที่ตนอยากทำและทำให้เกิดผล ประการแรก คือ อยากเห็นวุฒิสภาเป็นสภาของความซื่อสัตย์ โปร่งใส เที่ยงธรรม สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน เป็นแบบอย่างที่ดีของคนในชาติ เป็นที่เชื่อถือของสังคมโลก ประการที่ ๒ สมาชิกวุฒิสภาต้องเป็นตัวแทนของคนในชาติที่จะธำรงความสง่างาม ช่วยกันรักษาศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของชาติ ส่งเสริมให้ประชาชน องค์กรเอกชน กลุ่มอาชีพ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของบ้านเมือง และวุฒิสภาต้องเป็นผู้นำในการส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายที่ดี ที่มีประโยชน์ให้เกิดผลปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและเที่ยงธรรม รวมทั้ง จะแต่งตั้งคณะกรรมาธิการศึกษาแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ล้าหลัง และสนับสนุนรัฐบาลที่มีความรู้ความสามารถ เที่ยงธรรม ชอบธรรม ให้บริหารประเทศอย่างต่อเนื่อง             
หากตนได้มีโอกาสเป็นประธานวุฒิสภา ตนจะเปิดใจให้กว้างรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนสมาชิก จะมีคณะทำงาน นักวิชาการเข้ามาช่วยกันทำงานทุกรูปแบบที่จะเป็นไปได้ และจะขอให้มีการทบทวนตำแหน่งประธานวุฒิสภาทุกปี ถ้าครบ ๒ ปี หรือ ๒ ปีครึ่ง ซึ่งมีอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่ ตนยินดีจะหยุดทำงานแล้วมอบหน้าที่ให้ทุกท่านกลับไปช่วยกันทำ นอกจากนี้ จะจัดหาสถานที่ที่เหมาะสมในการทำงานให้เป็นที่ตั้งของวุฒิสภา และในระยะยาวตนอยากเห็นรัฐสภาอยู่ใน              ที่ที่สง่างามเป็นแลนด์มาร์ก (Land mark) เป็นองค์กรสำคัญที่สุดของประเทศ(๗)   
การเลือกประธานวุฒิสภา  เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๓ วุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งได้เปิดการประชุมวุฒิสภาเป็นครั้งแรก มีวาระสำคัญ คือ การเลือกประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา โดยมี นายแคล้ว นรปติ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น ทำหน้าที่ประธานวุฒิสภาชั่วคราวแทน พันเอก สมคิด ศรีสังคม ประธานวุฒิสภาชั่วคราว ที่ถูกเสนอชื่อสมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาด้วย ในการเลือกประธานวุฒิสภานั้น สมาชิกวุฒิสภาจะเขียนชื่อผู้ที่สมควรได้รับเลือกเป็นประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภาใส่ซองเป็นการลงคะแนนลับ และผู้ที่ได้รับเลือกจะต้องมีคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิก คือ ๑๐๑ เสียง หากมีคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งจะต้องเลือกรอบ ๒ โดยนำรายชื่อผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด ๒ ลำดับแรกมาให้สมาชิกวุฒิสภาเลือก ผู้ที่ได้รับเลือกในรอบ ๒ จะต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมาก ถ้าหากคะแนนเสียงเท่ากัน จะใช้วิธีการจับสลาก
ผลการลงคะแนนในรอบแรกปรากฏว่า ไม่มีผู้ใดได้รับคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง โดยนายสนิท วรปัญญา ได้ ๗๑ คะแนน พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ได้ ๕๙ คะแนน นายชุมพล ศิลปอาชา ได้ ๕๐ คะแนน นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ได้ ๘ คะแนน พันเอก สมคิด ศรีสังคม ได้ ๔ คะแนน  พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ ได้ ๔ คะแนน นายปราโมทย์ ไม้กลัด ได้ ๔ คะแนน จึงต้องมีการเลือกใน  รอบ ๒ ระหว่างผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุด ๒ อันดับแรก คือ นายสนิท วรปัญญา กับ พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ซึ่งผลปรากฏว่า นายสนิท วรปัญญา ได้ ๑๑๕ คะแนน และพลตรี มนูญกฤต รูปขจร ได้ ๘๓ คะแนน มีสมาชิกวุฒิสภางดออกเสียงจำนวน ๒ คน ทำให้นายสนิท วรปัญญา ได้รับเลือกให้เป็นประธานวุฒิสภาคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง()  


. การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานวุฒิสภา
'''การรับราชการ ''' ปี 2503 เป็นพนักงานโครงการของสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ปี 2508 เป็นเศรษฐกร กรมวิเทศสหการ กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ปี 2510 เป็นอาจารย์ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี 2514 เป็นหัวหน้ากองคลังสินค้า องค์การคลังสินค้า ปี 2516 เป็นหัวหน้ากองแผนงานฯ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปี 2518 เป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักงานประกันภัย ปี 2522 เป็นนักบริหาร 9 และรองผู้อำนวยการสำนักงานประกันภัย ปี 2526 เป็นรองอธิบดีกรมการค้าภายใน ปี 2529 เป็นที่ปรึกษาการพาณิชย์ 10 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปี 2531 เป็นอธิบดีกรมการค้าภายใน<ref>สนิท วรปัญญา, '''เสถียรภาพของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย''' (กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2531), หน้าประวัติผู้เขียน.</ref> ปี 2532 เป็นอธิบดีกรมการประกันภัย ปี 2537 เป็นรองปลัดกระทรวงพาณิชย์ และรักษาการปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปี 2538 เป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก และอยู่ในตำแหน่งนี้จนเกษียณอายุราชการในปี 2542<ref>“สนิท วรปัญญา ‘ชาย 2 เสียง’,” '''ไทยโพสต์,''' 26 กันยายน 2543, หน้า 4.</ref>


หลังจากที่นายสนิท วรปัญญา เข้าปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานวุฒิสภา ก็ถูกสมาชิกวุฒิสภาวิพากษ์วิจารณ์ถึงความบกพร่องในการทำงานหลายเรื่อง อาทิ การไม่แม่นในข้อบังคับการประชุม การทำผิดข้อตกลงการอภิปรายในที่ประชุม และการโต้เถียงกับสมาชิกวุฒิสภา รวมทั้ง เหตุการณ์ที่ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อวุฒิสภา ความเชื่อถือต่อประธานวุฒิสภาลดลง ดังนี้
'''การดำรงตำแหน่งทางการเมือง''' 4 มีนาคม 2543 เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี 4 สิงหาคม 2543 เป็น[[ประธานวุฒิสภา]] หน้าที่พิเศษอื่นๆ อาทิ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี รักษาการฯ ผู้อำนวยการองค์การคลังสินค้า ประธานกรรมการน้ำตาลทราย ตามพระราชบัญญัติอ้อยและน้ำตาลทราย พ.ศ. 2527 และกรรมการบริหาร บริษัทอ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด<ref>สนิท วรปัญญา, หน้าประวัติผู้เขียน.</ref> เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยที่ได้รับ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (มปช.)<ref>“สนิท วรปัญญา ประธานวุฒิฯ 2 ปี,” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์,''' 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 8.</ref>
การแต่งตั้งที่ปรึกษาด้านการประชาสัมพันธ์  นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา ได้มีคำสั่งแต่งตั้งนายโฆสิต สุวินิจจิต ประธานกรรมการ บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน) เป็นที่ปรึกษาประธานวุฒิสภาด้านการประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๓  โดยไม่ได้รับเงินเดือน เพื่อทำหน้าที่สื่อสารกับประชาชนให้เข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ ส่วนสาเหตุการแต่งตั้งตำแหน่งดังกล่าวอาจเป็นเพราะวุฒิสภาถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมในหลายเรื่อง โดยเฉพาะการล็อบบี้ตำแหน่งต่างๆ ของสมาชิกวุฒิสภา อาทิ การเลือกประธานวุฒิสภา หรือ การเลือกประธานคณะกรรมาธิการสามัญ(๙)   
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๔  ในวาระที่ ๓ เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๓ นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา ได้ใช้สิทธิลงคะแนน ๒ ครั้ง ในครั้งแรกให้ความเห็นชอบในฐานะสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี แต่ผลการนับคะแนนปรากฏว่า มีผู้เห็นชอบและผู้ไม่เห็นชอบ ๖๙ เสียง เท่ากัน จึงใช้สิทธิครั้งที่ ๒ ให้ความเห็นชอบในฐานะประธานวุฒิสภา เป็นผลให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภาด้วยคะแนน ๗๐ ต่อ ๖๙ เสียง ทำให้สมาชิกวุฒิสภาส่วนหนึ่งเห็นว่า การใช้สิทธิของประธานวุฒิสภาแม้ไม่ผิดข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาหรือทำถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ แต่ตาม  ธรรมเนียมปฏิบัติไม่ควรใช้สิทธิลงคะแนน ๒ ครั้ง จะทำให้ถูกมองว่าวางตัวไม่เป็นกลาง ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อวุฒิสภา และจะกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในอนาคต จึงนำไปสู่การเคลื่อนไหวกดดันให้ประธานวุฒิสภาทบทวนบทบาทของตนเอง(๑๐) 
การมีหุ้นในบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา มีชื่อร่วมลงทุนทำธุรกิจกับ นางนงเยาว์ พลางกูร ในบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด จำนวน ๑,๐๐๐ หุ้น ตั้งแต่  ปี ๒๕๓๓ โดยนางนงเยาว์ เป็น ๑ ใน ๗ หุ้นส่วนที่ทำธุรกิจร่วมกับนายสุพจน์ ทองวิลัย หัวหน้าขบวนการค้ายาบ้าในภาคเหนือของกลุ่มว้าแดง ผู้ต้องหาคนสำคัญในคดีค้ายาเสพติด ซึ่ง นายสนิท ได้ออกมาปฏิเสธว่า ไม่ทราบเรื่องที่มีหุ้นอยู่ในบริษัทนี้ และไม่รู้จักกับนายสุพจน์ แต่รู้จักกับนาง      นงเยาว์ ภรรยาของพลโท พร้อม ผิวนวล อดีตแม่ทัพภาคที่ ๓ เป็นการส่วนตัว และได้ทำหนังสือถึงกรรมการผู้จัดการบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด เพื่อขอถอนชื่อออกจากการเป็นผู้ถือหุ้นและให้ทำหนังสือขอโทษเป็นลายลักษณ์อักษรที่สร้างความเสื่อมเสียชื่อเสียงให้กับนายสนิท ในฐานะประธานวุฒิสภา(๑๑)
การพ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภา  เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๔ คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ใบเหลืองแก่ นายสนิท วรปัญญา สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี เพราะเห็นว่า การเลือกตั้งไม่ได้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมมีการกระทำผิดมาตรา ๔๔ ประกอบมาตรา ๙๐ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พุทธศักราช ๒๕๔๑(๑๒) มี ๖ ข้อหา คือ ๑. แจกเสื้อ ๒. แจกเงินให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้าน ๓. แจกเงินให้วัด ๔. สัญญาว่าจะให้ประปาหมู่บ้าน ๕. สัญญาว่าจะให้ดินลูกรังถมถนนทางเข้าหมู่บ้าน ๖. โฆษณาหาเสียง(๑๓) ส่งผลให้นายสนิท วรปัญญา สิ้นสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี ทำให้พ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภาด้วย ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๔(๑๔) นายสนิท            วรปัญญา ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรีอีกครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามา รวมระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา ตั้งแต่วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๓ ถึง วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๔(๑๕) เป็นเวลา ๗ เดือน ๑๐ วัน


๔. อ้างอิง
==การก้าวสู่ตำแหน่งประธานวุฒิสภา==
๕. หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ


“ฉากสุดท้าย? สนิท วรปัญญา.” สยามรัฐ, ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า ๕.
'''ชีวิตหลังเกษียณอายุราชการ''' นายสนิท วรปัญญา ได้ตัดสินใจเดินเข้าสู่ถนนสายการเมือง เมื่อมี[[พระราชกฤษฎีกา]]ประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543 ด้วยการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี และได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี โดยมีคะแนนเป็นอันดับ 1 ได้รับเลือกถึง 133,872 คะแนน เมื่อจัดอันดับคะแนนของผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภาทั่วประเทศแล้ว ปรากฏว่า อยู่ในอันดับ 13 ซึ่ง นายสนิท วรปัญญา ได้กล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ได้คะแนนจากประชาชนจังหวัดลพบุรีอย่างท่วมท้นว่า มาจากผลงานที่ทำไว้ตั้งแต่ยังรับราชการที่กระทรวงพาณิชย์ เมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก ได้ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศด้วยการผลักดันสินค้าส่งออกในภาวะวิกฤตจากตัวเลขติดลบเป็นตัวเลขส่งออกบวกขึ้นมา 6-7% การคิดป้ายสินค้าตราประเทศไทย การนำกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา มาตรา 301 มาใช้ว่าด้วยเรื่อง การปลอมแปลงสินค้า รวมทั้ง การตั้ง “กองธุรกิจบริการ” ในกรมส่งเสริมการส่งออก มีหน้าที่ดูแลเรื่อง ธุรกิจบริการ ที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับทุกประเภท และเมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการประกันภัย ได้ผลักดันให้มีการทำประกันภัยรถยนต์ สิ่งเหล่านี้ถือเป็นผลงานที่ได้สร้างชื่อเสียงจนเป็นที่รู้จักของประชาชนทั้งประเทศ
“ซื้อเสียง...ผมคิดว่ารุนแรงมากในความรู้สึก.” ผู้จัดการรายวัน, ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๓, หน้า ๑๘.
“บัลลังก์แห่งประวัติศาสตร์.” โลกการค้า ๖, ๖๐ (กันยายน ๒๕๔๓), หน้า ๗๒-๗๔.
“เปิดใจ ‘สนิท วรปัญญา’ ประธาน ส.ว. ‘เลือกตั้ง’ คนแรกในประวัติศาสตร์.” มติชน, ๒ สิงหาคม
๒๕๔๓, หน้า ๒.
“เปลือยอกช้ำๆ ‘สนิท วรปัญญา’ ฟ้าผ่าเก้าอี้หัก!.” มติชน, ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า ๒.
“ประวัตินายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา.” มติชน, ๒ สิงหาคม ๒๕๔๓, หน้า ๒.
“ม้วนเดียวสองขยัก นั่งเก้าอี้ประวัติศาสตร์ประธานวุฒิฯ คนแรก.” ฐานเศรษฐกิจ, ๓-๕ สิงหาคม
๒๕๔๓, หน้า ๑๕.


. บรรณานุกรม
'''ความรู้สึกที่มีต่อการสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา''' นายสนิท วรปัญญา ได้กล่าวถึงความรู้สึกส่วนตัวว่า การสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาครั้งนี้ ไม่ใช่เป็นความตั้งใจแรกหลังเกษียณจากชีวิตราชการ เพราะได้วางแผนชีวิตหลังเกษียณไว้ว่าจะเป็นที่ปรึกษาให้แก่พรรคการเมืองเท่านั้น เนื่องจากความรู้ความสามารถกับประสบการณ์ที่อยู่ในวงราชการมาค่อนชีวิตนั้นน่าจะยังสามารถทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติได้ไม่มากก็น้อย แต่เมื่อ[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับใหม่เปิดช่องให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งได้ จึงคิดว่าการทำงานในตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาน่าจะเหมาะมากกว่าการเป็นที่ปรึกษาพรรคการเมือง เพราะจะช่วยผลักดันแนวคิดของตนหลายเรื่องที่ยังค้างคาสมัยรับราชการให้ประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่า แล้วยังเป็นตำแหน่งที่ปลอดจากพรรคการเมืองอีกด้วย<ref>“สนิท วรปัญญา” ผมไม่ได้เข้ามาเพราะพี่ชาย,” '''ผู้จัดการรายสัปดาห์,''' 13 มีนาคม 2543, หน้า 16. </ref>


“๒ ขั้วสระอิด ‘พี่หนิด-มนูญกฤต’ ได้เวลาวุฒิสภากวาดบ้านตัวเอง.” ไทยโพสต์, ๑๑ มีนาคม  
'''จากสมาชิกวุฒิสภาก้าวสู่ตำแหน่งประธานวุฒิสภา''' หลังจากที่มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม 2543 และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในอีกหลายจังหวัดรวม 5 ครั้ง จนได้สมาชิกวุฒิสภาครบจำนวน 200 คน วุฒิสภาได้มีการนัดประชุมเพื่อเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา ในวันที่ 1 สิงหาคม 2543 มีผู้ที่แสดงเจตจำนงและลงชื่อสมัครเพื่อรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาจำนวน 7 คน คือ 1. นายปราโมทย์ ไม้กลัด 2. พันเอก สมคิด ศรีสังคม 3. นายสนิท วรปัญญา 4. [[มนูญกฤต รูปขจร|พลตรี มนูญกฤต รูปขจร]] 5. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ 6. นายชุมพล ศิลปอาชา 7. พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ โดยก่อนถึงกำหนดวันนัดประชุมเพื่อเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภานั้น [[สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา]] ได้จัดให้มีการประชุมสมาชิกวุฒิสภานอกรอบล่วงหน้า 1 วัน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2543 เป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกวุฒิสภาที่สมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในที่ประชุมวุฒิสภา เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภาได้ใช้วิจารณญาณในการเลือกประธานและรองประธานวุฒิสภาต่อไป<ref>คณัศ พันธรักษ์ราชเดช, “ประธานวุฒิสภาคนใหม่,” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์,''' 47, 11 (13-19 สิงหาคม 2543), หน้า 24.</ref>
๒๕๔๔, หน้า .
 
“ข่าวเด่น-ดัง ๒๕๔๔ ปีแห่งวิกฤตไทย เหตุการณ์สำคัญในรอบปีของรัฐสภา.” สยามรัฐสัปดาห์
'''การแสดงวิสัยทัศน์ในการเลือกประธานวุฒิสภา''' นายสนิท วรปัญญา สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี ได้กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ว่า มีเพื่อนสมาชิกวุฒิสภาแนะนำให้ตนสมัครเป็นประธานวุฒิสภา ทั้งที่ตนไม่เคยคิดมาก่อน แต่เมื่อมองเหตุการณ์บ้านเมืองย้อนยุคไปแล้วเห็นว่า ตนผ่านการทำงานมามากพอสมควร เคยเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และได้มีส่วนร่วมในการออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 66/23 รวมทั้งมีส่วนร่วมในการเตรียมปัดฝุ่นโครงการพัฒนาชายฝั่งภาคตะวันออก ตนจึงมองเห็นว่า งานของวุฒิสภาไม่ใช่เป็นงานการออกกฎหมายปกครองประชาชนอย่างเดียว แต่เป็นการเตรียมกฎหมาย กฎระเบียบที่จะนำพาประเทศสู่ความเจริญรุ่งเรือง แข่งขันกับนานาประเทศได้ จึงจำเป็นต้องหาคนที่มีความรู้ มีประสบการณ์ในเรื่องราวของเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของประเทศมานำวุฒิสภาไปสู่ความก้าวหน้า
วิจารณ์ ๔๘, ๒๑ (๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๔-มกราคม ๒๕๔๕), หน้า ๑๓-๑๔.  
 
คณัศ พันธรักษ์ราชเดช. “ประธานวุฒิสภาคนใหม่.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ๔๗, ๑๑ (๑๓-๑๙
ในขณะนั้น ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาแล้ว 8 ฉบับ เป็นแผนที่รัฐบาลร่างขึ้นโดยความต้องการของพรรคการเมืองของบุคคลที่อยากเป็นรัฐบาลสั่งการให้เจ้าหน้าที่ทำ แต่ไม่ได้เป็นความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ดังนั้น ตนเชื่อมั่นว่าพื้นฐานความรู้ของตนจะมีส่วนช่วยให้วุฒิสภาสามารถออกกฎหมายที่เป็นประโยชน์ในทางเศรษฐกิจได้ตามความต้องการของประเทศ ที่ผ่านมาวุฒิสภาออกกฎหมายเศรษฐกิจที่ล้มเหลวมามาก เป็นผลให้บ้านเมืองแทบล่มสลาย ภาคการเงินล้มเหลวเพราะ วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งทำงานไปตามความต้องการของพรรคการเมือง แต่วุฒิสภาชุดนี้มาจากหลายอาชีพ ตั้งใจในทิศทางเดียวกัน มาร่วมกันทำงานอยู่บนพื้นฐานกรอบของรัฐธรรมนูญที่ประกอบด้วย การกลั่นกรองกฎหมาย และการตรวจสอบ ที่ตนต้องการเพิ่มการกำกับดูแลการบริหารภาครัฐด้วย มีการแต่งตั้งถอดถอนบุคคลจากตำแหน่งขององค์กรอิสระ ถ้าผู้นำของวุฒิสภามีวิสัยทัศน์กว้าง มีแนวความคิดที่เปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนสมาชิก จะสามารถสร้างระบบการทำงานที่เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพตรวจสอบได้
สิงหาคม ๒๕๔๓), หน้า ๒๔-๒๖.  
 
ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข. “ ‘สนิท วรปัญญา’ นั่งแท่นประมุขสภาสูง ผลแห่งการประลองกำลัง.” เนชั่นสุด
สิ่งที่ตนอยากทำและทำให้เกิดผล ประการแรก คือ อยากเห็นวุฒิสภาเป็นสภาของความซื่อสัตย์ โปร่งใส เที่ยงธรรม สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน เป็นแบบอย่างที่ดีของคนในชาติ เป็นที่เชื่อถือของสังคมโลก ประการที่ 2 สมาชิกวุฒิสภาต้องเป็นตัวแทนของคนในชาติที่จะธำรงความสง่างาม ช่วยกันรักษาศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของชาติ ส่งเสริมให้ประชาชน องค์กรเอกชน กลุ่มอาชีพ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของบ้านเมือง และวุฒิสภาต้องเป็นผู้นำในการส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายที่ดี ที่มีประโยชน์ให้เกิดผลปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและเที่ยงธรรม รวมทั้ง จะแต่งตั้งคณะกรรมาธิการศึกษาแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ล้าหลัง และสนับสนุนรัฐบาลที่มีความรู้ความสามารถ เที่ยงธรรม ชอบธรรม ให้บริหารประเทศอย่างต่อเนื่อง
สัปดาห์ ๙, ๔๒๗ (-๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๓), หน้า ๙๖.  
 
“เบื้องลึก ‘สนิท’ เข้าวิน ‘ชุมพล’ พ่ายโค้งสุดท้าย ส.ว. นับหนึ่งลุยของร้อน.” ประชาชาติธุรกิจ  
หากตนได้มีโอกาสเป็น[[ประธานวุฒิสภา]] ตนจะเปิดใจให้กว้างรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนสมาชิก จะมีคณะทำงาน นักวิชาการเข้ามาช่วยกันทำงานทุกรูปแบบที่จะเป็นไปได้ และจะขอให้มีการทบทวนตำแหน่งประธานวุฒิสภาทุกปี ถ้าครบ 2 ปี หรือ 2 ปีครึ่ง ซึ่งมีอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่ ตนยินดีจะหยุดทำงานแล้วมอบหน้าที่ให้ทุกท่านกลับไปช่วยกันทำ นอกจากนี้ จะจัดหาสถานที่ที่เหมาะสมในการทำงานให้เป็นที่ตั้งของวุฒิสภา และในระยะยาวตนอยากเห็นรัฐสภาอยู่ในที่ที่สง่างามเป็นแลนด์มาร์ก (Land mark) เป็นองค์กรสำคัญที่สุดของประเทศ<ref>สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, '''การแสดงวิสัยทัศน์ของสมาชิกวุฒิสภาที่ประสงค์เสนอตัวเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา''' (กรุงเทพฯ : ฝ่ายชวเลข กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ม.ป.ป.), หน้า 4/1-6/2.</ref>
(ราย วัน), สิงหาคม ๒๕๔๓, หน้า .  
“เบื้องหลัง สนิท วรปัญญา ยึดเก้าอี้ประธาน ส.ว.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ๔๗, ๑๐ (-๑๒
'''การเลือกประธานวุฒิสภา''' เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2543 [[วุฒิสภา]]ที่มาจาก[[การเลือกตั้ง]]ได้เปิดการประชุมวุฒิสภาเป็นครั้งแรก มีวาระสำคัญ คือ การเลือกประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา โดยมีนายแคล้ว นรปติ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น ทำหน้าที่ประธานวุฒิสภาชั่วคราวแทน พันเอก สมคิด ศรีสังคม ประธานวุฒิสภาชั่วคราว ที่ถูกเสนอชื่อสมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาด้วย ในการเลือกประธานวุฒิสภานั้น สมาชิกวุฒิสภาจะเขียนชื่อผู้ที่สมควรได้รับเลือกเป็นประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภาใส่ซองเป็นการลงคะแนนลับ และผู้ที่ได้รับเลือกจะต้องมีคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิก คือ 101 เสียง หากมีคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งจะต้องเลือกรอบ 2 โดยนำรายชื่อผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 ลำดับแรกมาให้สมาชิกวุฒิสภาเลือก ผู้ที่ได้รับเลือกในรอบ 2 จะต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมาก ถ้าหากคะแนนเสียงเท่ากัน จะใช้วิธีการจับสลาก
สิงหาคม ๒๕๔๓), หน้า ๒๒-๒๓.  
 
“ ‘พี่หนิด’ หงิดหงิดหนักมีหุ้นบริษัทซี้ ‘ว้าแดง’.” ไทยโพสต์, มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า .
ผลการลงคะแนนในรอบแรกปรากฏว่า ไม่มีผู้ใดได้รับคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง โดยนายสนิท วรปัญญา ได้ 71 คะแนน พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ได้ 59 คะแนน นายชุมพล ศิลปอาชา ได้ 50 คะแนน นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ได้ 8 คะแนน พันเอก สมคิด ศรีสังคม ได้ 4 คะแนน พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ ได้ 4 คะแนน นายปราโมทย์ ไม้กลัด ได้ 4 คะแนน จึงต้องมีการเลือกในรอบ 2 ระหว่างผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุด 2 อันดับแรก คือ นายสนิท วรปัญญา กับ พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ซึ่งผลปรากฏว่า นายสนิท วรปัญญา ได้ 115 คะแนน และพลตรี มนูญกฤต รูปขจร ได้ 83 คะแนน มีสมาชิกวุฒิสภางดออกเสียงจำนวน 2 คน ทำให้นายสนิท วรปัญญา ได้รับเลือกให้เป็นประธานวุฒิสภาคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง<ref>“เบื้องหลัง สนิท วรปัญญา ยึดเก้าอี้ประธาน ส.ว.,” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์,''' 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 22. </ref>
“ย้อนรอยความไม่พอใจท่านประธาน.” ไทยโพสต์, ๓๐ กันยายน ๒๕๔๓, หน้า .
 
“ส.ว. รุมยำ ‘สนิท’ เป็นแบบอย่างไม่ดี.” กรุงเทพธุรกิจ, ๒๗ กันยายน ๒๕๔๓, หน้า ๑๕,๑๖.
==การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานวุฒิสภา==
“ ‘สนิท’ ดิ้นร้องศาลปกครองปลดมติกกต.” กรุงเทพธุรกิจ, ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า ๑๒, .
 
“ ‘สนิท’ ตั้ง ‘โฆสิต’ กุนซือกู้ภาพสภาสูง.” ไทยโพสต์, กันยายน ๒๕๔๓, หน้า ๑๖.
หลังจากที่นายสนิท วรปัญญา เข้าปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ[[ประธานวุฒิสภา]] ก็ถูกสมาชิกวุฒิสภาวิพากษ์วิจารณ์ถึงความบกพร่องในการทำงานหลายเรื่อง อาทิ การไม่แม่นในข้อบังคับการประชุม การทำผิดข้อตกลงการอภิปรายในที่ประชุม และการโต้เถียงกับสมาชิกวุฒิสภา รวมทั้ง เหตุการณ์ที่ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อวุฒิสภา ความเชื่อถือต่อประธานวุฒิสภาลดลง ดังนี้
“ ‘สนิท’ ไปไม่ต้องออกแรง ‘มนูญกฤต’ ผงาด ‘ทักษิณ’ หนาว!.” อาทิตย์วิเคราะห์รายวัน,  
 
๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า .
'''การแต่งตั้งที่ปรึกษาด้านการประชาสัมพันธ์''' นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา ได้มีคำสั่งแต่งตั้งนายโฆสิต สุวินิจจิต ประธานกรรมการ บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน) เป็นที่ปรึกษาประธานวุฒิสภาด้านการประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2543 โดยไม่ได้รับเงินเดือน เพื่อทำหน้าที่สื่อสารกับประชาชนให้เข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ ส่วนสาเหตุการแต่งตั้งตำแหน่งดังกล่าวอาจเป็นเพราะ[[วุฒิสภา]]ถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมในหลายเรื่อง โดยเฉพาะ[[การล็อบบี้]]ตำแหน่งต่างๆ ของสมาชิกวุฒิสภา อาทิ การเลือกประธานวุฒิสภา หรือ การเลือกประธานคณะกรรมาธิการสามัญ<ref>“ ‘สนิท’ ตั้ง ‘โฆสิต’ กุนซือกู้ภาพสภาสูง,” '''ไทยโพสต์,''' 1 กันยายน 2543, หน้า 16.</ref>
“ ‘สนิท’ ยืนท่ามกลางความอัปยศครั้งใหญ่!.” ผู้จัดการรายวัน, ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า ๑๔.
 
“ ‘สนิท วรปัญญา’ แจงเหตุพันหุ้นส่วน ‘ว้าแดง’ ‘ไม่รู้มีหุ้น บ.แนนซี พี.เทรด’.” ประชาชาติธุรกิจ  
'''การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2544''' ในวาระที่ 3 เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2543 นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา ได้ใช้สิทธิลงคะแนน 2 ครั้ง ในครั้งแรกให้ความเห็นชอบในฐานะสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี แต่ผลการนับคะแนนปรากฏว่า มีผู้เห็นชอบและผู้ไม่เห็นชอบ 69 เสียงเท่ากัน จึงใช้สิทธิครั้งที่ 2 ให้ความเห็นชอบในฐานะประธานวุฒิสภา เป็นผลให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภาด้วยคะแนน 70 ต่อ 69 เสียง ทำให้สมาชิกวุฒิสภาส่วนหนึ่งเห็นว่า การใช้สิทธิของประธานวุฒิสภาแม้ไม่ผิดข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาหรือทำถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ แต่ตามธรรมเนียมปฏิบัติไม่ควรใช้สิทธิลงคะแนน 2 ครั้ง จะทำให้ถูกมองว่าวางตัวไม่เป็นกลาง ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อวุฒิสภา และจะกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในอนาคต จึงนำไปสู่การเคลื่อนไหวกดดันให้ประธานวุฒิสภาทบทวนบทบาทของตนเอง<ref>“ย้อนรอยความไม่พอใจท่านประธาน,” '''ไทยโพสต์,''' 30 กันยายน 2543, หน้า 2.</ref>
(ราย วัน), ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า .
 
“สนิท วรปัญญา ‘ชาย เสียง’.” ไทยโพสต์, ๒๖ กันยายน ๒๕๔๓, หน้า .
'''การมีหุ้นในบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด''' นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา มีชื่อร่วมลงทุนทำธุรกิจกับ นางนงเยาว์ พลางกูร ในบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด จำนวน 1,000 หุ้น ตั้งแต่ ปี 2533 โดยนางนงเยาว์ เป็น 1 ใน 7 หุ้นส่วนที่ทำธุรกิจร่วมกับนายสุพจน์ ทองวิลัย หัวหน้าขบวนการค้ายาบ้าในภาคเหนือของกลุ่มว้าแดง ผู้ต้องหาคนสำคัญในคดีค้ายาเสพติด ซึ่ง นายสนิท ได้ออกมาปฏิเสธว่า ไม่ทราบเรื่องที่มีหุ้นอยู่ในบริษัทนี้ และไม่รู้จักกับนายสุพจน์ แต่รู้จักกับนางนงเยาว์ ภรรยาของพลโท พร้อม ผิวนวล อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 เป็นการส่วนตัว และได้ทำหนังสือถึงกรรมการผู้จัดการบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด เพื่อขอถอนชื่อออกจากการเป็นผู้ถือหุ้นและให้ทำหนังสือขอโทษเป็นลายลักษณ์อักษรที่สร้างความเสื่อมเสียชื่อเสียงให้กับนายสนิท ในฐานะประธานวุฒิสภา<ref>“ ‘สนิท วรปัญญา’ แจงเหตุพันหุ้นส่วน ‘ว้าแดง’ ‘ไม่รู้มีหุ้น บ.แนนซี พี.เทรด’,” '''ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน),''' 12 มีนาคม 2544, หน้า 5.</ref>
“สนิท วรปัญญา ‘ตั้งใจ’.” ไทยโพสต์, ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๓, หน้า .
 
“สนิท วรปัญญา ‘ปิ๋ว’.” ไทยโพสต์, ๒๔ เมษายน ๒๕๔๔, หน้า .
'''การพ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภา''' เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2544 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ใบเหลืองแก่ นายสนิท วรปัญญา สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี เพราะเห็นว่าการเลือกตั้งไม่ได้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมมีการกระทำผิดมาตรา 44 ประกอบมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎร]]และสมาชิกวุฒิสภา พุทธศักราช 2541<ref>“ ‘สนิท’ ยืนท่ามกลางความอัปยศครั้งใหญ่!,” '''ผู้จัดการรายวัน,''' 14 มีนาคม 2544, หน้า 14.</ref> มี 6 ข้อหา คือ 1. แจกเสื้อ 2. แจกเงินให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้าน 3. แจกเงินให้วัด 4. สัญญาว่าจะให้ประปาหมู่บ้าน 5. สัญญาว่าจะให้ดินลูกรังถมถนนทางเข้าหมู่บ้าน 6. โฆษณาหาเสียง<ref>“ ‘สนิท’ ดิ้นร้องศาลปกครองปลดมติกกต.,” '''กรุงเทพธุรกิจ,''' 24 มีนาคม 2544, หน้า 12, 8.</ref> ส่งผลให้นายสนิท วรปัญญา สิ้นสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี ทำให้พ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภาด้วย ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 21 เมษายน 2544<ref>“ ‘สนิท’ ไปไม่ต้องออกแรง ‘มนูญกฤต’ ผงาด ‘ทักษิณ’ หนาว!,” '''อาทิตย์วิเคราะห์รายวัน,''' 14 มีนาคม 2544, หน้า 2.</ref> นายสนิท วรปัญญา ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรีอีกครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามา รวมระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2543 ถึง วันที่ 13 มีนาคม 2544<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, '''75 ปี รัฐสภาไทย''' (กรุงเทพฯ : กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550), หน้า 57.</ref> เป็นเวลา 7 เดือน 10 วัน
“สนิท วรปัญญา ประธานวุฒิฯ ปี.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ๔๗, ๑๐ (-๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๓),
 
หน้า .  
==อ้างอิง==
“สนิท วรปัญญา” ผมไม่ได้เข้ามาเพราะพี่ชาย.” ผู้จัดการรายสัปดาห์, ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๓, หน้า
 
๑๖.
<references/>
สนิท วรปัญญา. เสถียรภาพของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : วิทยาลัย
 
ป้องกันราชอาณาจักร, ๒๕๓๑.
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. การแสดงวิสัยทัศน์ของสมาชิกวุฒิสภาที่ประสงค์เสนอตัวเป็น
 
ประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา. กรุงเทพฯ : ฝ่ายชวเลข กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ม.ป.ป.  
“ฉากสุดท้าย? สนิท วรปัญญา.” '''สยามรัฐ,''' 14 มีนาคม 2544, หน้า 5.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ๗๕ ปี รัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนัก
 
ประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.
“ซื้อเสียง...ผมคิดว่ารุนแรงมากในความรู้สึก.” '''ผู้จัดการรายวัน,''' 27 กรกฎาคม 2543, หน้า 18.
 
“บัลลังก์แห่งประวัติศาสตร์.” '''โลกการค้า''' 6, 60 (กันยายน 2543), หน้า 72-74.
 
“เปิดใจ ‘สนิท วรปัญญา’ ประธาน ส.ว. ‘เลือกตั้ง’ คนแรกในประวัติศาสตร์.” '''มติชน,''' 2 สิงหาคม 2543, หน้า 2.
 
“เปลือยอกช้ำๆ ‘สนิท วรปัญญา’ ฟ้าผ่าเก้าอี้หัก!.” '''มติชน,''' 14 มีนาคม 2544, หน้า 2.
 
“ประวัตินายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา.” '''มติชน,''' 2 สิงหาคม 2543, หน้า 2.
 
“ม้วนเดียวสองขยัก นั่งเก้าอี้ประวัติศาสตร์ประธานวุฒิฯ คนแรก.” '''ฐานเศรษฐกิจ,''' 3-5 สิงหาคม 2543, หน้า 15.
 
==บรรณานุกรม==
 
“2 ขั้วสระอิด ‘พี่หนิด-มนูญกฤต’ ได้เวลาวุฒิสภากวาดบ้านตัวเอง.” '''ไทยโพสต์,''' 11 มีนาคม 2544, หน้า 2.
 
“ข่าวเด่น-ดัง 2544 ปีแห่งวิกฤตไทย เหตุการณ์สำคัญในรอบปีของรัฐสภา.” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์''' 48, 21 (28 ธันวาคม 2544-3 มกราคม 2545), หน้า 13-14.  
 
คณัศ พันธรักษ์ราชเดช. “ประธานวุฒิสภาคนใหม่.” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์''' 47, 11 (13-19 สิงหาคม 2543), หน้า 24-26.  
 
ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข. “ ‘สนิท วรปัญญา’ นั่งแท่นประมุขสภาสูง ผลแห่งการประลองกำลัง.” '''เนชั่นสุดสัปดาห์''' 9, 427 (7-13 สิงหาคม 2543), หน้า 96.  
 
“เบื้องลึก ‘สนิท’ เข้าวิน ‘ชุมพล’ พ่ายโค้งสุดท้าย ส.ว. นับหนึ่งลุยของร้อน.” '''ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน),''' 3 สิงหาคม 2543, หน้า 2.  
 
“เบื้องหลัง สนิท วรปัญญา ยึดเก้าอี้ประธาน ส.ว.” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์''' 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 22-23.  
 
“ ‘พี่หนิด’ หงิดหงิดหนักมีหุ้นบริษัทซี้ ‘ว้าแดง’.” '''ไทยโพสต์,''' 8 มีนาคม 2544, หน้า 3.
 
“ย้อนรอยความไม่พอใจท่านประธาน.” '''ไทยโพสต์,''' 30 กันยายน 2543, หน้า 2.
 
“ส.ว. รุมยำ ‘สนิท’ เป็นแบบอย่างไม่ดี.” '''กรุงเทพธุรกิจ,''' 27 กันยายน 2543, หน้า 15, 16.
 
“ ‘สนิท’ ดิ้นร้องศาลปกครองปลดมติกกต.” '''กรุงเทพธุรกิจ,''' 24 มีนาคม 2544, หน้า 12, 8.
 
“ ‘สนิท’ ตั้ง ‘โฆสิต’ กุนซือกู้ภาพสภาสูง.” '''ไทยโพสต์,''' 1 กันยายน 2543, หน้า 16.
 
“ ‘สนิท’ ไปไม่ต้องออกแรง ‘มนูญกฤต’ ผงาด ‘ทักษิณ’ หนาว!.” '''อาทิตย์วิเคราะห์รายวัน,''' 14 มีนาคม 2544, หน้า 2.
 
“ ‘สนิท’ ยืนท่ามกลางความอัปยศครั้งใหญ่!.” '''ผู้จัดการรายวัน,''' 14 มีนาคม 2544, หน้า 14.
 
“ ‘สนิท วรปัญญา’ แจงเหตุพันหุ้นส่วน ‘ว้าแดง’ ‘ไม่รู้มีหุ้น บ.แนนซี พี.เทรด’.” '''ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน),''' 12 มีนาคม 2544, หน้า 5.
 
“สนิท วรปัญญา ‘ชาย 2 เสียง’.” '''ไทยโพสต์,''' 26 กันยายน 2543, หน้า 4.
 
“สนิท วรปัญญา ‘ตั้งใจ’.” '''ไทยโพสต์,''' 28 กรกฎาคม 2543, หน้า 4.
 
“สนิท วรปัญญา ‘ปิ๋ว’.” '''ไทยโพสต์,''' 24 เมษายน 2544, หน้า 4.
 
“สนิท วรปัญญา ประธานวุฒิฯ 2 ปี.” '''สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์''' 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 8.  
 
“สนิท วรปัญญา” ผมไม่ได้เข้ามาเพราะพี่ชาย.” '''ผู้จัดการรายสัปดาห์,''' 13 มีนาคม 2543, หน้า 16.
 
สนิท วรปัญญา. '''เสถียรภาพของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย.''' กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2531.
 
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. '''การแสดงวิสัยทัศน์ของสมาชิกวุฒิสภาที่ประสงค์เสนอตัวเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา.''' กรุงเทพฯ : ฝ่ายชวเลข กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ม.ป.ป.  
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''75 ปี รัฐสภาไทย.''' กรุงเทพฯ : กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==


การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา (๒๕๔๓)
*[[การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543]]
ประธานวุฒิสภา
 
*[[ประธานวุฒิสภา]]


[[category:ประธานวุฒิสภา]]
[[category:ประธานวุฒิสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:53, 17 ธันวาคม 2552

ผู้เรียบเรียง ขัตติยา ทองทา

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


นายสนิท วรปัญญา อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก มีความตั้งใจว่าหลังเกษียณอายุราชการจะเป็นที่ปรึกษาให้แก่พรรคการเมือง แต่เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงลงสมัครรับเลือกตั้งและได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี จากนั้นได้สมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภา ด้วยความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ในงานราชการและบุคลิกภาพที่มีความประนีประนอม จึงได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภาและเป็นประธานวุฒิสภาคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง

ประวัตินายสนิท วรปัญญา

นายสนิท วรปัญญา เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2482 ที่ตำบลศรีเทพ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ สมรสกับนางมณฑา เชวงศักดิ์สงคราม บุตรีหลวงเชวงศักดิ์สงคราม มีบุตร 3 คน และเป็นน้องชายของนายนิยม วรปัญญา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี

การศึกษา เข้ารับการศึกษาในระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนประจำตำบลศรีเทพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนมัธยมประจำอำเภอวิเชียรบุรี และโรงเรียนมัธยมประจำอำเภอโคกสำโรง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร ระดับปริญญาตรี ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ ระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา สาขาเศรษฐศาสตร์ ได้รับ Certificate in Local Administration (Berlin), Certificate in International Marketing (Tuft University) และศึกษาจบวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 30

การรับราชการ ปี 2503 เป็นพนักงานโครงการของสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ปี 2508 เป็นเศรษฐกร กรมวิเทศสหการ กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ปี 2510 เป็นอาจารย์ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี 2514 เป็นหัวหน้ากองคลังสินค้า องค์การคลังสินค้า ปี 2516 เป็นหัวหน้ากองแผนงานฯ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปี 2518 เป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักงานประกันภัย ปี 2522 เป็นนักบริหาร 9 และรองผู้อำนวยการสำนักงานประกันภัย ปี 2526 เป็นรองอธิบดีกรมการค้าภายใน ปี 2529 เป็นที่ปรึกษาการพาณิชย์ 10 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปี 2531 เป็นอธิบดีกรมการค้าภายใน[1] ปี 2532 เป็นอธิบดีกรมการประกันภัย ปี 2537 เป็นรองปลัดกระทรวงพาณิชย์ และรักษาการปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปี 2538 เป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก และอยู่ในตำแหน่งนี้จนเกษียณอายุราชการในปี 2542[2]

การดำรงตำแหน่งทางการเมือง 4 มีนาคม 2543 เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี 4 สิงหาคม 2543 เป็นประธานวุฒิสภา หน้าที่พิเศษอื่นๆ อาทิ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี รักษาการฯ ผู้อำนวยการองค์การคลังสินค้า ประธานกรรมการน้ำตาลทราย ตามพระราชบัญญัติอ้อยและน้ำตาลทราย พ.ศ. 2527 และกรรมการบริหาร บริษัทอ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด[3] เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยที่ได้รับ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (มปช.)[4]

การก้าวสู่ตำแหน่งประธานวุฒิสภา

ชีวิตหลังเกษียณอายุราชการ นายสนิท วรปัญญา ได้ตัดสินใจเดินเข้าสู่ถนนสายการเมือง เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นครั้งแรก ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543 ด้วยการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี และได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี โดยมีคะแนนเป็นอันดับ 1 ได้รับเลือกถึง 133,872 คะแนน เมื่อจัดอันดับคะแนนของผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภาทั่วประเทศแล้ว ปรากฏว่า อยู่ในอันดับ 13 ซึ่ง นายสนิท วรปัญญา ได้กล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ได้คะแนนจากประชาชนจังหวัดลพบุรีอย่างท่วมท้นว่า มาจากผลงานที่ทำไว้ตั้งแต่ยังรับราชการที่กระทรวงพาณิชย์ เมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก ได้ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศด้วยการผลักดันสินค้าส่งออกในภาวะวิกฤตจากตัวเลขติดลบเป็นตัวเลขส่งออกบวกขึ้นมา 6-7% การคิดป้ายสินค้าตราประเทศไทย การนำกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา มาตรา 301 มาใช้ว่าด้วยเรื่อง การปลอมแปลงสินค้า รวมทั้ง การตั้ง “กองธุรกิจบริการ” ในกรมส่งเสริมการส่งออก มีหน้าที่ดูแลเรื่อง ธุรกิจบริการ ที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับทุกประเภท และเมื่อดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการประกันภัย ได้ผลักดันให้มีการทำประกันภัยรถยนต์ สิ่งเหล่านี้ถือเป็นผลงานที่ได้สร้างชื่อเสียงจนเป็นที่รู้จักของประชาชนทั้งประเทศ

ความรู้สึกที่มีต่อการสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา นายสนิท วรปัญญา ได้กล่าวถึงความรู้สึกส่วนตัวว่า การสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาครั้งนี้ ไม่ใช่เป็นความตั้งใจแรกหลังเกษียณจากชีวิตราชการ เพราะได้วางแผนชีวิตหลังเกษียณไว้ว่าจะเป็นที่ปรึกษาให้แก่พรรคการเมืองเท่านั้น เนื่องจากความรู้ความสามารถกับประสบการณ์ที่อยู่ในวงราชการมาค่อนชีวิตนั้นน่าจะยังสามารถทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติได้ไม่มากก็น้อย แต่เมื่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เปิดช่องให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งได้ จึงคิดว่าการทำงานในตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาน่าจะเหมาะมากกว่าการเป็นที่ปรึกษาพรรคการเมือง เพราะจะช่วยผลักดันแนวคิดของตนหลายเรื่องที่ยังค้างคาสมัยรับราชการให้ประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่า แล้วยังเป็นตำแหน่งที่ปลอดจากพรรคการเมืองอีกด้วย[5]

จากสมาชิกวุฒิสภาก้าวสู่ตำแหน่งประธานวุฒิสภา หลังจากที่มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม 2543 และต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในอีกหลายจังหวัดรวม 5 ครั้ง จนได้สมาชิกวุฒิสภาครบจำนวน 200 คน วุฒิสภาได้มีการนัดประชุมเพื่อเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา ในวันที่ 1 สิงหาคม 2543 มีผู้ที่แสดงเจตจำนงและลงชื่อสมัครเพื่อรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาจำนวน 7 คน คือ 1. นายปราโมทย์ ไม้กลัด 2. พันเอก สมคิด ศรีสังคม 3. นายสนิท วรปัญญา 4. พลตรี มนูญกฤต รูปขจร 5. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ 6. นายชุมพล ศิลปอาชา 7. พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ โดยก่อนถึงกำหนดวันนัดประชุมเพื่อเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภานั้น สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได้จัดให้มีการประชุมสมาชิกวุฒิสภานอกรอบล่วงหน้า 1 วัน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2543 เป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกวุฒิสภาที่สมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในที่ประชุมวุฒิสภา เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภาได้ใช้วิจารณญาณในการเลือกประธานและรองประธานวุฒิสภาต่อไป[6]

การแสดงวิสัยทัศน์ในการเลือกประธานวุฒิสภา นายสนิท วรปัญญา สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี ได้กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ว่า มีเพื่อนสมาชิกวุฒิสภาแนะนำให้ตนสมัครเป็นประธานวุฒิสภา ทั้งที่ตนไม่เคยคิดมาก่อน แต่เมื่อมองเหตุการณ์บ้านเมืองย้อนยุคไปแล้วเห็นว่า ตนผ่านการทำงานมามากพอสมควร เคยเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี สมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และได้มีส่วนร่วมในการออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 66/23 รวมทั้งมีส่วนร่วมในการเตรียมปัดฝุ่นโครงการพัฒนาชายฝั่งภาคตะวันออก ตนจึงมองเห็นว่า งานของวุฒิสภาไม่ใช่เป็นงานการออกกฎหมายปกครองประชาชนอย่างเดียว แต่เป็นการเตรียมกฎหมาย กฎระเบียบที่จะนำพาประเทศสู่ความเจริญรุ่งเรือง แข่งขันกับนานาประเทศได้ จึงจำเป็นต้องหาคนที่มีความรู้ มีประสบการณ์ในเรื่องราวของเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของประเทศมานำวุฒิสภาไปสู่ความก้าวหน้า

ในขณะนั้น ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาแล้ว 8 ฉบับ เป็นแผนที่รัฐบาลร่างขึ้นโดยความต้องการของพรรคการเมืองของบุคคลที่อยากเป็นรัฐบาลสั่งการให้เจ้าหน้าที่ทำ แต่ไม่ได้เป็นความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ดังนั้น ตนเชื่อมั่นว่าพื้นฐานความรู้ของตนจะมีส่วนช่วยให้วุฒิสภาสามารถออกกฎหมายที่เป็นประโยชน์ในทางเศรษฐกิจได้ตามความต้องการของประเทศ ที่ผ่านมาวุฒิสภาออกกฎหมายเศรษฐกิจที่ล้มเหลวมามาก เป็นผลให้บ้านเมืองแทบล่มสลาย ภาคการเงินล้มเหลวเพราะ วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งทำงานไปตามความต้องการของพรรคการเมือง แต่วุฒิสภาชุดนี้มาจากหลายอาชีพ ตั้งใจในทิศทางเดียวกัน มาร่วมกันทำงานอยู่บนพื้นฐานกรอบของรัฐธรรมนูญที่ประกอบด้วย การกลั่นกรองกฎหมาย และการตรวจสอบ ที่ตนต้องการเพิ่มการกำกับดูแลการบริหารภาครัฐด้วย มีการแต่งตั้งถอดถอนบุคคลจากตำแหน่งขององค์กรอิสระ ถ้าผู้นำของวุฒิสภามีวิสัยทัศน์กว้าง มีแนวความคิดที่เปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนสมาชิก จะสามารถสร้างระบบการทำงานที่เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพตรวจสอบได้

สิ่งที่ตนอยากทำและทำให้เกิดผล ประการแรก คือ อยากเห็นวุฒิสภาเป็นสภาของความซื่อสัตย์ โปร่งใส เที่ยงธรรม สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน เป็นแบบอย่างที่ดีของคนในชาติ เป็นที่เชื่อถือของสังคมโลก ประการที่ 2 สมาชิกวุฒิสภาต้องเป็นตัวแทนของคนในชาติที่จะธำรงความสง่างาม ช่วยกันรักษาศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของชาติ ส่งเสริมให้ประชาชน องค์กรเอกชน กลุ่มอาชีพ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของบ้านเมือง และวุฒิสภาต้องเป็นผู้นำในการส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายที่ดี ที่มีประโยชน์ให้เกิดผลปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและเที่ยงธรรม รวมทั้ง จะแต่งตั้งคณะกรรมาธิการศึกษาแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ล้าหลัง และสนับสนุนรัฐบาลที่มีความรู้ความสามารถ เที่ยงธรรม ชอบธรรม ให้บริหารประเทศอย่างต่อเนื่อง

หากตนได้มีโอกาสเป็นประธานวุฒิสภา ตนจะเปิดใจให้กว้างรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนสมาชิก จะมีคณะทำงาน นักวิชาการเข้ามาช่วยกันทำงานทุกรูปแบบที่จะเป็นไปได้ และจะขอให้มีการทบทวนตำแหน่งประธานวุฒิสภาทุกปี ถ้าครบ 2 ปี หรือ 2 ปีครึ่ง ซึ่งมีอายุของวุฒิสภาเหลืออยู่ ตนยินดีจะหยุดทำงานแล้วมอบหน้าที่ให้ทุกท่านกลับไปช่วยกันทำ นอกจากนี้ จะจัดหาสถานที่ที่เหมาะสมในการทำงานให้เป็นที่ตั้งของวุฒิสภา และในระยะยาวตนอยากเห็นรัฐสภาอยู่ในที่ที่สง่างามเป็นแลนด์มาร์ก (Land mark) เป็นองค์กรสำคัญที่สุดของประเทศ[7]

การเลือกประธานวุฒิสภา เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2543 วุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งได้เปิดการประชุมวุฒิสภาเป็นครั้งแรก มีวาระสำคัญ คือ การเลือกประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา โดยมีนายแคล้ว นรปติ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น ทำหน้าที่ประธานวุฒิสภาชั่วคราวแทน พันเอก สมคิด ศรีสังคม ประธานวุฒิสภาชั่วคราว ที่ถูกเสนอชื่อสมัครรับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาด้วย ในการเลือกประธานวุฒิสภานั้น สมาชิกวุฒิสภาจะเขียนชื่อผู้ที่สมควรได้รับเลือกเป็นประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภาใส่ซองเป็นการลงคะแนนลับ และผู้ที่ได้รับเลือกจะต้องมีคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิก คือ 101 เสียง หากมีคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งจะต้องเลือกรอบ 2 โดยนำรายชื่อผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 ลำดับแรกมาให้สมาชิกวุฒิสภาเลือก ผู้ที่ได้รับเลือกในรอบ 2 จะต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมาก ถ้าหากคะแนนเสียงเท่ากัน จะใช้วิธีการจับสลาก

ผลการลงคะแนนในรอบแรกปรากฏว่า ไม่มีผู้ใดได้รับคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง โดยนายสนิท วรปัญญา ได้ 71 คะแนน พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ได้ 59 คะแนน นายชุมพล ศิลปอาชา ได้ 50 คะแนน นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ได้ 8 คะแนน พันเอก สมคิด ศรีสังคม ได้ 4 คะแนน พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ ได้ 4 คะแนน นายปราโมทย์ ไม้กลัด ได้ 4 คะแนน จึงต้องมีการเลือกในรอบ 2 ระหว่างผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุด 2 อันดับแรก คือ นายสนิท วรปัญญา กับ พลตรี มนูญกฤต รูปขจร ซึ่งผลปรากฏว่า นายสนิท วรปัญญา ได้ 115 คะแนน และพลตรี มนูญกฤต รูปขจร ได้ 83 คะแนน มีสมาชิกวุฒิสภางดออกเสียงจำนวน 2 คน ทำให้นายสนิท วรปัญญา ได้รับเลือกให้เป็นประธานวุฒิสภาคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง[8]

การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานวุฒิสภา

หลังจากที่นายสนิท วรปัญญา เข้าปฏิบัติหน้าที่ในฐานะประธานวุฒิสภา ก็ถูกสมาชิกวุฒิสภาวิพากษ์วิจารณ์ถึงความบกพร่องในการทำงานหลายเรื่อง อาทิ การไม่แม่นในข้อบังคับการประชุม การทำผิดข้อตกลงการอภิปรายในที่ประชุม และการโต้เถียงกับสมาชิกวุฒิสภา รวมทั้ง เหตุการณ์ที่ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อวุฒิสภา ความเชื่อถือต่อประธานวุฒิสภาลดลง ดังนี้

การแต่งตั้งที่ปรึกษาด้านการประชาสัมพันธ์ นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา ได้มีคำสั่งแต่งตั้งนายโฆสิต สุวินิจจิต ประธานกรรมการ บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน) เป็นที่ปรึกษาประธานวุฒิสภาด้านการประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2543 โดยไม่ได้รับเงินเดือน เพื่อทำหน้าที่สื่อสารกับประชาชนให้เข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ ส่วนสาเหตุการแต่งตั้งตำแหน่งดังกล่าวอาจเป็นเพราะวุฒิสภาถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมในหลายเรื่อง โดยเฉพาะการล็อบบี้ตำแหน่งต่างๆ ของสมาชิกวุฒิสภา อาทิ การเลือกประธานวุฒิสภา หรือ การเลือกประธานคณะกรรมาธิการสามัญ[9]

การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2544 ในวาระที่ 3 เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2543 นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา ได้ใช้สิทธิลงคะแนน 2 ครั้ง ในครั้งแรกให้ความเห็นชอบในฐานะสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี แต่ผลการนับคะแนนปรากฏว่า มีผู้เห็นชอบและผู้ไม่เห็นชอบ 69 เสียงเท่ากัน จึงใช้สิทธิครั้งที่ 2 ให้ความเห็นชอบในฐานะประธานวุฒิสภา เป็นผลให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภาด้วยคะแนน 70 ต่อ 69 เสียง ทำให้สมาชิกวุฒิสภาส่วนหนึ่งเห็นว่า การใช้สิทธิของประธานวุฒิสภาแม้ไม่ผิดข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาหรือทำถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ แต่ตามธรรมเนียมปฏิบัติไม่ควรใช้สิทธิลงคะแนน 2 ครั้ง จะทำให้ถูกมองว่าวางตัวไม่เป็นกลาง ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อวุฒิสภา และจะกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในอนาคต จึงนำไปสู่การเคลื่อนไหวกดดันให้ประธานวุฒิสภาทบทวนบทบาทของตนเอง[10]

การมีหุ้นในบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด นายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา มีชื่อร่วมลงทุนทำธุรกิจกับ นางนงเยาว์ พลางกูร ในบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด จำนวน 1,000 หุ้น ตั้งแต่ ปี 2533 โดยนางนงเยาว์ เป็น 1 ใน 7 หุ้นส่วนที่ทำธุรกิจร่วมกับนายสุพจน์ ทองวิลัย หัวหน้าขบวนการค้ายาบ้าในภาคเหนือของกลุ่มว้าแดง ผู้ต้องหาคนสำคัญในคดีค้ายาเสพติด ซึ่ง นายสนิท ได้ออกมาปฏิเสธว่า ไม่ทราบเรื่องที่มีหุ้นอยู่ในบริษัทนี้ และไม่รู้จักกับนายสุพจน์ แต่รู้จักกับนางนงเยาว์ ภรรยาของพลโท พร้อม ผิวนวล อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 เป็นการส่วนตัว และได้ทำหนังสือถึงกรรมการผู้จัดการบริษัท แนนซี พี.เทรด จำกัด เพื่อขอถอนชื่อออกจากการเป็นผู้ถือหุ้นและให้ทำหนังสือขอโทษเป็นลายลักษณ์อักษรที่สร้างความเสื่อมเสียชื่อเสียงให้กับนายสนิท ในฐานะประธานวุฒิสภา[11]

การพ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภา เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2544 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ใบเหลืองแก่ นายสนิท วรปัญญา สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี เพราะเห็นว่าการเลือกตั้งไม่ได้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมมีการกระทำผิดมาตรา 44 ประกอบมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พุทธศักราช 2541[12] มี 6 ข้อหา คือ 1. แจกเสื้อ 2. แจกเงินให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้าน 3. แจกเงินให้วัด 4. สัญญาว่าจะให้ประปาหมู่บ้าน 5. สัญญาว่าจะให้ดินลูกรังถมถนนทางเข้าหมู่บ้าน 6. โฆษณาหาเสียง[13] ส่งผลให้นายสนิท วรปัญญา สิ้นสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรี ทำให้พ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภาด้วย ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 21 เมษายน 2544[14] นายสนิท วรปัญญา ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลพบุรีอีกครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามา รวมระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2543 ถึง วันที่ 13 มีนาคม 2544[15] เป็นเวลา 7 เดือน 10 วัน

อ้างอิง

  1. สนิท วรปัญญา, เสถียรภาพของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย (กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2531), หน้าประวัติผู้เขียน.
  2. “สนิท วรปัญญา ‘ชาย 2 เสียง’,” ไทยโพสต์, 26 กันยายน 2543, หน้า 4.
  3. สนิท วรปัญญา, หน้าประวัติผู้เขียน.
  4. “สนิท วรปัญญา ประธานวุฒิฯ 2 ปี,” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์, 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 8.
  5. “สนิท วรปัญญา” ผมไม่ได้เข้ามาเพราะพี่ชาย,” ผู้จัดการรายสัปดาห์, 13 มีนาคม 2543, หน้า 16.
  6. คณัศ พันธรักษ์ราชเดช, “ประธานวุฒิสภาคนใหม่,” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์, 47, 11 (13-19 สิงหาคม 2543), หน้า 24.
  7. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, การแสดงวิสัยทัศน์ของสมาชิกวุฒิสภาที่ประสงค์เสนอตัวเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา (กรุงเทพฯ : ฝ่ายชวเลข กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ม.ป.ป.), หน้า 4/1-6/2.
  8. “เบื้องหลัง สนิท วรปัญญา ยึดเก้าอี้ประธาน ส.ว.,” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์, 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 22.
  9. “ ‘สนิท’ ตั้ง ‘โฆสิต’ กุนซือกู้ภาพสภาสูง,” ไทยโพสต์, 1 กันยายน 2543, หน้า 16.
  10. “ย้อนรอยความไม่พอใจท่านประธาน,” ไทยโพสต์, 30 กันยายน 2543, หน้า 2.
  11. “ ‘สนิท วรปัญญา’ แจงเหตุพันหุ้นส่วน ‘ว้าแดง’ ‘ไม่รู้มีหุ้น บ.แนนซี พี.เทรด’,” ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน), 12 มีนาคม 2544, หน้า 5.
  12. “ ‘สนิท’ ยืนท่ามกลางความอัปยศครั้งใหญ่!,” ผู้จัดการรายวัน, 14 มีนาคม 2544, หน้า 14.
  13. “ ‘สนิท’ ดิ้นร้องศาลปกครองปลดมติกกต.,” กรุงเทพธุรกิจ, 24 มีนาคม 2544, หน้า 12, 8.
  14. “ ‘สนิท’ ไปไม่ต้องออกแรง ‘มนูญกฤต’ ผงาด ‘ทักษิณ’ หนาว!,” อาทิตย์วิเคราะห์รายวัน, 14 มีนาคม 2544, หน้า 2.
  15. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 75 ปี รัฐสภาไทย (กรุงเทพฯ : กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550), หน้า 57.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

“ฉากสุดท้าย? สนิท วรปัญญา.” สยามรัฐ, 14 มีนาคม 2544, หน้า 5.

“ซื้อเสียง...ผมคิดว่ารุนแรงมากในความรู้สึก.” ผู้จัดการรายวัน, 27 กรกฎาคม 2543, หน้า 18.

“บัลลังก์แห่งประวัติศาสตร์.” โลกการค้า 6, 60 (กันยายน 2543), หน้า 72-74.

“เปิดใจ ‘สนิท วรปัญญา’ ประธาน ส.ว. ‘เลือกตั้ง’ คนแรกในประวัติศาสตร์.” มติชน, 2 สิงหาคม 2543, หน้า 2.

“เปลือยอกช้ำๆ ‘สนิท วรปัญญา’ ฟ้าผ่าเก้าอี้หัก!.” มติชน, 14 มีนาคม 2544, หน้า 2.

“ประวัตินายสนิท วรปัญญา ประธานวุฒิสภา.” มติชน, 2 สิงหาคม 2543, หน้า 2.

“ม้วนเดียวสองขยัก นั่งเก้าอี้ประวัติศาสตร์ประธานวุฒิฯ คนแรก.” ฐานเศรษฐกิจ, 3-5 สิงหาคม 2543, หน้า 15.

บรรณานุกรม

“2 ขั้วสระอิด ‘พี่หนิด-มนูญกฤต’ ได้เวลาวุฒิสภากวาดบ้านตัวเอง.” ไทยโพสต์, 11 มีนาคม 2544, หน้า 2.

“ข่าวเด่น-ดัง 2544 ปีแห่งวิกฤตไทย เหตุการณ์สำคัญในรอบปีของรัฐสภา.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 48, 21 (28 ธันวาคม 2544-3 มกราคม 2545), หน้า 13-14.

คณัศ พันธรักษ์ราชเดช. “ประธานวุฒิสภาคนใหม่.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 47, 11 (13-19 สิงหาคม 2543), หน้า 24-26.

ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข. “ ‘สนิท วรปัญญา’ นั่งแท่นประมุขสภาสูง ผลแห่งการประลองกำลัง.” เนชั่นสุดสัปดาห์ 9, 427 (7-13 สิงหาคม 2543), หน้า 96.

“เบื้องลึก ‘สนิท’ เข้าวิน ‘ชุมพล’ พ่ายโค้งสุดท้าย ส.ว. นับหนึ่งลุยของร้อน.” ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน), 3 สิงหาคม 2543, หน้า 2.

“เบื้องหลัง สนิท วรปัญญา ยึดเก้าอี้ประธาน ส.ว.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 22-23.

“ ‘พี่หนิด’ หงิดหงิดหนักมีหุ้นบริษัทซี้ ‘ว้าแดง’.” ไทยโพสต์, 8 มีนาคม 2544, หน้า 3.

“ย้อนรอยความไม่พอใจท่านประธาน.” ไทยโพสต์, 30 กันยายน 2543, หน้า 2.

“ส.ว. รุมยำ ‘สนิท’ เป็นแบบอย่างไม่ดี.” กรุงเทพธุรกิจ, 27 กันยายน 2543, หน้า 15, 16.

“ ‘สนิท’ ดิ้นร้องศาลปกครองปลดมติกกต.” กรุงเทพธุรกิจ, 24 มีนาคม 2544, หน้า 12, 8.

“ ‘สนิท’ ตั้ง ‘โฆสิต’ กุนซือกู้ภาพสภาสูง.” ไทยโพสต์, 1 กันยายน 2543, หน้า 16.

“ ‘สนิท’ ไปไม่ต้องออกแรง ‘มนูญกฤต’ ผงาด ‘ทักษิณ’ หนาว!.” อาทิตย์วิเคราะห์รายวัน, 14 มีนาคม 2544, หน้า 2.

“ ‘สนิท’ ยืนท่ามกลางความอัปยศครั้งใหญ่!.” ผู้จัดการรายวัน, 14 มีนาคม 2544, หน้า 14.

“ ‘สนิท วรปัญญา’ แจงเหตุพันหุ้นส่วน ‘ว้าแดง’ ‘ไม่รู้มีหุ้น บ.แนนซี พี.เทรด’.” ประชาชาติธุรกิจ (ราย 3 วัน), 12 มีนาคม 2544, หน้า 5.

“สนิท วรปัญญา ‘ชาย 2 เสียง’.” ไทยโพสต์, 26 กันยายน 2543, หน้า 4.

“สนิท วรปัญญา ‘ตั้งใจ’.” ไทยโพสต์, 28 กรกฎาคม 2543, หน้า 4.

“สนิท วรปัญญา ‘ปิ๋ว’.” ไทยโพสต์, 24 เมษายน 2544, หน้า 4.

“สนิท วรปัญญา ประธานวุฒิฯ 2 ปี.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 47, 10 (6-12 สิงหาคม 2543), หน้า 8.

“สนิท วรปัญญา” ผมไม่ได้เข้ามาเพราะพี่ชาย.” ผู้จัดการรายสัปดาห์, 13 มีนาคม 2543, หน้า 16.

สนิท วรปัญญา. เสถียรภาพของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2531.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. การแสดงวิสัยทัศน์ของสมาชิกวุฒิสภาที่ประสงค์เสนอตัวเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา. กรุงเทพฯ : ฝ่ายชวเลข กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ม.ป.ป.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 75 ปี รัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.

ดูเพิ่มเติม