ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ ม..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
 
 


'''          กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)''' กลุ่มดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งใน[[พรรคพลังประชารัฐ]]ที่สื่อมวลชนตั้งให้แก่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 6 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 
'''          กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ)''' กลุ่มดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งใน[[พรรคพลังประชารัฐ|พรรคพลังประชารัฐ]]ที่สื่อมวลชนตั้งให้แก่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 6 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 


'''          '''(1) ''นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี'' หรือ ฉายา '''“มาดามเดียร์”''' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน ซึ่งถือเป็นแกนนำของกลุ่มดาวฤกษ์
'''          '''(1) นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี หรือ ฉายา '''“มาดามเดียร์”''' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน ซึ่งถือเป็นแกนนำของกลุ่มดาวฤกษ์


'''          '''(2) ''นายศิริพงษ์ รัสมี'' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตหนองจอก อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน
'''          '''(2) นายศิริพงษ์ รัสมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตหนองจอก อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน


'''          '''(3) ''นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา'' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตคลองเตย-วัฒนา อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การพัฒนาเศรษฐกิจ
'''          '''(3) นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตคลองเตย-วัฒนา อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การพัฒนาเศรษฐกิจ


'''          '''(4) ''นางสาวภาดาท์ วรกานนท์'' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตราชเทวี-พญาไท-จตุจักร อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
'''          '''(4) นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตราชเทวี-พญาไท-จตุจักร อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


'''          '''(5) ''นางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์'' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตบางกะปิ-วังทองหลาง อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การสวัสดิการสังคม
'''          '''(5) นางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตบางกะปิ-วังทองหลาง อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การสวัสดิการสังคม


'''          '''(6) ''นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์'' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตดุสิต-บางซื่อ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน
'''          '''(6) นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตดุสิต-บางซื่อ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน


'''          '''กลุ่มดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นเกิดจากความคุ้นเคยกันระหว่างสมาชิกตั้งแต่ช่วงหาเสียงเลือกตั้งใหญ่ รวมทั้งมีความสนิทสนมในการทำงานร่วมกันจากการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยได้มีการสร้างความร่วมมือกันในการหยิบยกปัญหาในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้นมาหารือ เพื่อแบ่งปันข้อมูลและความคิดเห็นในการจัดการแก้ปัญหาที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและได้นำเสนอต่อที่ประชุมของพรรค โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเมืองที่ดีและขับเคลื่อนอย่างสร้างสรรค์[[#_ftn1|[1]]]
'''          '''กลุ่มดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นเกิดจากความคุ้นเคยกันระหว่างสมาชิกตั้งแต่ช่วงหาเสียงเลือกตั้งใหญ่ รวมทั้งมีความสนิทสนมในการทำงานร่วมกันจากการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยได้มีการสร้างความร่วมมือกันในการหยิบยกปัญหาในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้นมาหารือ เพื่อแบ่งปันข้อมูลและความคิดเห็นในการจัดการแก้ปัญหาที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและได้นำเสนอต่อที่ประชุมของพรรค โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเมืองที่ดีและขับเคลื่อนอย่างสร้างสรรค์[[#_ftn1|[1]]]
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 24:
 
 
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์[[#_ftn2|[2]]]</p>  
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์[[#_ftn2|[2]]]</p>  
[[File:Palang pracharath party (1).png|center]]
[[File:Palang pracharath party (1).png|center|400px|Palang pracharath party (1).png]]


'''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''ความโดดเด่นของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ในช่วงที่มีการผลักดันให้ '''“กลุ่ม 4 กุมาร”''' นำโดย นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวหน้าทีมเศรษฐกิจของรัฐบาล [[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|พลเอกประยุทธ จันทรโอชา]] ถูกกดดันจากกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพลังประชารัฐกดดันให้พ้นจากตำแหน่งและบทบาทนำของพรรค ซึ่งกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้การนำของ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ และนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตแกนนำ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ([[กปปส.]]) ภายในพลังประชารัฐได้สนับสนุนให้ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ให้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหรือโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี [[#_ftn3|[3]]] แต่ไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งจากพรรค
&nbsp;
 
'''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''ความโดดเด่นของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ในช่วงที่มีการผลักดันให้ '''“กลุ่ม 4 กุมาร”''' นำโดย นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวหน้าทีมเศรษฐกิจของรัฐบาล [[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|พลเอกประยุทธ จันทรโอชา]] ถูกกดดันจากกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพลังประชารัฐกดดันให้พ้นจากตำแหน่งและบทบาทนำของพรรค ซึ่งกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้การนำของ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ และนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตแกนนำ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ([[กปปส.|กปปส.]]) ภายในพลังประชารัฐได้สนับสนุนให้ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ให้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหรือโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี [[#_ftn3|[3]]] แต่ไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งจากพรรค


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทบาทของกลุ่มดาวฤกษ์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างมากจากการนำเสนอมุมมองต่อการเคลื่อนไหวของม็อบราษฎร โดยนำเสนอต่อเวทีสภาผู้แทนราษฎรให้มองแก่นหรือต้นตอของปัญหาที่เป็นเหตุให้นักศึกษาเยาวชนและประชาชนจึงออกมาชุมนุม ทั้งยังเสนอให้เปิดพื้นที่ให้ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงใจ แก้ไขสิ่งที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน[[#_ftn4|[4]]] รวมทั้งการเสนอให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนำเงินจ่ายขาดสะสมงบประมาณปี 2564 มาซื้อวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้คนกรุงเทพ จากปัญหาเนื่องจากวัคซีนมีไม่เพียงพอ[[#_ftn5|[5]]] รวมไปถึงผลักดันโครงการต่าง ๆ ไปยังรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการภาพยนตร์ไทย การลงพื้นที่แก้ปัญหาตึกสูงในพื้นที่เขตพญาไทและเขตเอกมัยในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนยังแสดงบทบาทในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการอภิปราย ร้องเรียน ตั้งกระทู้ เกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน[[#_ftn6|[6]]] เป็นต้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทบาทของกลุ่มดาวฤกษ์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างมากจากการนำเสนอมุมมองต่อการเคลื่อนไหวของม็อบราษฎร โดยนำเสนอต่อเวทีสภาผู้แทนราษฎรให้มองแก่นหรือต้นตอของปัญหาที่เป็นเหตุให้นักศึกษาเยาวชนและประชาชนจึงออกมาชุมนุม ทั้งยังเสนอให้เปิดพื้นที่ให้ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงใจ แก้ไขสิ่งที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน[[#_ftn4|[4]]] รวมทั้งการเสนอให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนำเงินจ่ายขาดสะสมงบประมาณปี 2564 มาซื้อวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้คนกรุงเทพ จากปัญหาเนื่องจากวัคซีนมีไม่เพียงพอ[[#_ftn5|[5]]] รวมไปถึงผลักดันโครงการต่าง ๆ ไปยังรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการภาพยนตร์ไทย การลงพื้นที่แก้ปัญหาตึกสูงในพื้นที่เขตพญาไทและเขตเอกมัยในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนยังแสดงบทบาทในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการอภิปราย ร้องเรียน ตั้งกระทู้ เกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน[[#_ftn6|[6]]] เป็นต้น
บรรทัดที่ 34: บรรทัดที่ 36:
&nbsp;
&nbsp;


[[File:Palang pracharath party (2).jpg|center]]&nbsp;&nbsp;
[[File:Palang pracharath party (2).jpg|center|x300px|Palang pracharath party (2).jpg]]&nbsp;&nbsp;


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดีบทบาทและชื่อของกลุ่มดาวฤกษ์ได้รับความสนใจและถูกจับตาอย่างมากในการงดออกเสียงในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลในส่วนของ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564&nbsp;โดยให้เหตุผลว่า นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ในฐานะรัฐมนตรีผู้ถูกอภิปรายไม่มีการชี้แจงที่ชัดเจนเพียงพอในการตอบคำอภิปรายของพรรคฝ่ายค้านและทำให้สังคมตั้งข้อกังขา ข้อสงสัยในสองประเด็นหลักที่ยังไม่ได้รับคำตอบที่ชัดเจน คือ เรื่องการเปลี่ยนเงื่อนไขและการล้มการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และข้ออภิปรายเรื่องการไม่ปกป้องหรือเรียกคืนที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทยในพื้นที่เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ได้พยายามอย่างที่สุดในการปฏิบัติตามมติพรรค ด้วยการไม่ลงคะแนนไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องปฏิบัติตามจิตวิญญาณความเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยการงดอออกเสียง[[#_ftn8|[8]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดีบทบาทและชื่อของกลุ่มดาวฤกษ์ได้รับความสนใจและถูกจับตาอย่างมากในการงดออกเสียงในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลในส่วนของ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564&nbsp;โดยให้เหตุผลว่า นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ในฐานะรัฐมนตรีผู้ถูกอภิปรายไม่มีการชี้แจงที่ชัดเจนเพียงพอในการตอบคำอภิปรายของพรรคฝ่ายค้านและทำให้สังคมตั้งข้อกังขา ข้อสงสัยในสองประเด็นหลักที่ยังไม่ได้รับคำตอบที่ชัดเจน คือ เรื่องการเปลี่ยนเงื่อนไขและการล้มการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และข้ออภิปรายเรื่องการไม่ปกป้องหรือเรียกคืนที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทยในพื้นที่เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ได้พยายามอย่างที่สุดในการปฏิบัติตามมติพรรค ด้วยการไม่ลงคะแนนไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องปฏิบัติตามจิตวิญญาณความเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยการงดอออกเสียง[[#_ftn8|[8]]]
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 42:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทั้งนี้ผลจากการฝ่าฝืนมติของพรรคในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล โดยได้มีสมาชิกพรรคภูมิใจไทยเรียกร้องถึง '''“มารยาททางการเมือง”''' และแสดงท่าที่ไปยังพรรคพลังประชารัฐให้มีการตักเตือนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนเอง[[#_ftn9|[9]]] ความไม่พอใจดังกล่าวส่งผลให้พรรคพลังประชารัฐได้มีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงกลุ่มดาวฤกษ์ และมีคำสั่งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากการทำงานในคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (ปสส.) ซึ่งมีบทบาทดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา&nbsp;รวมถึงการถอด ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากตำแหน่งทางการเมืองทุกตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งในกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรเป็นระยะเวลา 3 เดือน&nbsp;และให้ขอโทษไปยังพรรคภูมิใจไทย โดยอ้างถึงการสร้างบรรทัดฐานทางการเมือง และเป็นแนวทางการทำงานของพรรคพลังประชารัฐ[[#_ftn10|[10]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทั้งนี้ผลจากการฝ่าฝืนมติของพรรคในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล โดยได้มีสมาชิกพรรคภูมิใจไทยเรียกร้องถึง '''“มารยาททางการเมือง”''' และแสดงท่าที่ไปยังพรรคพลังประชารัฐให้มีการตักเตือนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนเอง[[#_ftn9|[9]]] ความไม่พอใจดังกล่าวส่งผลให้พรรคพลังประชารัฐได้มีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงกลุ่มดาวฤกษ์ และมีคำสั่งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากการทำงานในคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (ปสส.) ซึ่งมีบทบาทดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา&nbsp;รวมถึงการถอด ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากตำแหน่งทางการเมืองทุกตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งในกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรเป็นระยะเวลา 3 เดือน&nbsp;และให้ขอโทษไปยังพรรคภูมิใจไทย โดยอ้างถึงการสร้างบรรทัดฐานทางการเมือง และเป็นแนวทางการทำงานของพรรคพลังประชารัฐ[[#_ftn10|[10]]]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี ในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเดือนกันยายน พ.ศ.2564 นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี&nbsp;ได้ลงมติฝ่าฝืนมติพรรคอีกครั้ง โดยลงคะแนนงดออกเสียงให้กับ นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเหตุผลว่าคำชี้แจงของนายอนุทินต่อการอภิปรายข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านถึงความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อวัคซีน รวมถึงความสามารถในการบริหารงานด้านสาธารณสุขในช่วงของการระบาดของ COVID-19 ไม่ได้รับความชัดเจนและไม่สามารถตอบข้อสงสัยของประชาชนได้&nbsp;โดยการลงมติฝืนมติพรรคในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์คนอื่น ๆ ได้ลงมติตามที่พรรคพลังประชารัฐกำหนดไว้ทุกประการ ยกเว้น น.ส.ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ที่ในขณะนั้นอยู่ระหว่างการหยุดปฏิบัติหน้าที่[[#_ftn11|[11]]] ระหว่างการพิจารณากรณีฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร ส.ส. แทนกัน<br/> ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร[[#_ftn12|[12]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี ในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเดือนกันยายน พ.ศ.2564 นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี&nbsp;ได้ลงมติฝ่าฝืนมติพรรคอีกครั้ง โดยลงคะแนนงดออกเสียงให้กับ นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเหตุผลว่าคำชี้แจงของนายอนุทินต่อการอภิปรายข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านถึงความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อวัคซีน รวมถึงความสามารถในการบริหารงานด้านสาธารณสุขในช่วงของการระบาดของ COVID-19 ไม่ได้รับความชัดเจนและไม่สามารถตอบข้อสงสัยของประชาชนได้&nbsp;โดยการลงมติฝืนมติพรรคในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์คนอื่น ๆ ได้ลงมติตามที่พรรคพลังประชารัฐกำหนดไว้ทุกประการ ยกเว้น น.ส.ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ที่ในขณะนั้นอยู่ระหว่างการหยุดปฏิบัติหน้าที่[[#_ftn11|[11]]] ระหว่างการพิจารณากรณีฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร ส.ส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร[[#_ftn12|[12]]]


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 46: บรรทัดที่ 48:
<span style="font-size:x-large;">'''สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566'''</span>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ถือเป็นจุดเปลี่ยนในการยุติการรวมกลุ่มของกลุ่มดาวฤกษ์ในทางการเมืองไทย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ได้ย้ายออกจากพรรคพลังประชารัฐเกือบทั้งหมด ยกเว้นนายศิริพงษ์ รัสมี ที่ยังคงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดพรรคพลังประชารัฐ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ย้ายไปเป็นสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์]] และได้ลงสมัครเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ส่วนนางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา และนางสาวภาดาท์ วรกานนท์ ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตในกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคภูมิใจไทย[[#_ftn13|[13]]] ส่วนนางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ ย้ายไปลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[[#_ftn14|[14]]] อย่างไรก็ดีอดีตสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 และสมาชิกบางส่วนได้ยุติบทบาททางการเมืองไป ได้แก่ ธณิกานต์&nbsp;พรพงษาโรจน์ เนื่องจากมีพฤติการณ์ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร สส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดชีวิต[[#_ftn15|''''''[15]'''''']]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ถือเป็นจุดเปลี่ยนในการยุติการรวมกลุ่มของกลุ่มดาวฤกษ์ในทางการเมืองไทย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ได้ย้ายออกจากพรรคพลังประชารัฐเกือบทั้งหมด ยกเว้นนายศิริพงษ์ รัสมี ที่ยังคงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดพรรคพลังประชารัฐ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ย้ายไปเป็นสมาชิก[[พรรคประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]] และได้ลงสมัครเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ส่วนนางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา และนางสาวภาดาท์ วรกานนท์ ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตในกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคภูมิใจไทย[[#_ftn13|[13]]] ส่วนนางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ ย้ายไปลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[[#_ftn14|[14]]] อย่างไรก็ดีอดีตสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 และสมาชิกบางส่วนได้ยุติบทบาททางการเมืองไป ได้แก่ ธณิกานต์&nbsp;พรพงษาโรจน์ เนื่องจากมีพฤติการณ์ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร สส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดชีวิต[[#_ftn15|[15]]]


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 52: บรรทัดที่ 54:
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>'''
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>'''
<div><div id="ftn1">
<div><div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] “เจาะใจ “ดาวฤกษ์” พลังประชารัฐโหวตสวนมติพรรค: ยอมหักไม่ยอมงอ[[”. สืบค้นจาก (พรรคพลังประชารัฐ)|”. สืบค้นจาก]] https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024 (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref1|[1]]] “เจาะใจ “ดาวฤกษ์” พลังประชารัฐโหวตสวนมติพรรค: ยอมหักไม่ยอมงอ”. สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024 https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] เด็กภูมิใจไทย โพสต์เหน็บ ส.ส.ดาวฤกษ์ โหวตหักหน้า 'เนวิน' ฉุนไม่รักษามารยาทการเมือง https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref2|[2]]] เด็กภูมิใจไทย โพสต์เหน็บ ส.ส.ดาวฤกษ์ โหวตหักหน้า 'เนวิน' ฉุนไม่รักษามารยาทการเมือง [https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] 6 ดาวฤกษ์ สู่ ดาวเคราะห์ ประกาศิต “บิ๊กป้อม” แช่แข็งเก้าอี้การเมือง https://www.prachachat.net/politics/news-637776 (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref3|[3]]] 6 ดาวฤกษ์ สู่ ดาวเคราะห์ ประกาศิต “บิ๊กป้อม” แช่แข็งเก้าอี้การเมือง [https://www.prachachat.net/politics/news-637776 https://www.prachachat.net/politics/news-637776] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] ‘กลุ่มดาวฤกษ์’ ชี้ เสียงเยาวชนสะท้อนปัญหาหลายปม วอนอย่าก้าวล่วงสถาบัน https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083 (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref4|[4]]] ‘กลุ่มดาวฤกษ์’ ชี้ เสียงเยาวชนสะท้อนปัญหาหลายปม วอนอย่าก้าวล่วงสถาบัน [https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083 https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] “"ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์" เสนอ นำเงินจ่ายขาดสะสมปี 64 ซื้อวัคซีนโควิด ให้คน กทม.”. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497 (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref5|[5]]] “"ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์" เสนอ นำเงินจ่ายขาดสะสมปี 64 ซื้อวัคซีนโควิด ให้คน กทม.”. สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497 https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] “ดาวฤกษ์โชว์”. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref6|[6]]] “ดาวฤกษ์โชว์”. สืบค้นจาก [https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13 https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13] เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] “กาวใจ? "มาดามเดียร์" นำทีม 6 ส.ส. พลังประชารัฐ วอนผู้ใหญ่หยุดทะเลาะกัน”. สืบค้นจาก https://www.sanook.com/news/8179666/ (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref7|[7]]] “กาวใจ? "มาดามเดียร์" นำทีม 6 ส.ส. พลังประชารัฐ วอนผู้ใหญ่หยุดทะเลาะกัน”. สืบค้นจาก [https://www.sanook.com/news/8179666/ https://www.sanook.com/news/8179666/] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] “มาดามเดียร์ เผยเหตุ กลุ่มดาวฤกษ์ งดออกเสียง ไว้วางใจ ศักดิ์สยาม! ”. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref8|[8]]] “มาดามเดียร์ เผยเหตุ กลุ่มดาวฤกษ์ งดออกเสียง ไว้วางใจ ศักดิ์สยาม! ”. สืบค้นจาก [https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13 https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13] เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] “ส่องปรากฏการณ์ กลุ่มดาวฤกษ์งดโหวต ‘ศักดิ์สยาม’-เทียบภูมิใจไทยงดโหวต ‘ประยุทธ์’”.สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763 (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref9|[9]]] “ส่องปรากฏการณ์ กลุ่มดาวฤกษ์งดโหวต ‘ศักดิ์สยาม’-เทียบภูมิใจไทยงดโหวต ‘ประยุทธ์’”.สืบค้นจาก [https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763 https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] “พปชร. ลงดาบส.ส.ดาวฤกษ์ถอดจากทุกตำแหน่งการเมือง หลังโหวตสวนมติพรรค”. สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/2021/73644 &nbsp;(13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref10|[10]]] “พปชร. ลงดาบส.ส.ดาวฤกษ์ถอดจากทุกตำแหน่งการเมือง หลังโหวตสวนมติพรรค”. สืบค้นจาก [https://www.infoquest.co.th/2021/73644 https://www.infoquest.co.th/2021/73644] &nbsp;(13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] “กลุ่มดาวฤกษ์" แตก! "มาดามเดียร์" โพสต์แจงงดออกเสียงหนุน "อนุทิน" ขอแสดงจุดยืนตัวแทนปชช.”. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/277609 (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref11|[11]]] “กลุ่มดาวฤกษ์" แตก! "มาดามเดียร์" โพสต์แจงงดออกเสียงหนุน "อนุทิน" ขอแสดงจุดยืนตัวแทนปชช.”. สืบค้นจาก [https://siamrath.co.th/n/277609 https://siamrath.co.th/n/277609] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] “ศาลฎีกานักการเมือง พิพากษาจำคุก 1 ปี ปรับ 2 แสน ‘ธณิกานต์’ ส.ส. พลังประชารัฐ ปมเสียบบัตรเเทนกัน รอลงอาญา 2 ปี”. สืบค้นจาก https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/ (13 เมษายน 2566).
[[#_ftnref12|[12]]] “ศาลฎีกานักการเมือง พิพากษาจำคุก 1 ปี ปรับ 2 แสน ‘ธณิกานต์’ ส.ส. พลังประชารัฐ ปมเสียบบัตรเเทนกัน รอลงอาญา 2 ปี”. สืบค้นจาก [https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/ https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/] (13 เมษายน 2566).
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] “‘กรณิศ’ กอด ‘วัน ภาดาท์’ เข้าพรรคภูมิใจไทย”. สืบค้นจาก https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/ (30 พฤษภาคม 2566).
[[#_ftnref13|[13]]] “‘กรณิศ’ กอด ‘วัน ภาดาท์’ เข้าพรรคภูมิใจไทย”. สืบค้นจาก [https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/ https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/] (30 พฤษภาคม 2566).
</div> <div id="ftn14">
</div> <div id="ftn14">
[[#_ftnref14|[14]]] “ฐิติภัสร์” เตรียมเลือกตั้ง ส.ส.กทม.ในนาม “รทสช.” ภูมิใจ 4 ปี ตั้งใจทุ่มเททำงาน รับใช้ชาวบางกะปิ วังทองหลาง”. สืบค้นจาก https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783 (30 พฤษภาคม 2566).
[[#_ftnref14|[14]]] “ฐิติภัสร์” เตรียมเลือกตั้ง ส.ส.กทม.ในนาม “รทสช.” ภูมิใจ 4 ปี ตั้งใจทุ่มเททำงาน รับใช้ชาวบางกะปิ วังทองหลาง”. สืบค้นจาก [https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783 https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783] (30 พฤษภาคม 2566).
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] “ศาลฎีกาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ‘ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์’ อดีต สส. พปชร. ตลอดชีวิต ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบเสียบบัตรแทนกัน”สืบค้นจาก https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/ (31 สิงหาคม 2566).
[[#_ftnref15|[15]]] “ศาลฎีกาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ‘ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์’ อดีต สส. พปชร. ตลอดชีวิต ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบเสียบบัตรแทนกัน”สืบค้นจาก [https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/ https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/] (31 สิงหาคม 2566).
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:นักการเมือง]][[Category:พรรคการเมือง]][[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:ว่าด้วยพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]
[[Category:นักการเมือง]] [[Category:พรรคการเมือง]] [[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]] [[Category:ว่าด้วยพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:57, 6 กันยายน 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

          กลุ่มดาวฤกษ์ (พรรคพลังประชารัฐ) กลุ่มดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งในพรรคพลังประชารัฐที่สื่อมวลชนตั้งให้แก่ กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 6 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 

          (1) นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี หรือ ฉายา “มาดามเดียร์” สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน ซึ่งถือเป็นแกนนำของกลุ่มดาวฤกษ์

          (2) นายศิริพงษ์ รัสมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตหนองจอก อดีตที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน

          (3) นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตคลองเตย-วัฒนา อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การพัฒนาเศรษฐกิจ

          (4) นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตราชเทวี-พญาไท-จตุจักร อดีตโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

          (5) นางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตบางกะปิ-วังทองหลาง อดีตประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ การสวัสดิการสังคม

          (6) นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตดุสิต-บางซื่อ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน

          กลุ่มดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นเกิดจากความคุ้นเคยกันระหว่างสมาชิกตั้งแต่ช่วงหาเสียงเลือกตั้งใหญ่ รวมทั้งมีความสนิทสนมในการทำงานร่วมกันจากการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยได้มีการสร้างความร่วมมือกันในการหยิบยกปัญหาในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้นมาหารือ เพื่อแบ่งปันข้อมูลและความคิดเห็นในการจัดการแก้ปัญหาที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและได้นำเสนอต่อที่ประชุมของพรรค โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเมืองที่ดีและขับเคลื่อนอย่างสร้างสรรค์[1]

 

ภาพ : สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์[2]

Palang pracharath party (1).png
Palang pracharath party (1).png

 

          ความโดดเด่นของกลุ่มดาวฤกษ์เกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ในช่วงที่มีการผลักดันให้ “กลุ่ม 4 กุมาร” นำโดย นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวหน้าทีมเศรษฐกิจของรัฐบาล พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ถูกกดดันจากกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพลังประชารัฐกดดันให้พ้นจากตำแหน่งและบทบาทนำของพรรค ซึ่งกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใต้การนำของ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ และนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตแกนนำ คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ภายในพลังประชารัฐได้สนับสนุนให้ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ให้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีหรือโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี [3] แต่ไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งจากพรรค

          บทบาทของกลุ่มดาวฤกษ์ที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างมากจากการนำเสนอมุมมองต่อการเคลื่อนไหวของม็อบราษฎร โดยนำเสนอต่อเวทีสภาผู้แทนราษฎรให้มองแก่นหรือต้นตอของปัญหาที่เป็นเหตุให้นักศึกษาเยาวชนและประชาชนจึงออกมาชุมนุม ทั้งยังเสนอให้เปิดพื้นที่ให้ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงใจ แก้ไขสิ่งที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน[4] รวมทั้งการเสนอให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนำเงินจ่ายขาดสะสมงบประมาณปี 2564 มาซื้อวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้คนกรุงเทพ จากปัญหาเนื่องจากวัคซีนมีไม่เพียงพอ[5] รวมไปถึงผลักดันโครงการต่าง ๆ ไปยังรัฐบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการภาพยนตร์ไทย การลงพื้นที่แก้ปัญหาตึกสูงในพื้นที่เขตพญาไทและเขตเอกมัยในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนยังแสดงบทบาทในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการอภิปราย ร้องเรียน ตั้งกระทู้ เกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน[6] เป็นต้น

          นอกจากนี้กลุ่มดาวฤกษ์ยังได้แสดงบทบาทในการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาความขัดแย้งภายในพรรคพลังประชารัฐ จากกรณีกรรมการบริหารพรรค 18 คน ลาออกจากตำแหน่ง โดยเรียกร้องให้แกนนำของพรรคพลังประชารัฐ ซึ่งเป็นพรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาลยุติความขัดแย้ง มุ่งหน้าแก้ไขปัญหาความทุกข์ร้อนของประชาชนตามสัญญาที่ให้ไว้ โดยใช้แฮชแท็กว่า "#หยุดทะเลาะเพื่อประชาชน #AllLivesMatter"[7] ในการเผยแพร่จุดยืนของกลุ่มตนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น

 

Palang pracharath party (2).jpg
Palang pracharath party (2).jpg

  

          อย่างไรก็ดีบทบาทและชื่อของกลุ่มดาวฤกษ์ได้รับความสนใจและถูกจับตาอย่างมากในการงดออกเสียงในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลในส่วนของ นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยให้เหตุผลว่า นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ในฐานะรัฐมนตรีผู้ถูกอภิปรายไม่มีการชี้แจงที่ชัดเจนเพียงพอในการตอบคำอภิปรายของพรรคฝ่ายค้านและทำให้สังคมตั้งข้อกังขา ข้อสงสัยในสองประเด็นหลักที่ยังไม่ได้รับคำตอบที่ชัดเจน คือ เรื่องการเปลี่ยนเงื่อนไขและการล้มการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม และข้ออภิปรายเรื่องการไม่ปกป้องหรือเรียกคืนที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทยในพื้นที่เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ได้พยายามอย่างที่สุดในการปฏิบัติตามมติพรรค ด้วยการไม่ลงคะแนนไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องปฏิบัติตามจิตวิญญาณความเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยการงดอออกเสียง[8]

          ทั้งนี้ผลจากการฝ่าฝืนมติของพรรคในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล โดยได้มีสมาชิกพรรคภูมิใจไทยเรียกร้องถึง “มารยาททางการเมือง” และแสดงท่าที่ไปยังพรรคพลังประชารัฐให้มีการตักเตือนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดของพรรคตนเอง[9] ความไม่พอใจดังกล่าวส่งผลให้พรรคพลังประชารัฐได้มีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงกลุ่มดาวฤกษ์ และมีคำสั่งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากการทำงานในคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร (ปสส.) ซึ่งมีบทบาทดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา รวมถึงการถอด ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์ ออกจากตำแหน่งทางการเมืองทุกตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งในกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรเป็นระยะเวลา 3 เดือน และให้ขอโทษไปยังพรรคภูมิใจไทย โดยอ้างถึงการสร้างบรรทัดฐานทางการเมือง และเป็นแนวทางการทำงานของพรรคพลังประชารัฐ[10]

          อย่างไรก็ดี ในการลงมติอภิปรายไม่ไว้วางใจเดือนกันยายน พ.ศ.2564 นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ลงมติฝ่าฝืนมติพรรคอีกครั้ง โดยลงคะแนนงดออกเสียงให้กับ นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทยในฐานะรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยเหตุผลว่าคำชี้แจงของนายอนุทินต่อการอภิปรายข้อกล่าวหาของฝ่ายค้านถึงความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อวัคซีน รวมถึงความสามารถในการบริหารงานด้านสาธารณสุขในช่วงของการระบาดของ COVID-19 ไม่ได้รับความชัดเจนและไม่สามารถตอบข้อสงสัยของประชาชนได้ โดยการลงมติฝืนมติพรรคในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์คนอื่น ๆ ได้ลงมติตามที่พรรคพลังประชารัฐกำหนดไว้ทุกประการ ยกเว้น น.ส.ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ ที่ในขณะนั้นอยู่ระหว่างการหยุดปฏิบัติหน้าที่[11] ระหว่างการพิจารณากรณีฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร ส.ส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร[12]

 

สมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566

          ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 ถือเป็นจุดเปลี่ยนในการยุติการรวมกลุ่มของกลุ่มดาวฤกษ์ในทางการเมืองไทย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ได้ย้ายออกจากพรรคพลังประชารัฐเกือบทั้งหมด ยกเว้นนายศิริพงษ์ รัสมี ที่ยังคงลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในสังกัดพรรคพลังประชารัฐ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี ได้ย้ายไปเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และได้ลงสมัครเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ส่วนนางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา และนางสาวภาดาท์ วรกานนท์ ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตในกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคภูมิใจไทย[13] ส่วนนางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ ย้ายไปลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[14] อย่างไรก็ดีอดีตสมาชิกกลุ่มดาวฤกษ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 และสมาชิกบางส่วนได้ยุติบทบาททางการเมืองไป ได้แก่ ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ เนื่องจากมีพฤติการณ์ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง กรณีเสียบบัตร สส. แทนกันในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งศาลฎีกาได้มีคำพิพากษาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดชีวิต[15]

 

อ้างอิง

[1] “เจาะใจ “ดาวฤกษ์” พลังประชารัฐโหวตสวนมติพรรค: ยอมหักไม่ยอมงอ”. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2041024 (13 เมษายน 2566).

[2] เด็กภูมิใจไทย โพสต์เหน็บ ส.ส.ดาวฤกษ์ โหวตหักหน้า 'เนวิน' ฉุนไม่รักษามารยาทการเมือง https://www.youtube.com/watch?v=U-rI3shF14w (13 เมษายน 2566).

[3] 6 ดาวฤกษ์ สู่ ดาวเคราะห์ ประกาศิต “บิ๊กป้อม” แช่แข็งเก้าอี้การเมือง https://www.prachachat.net/politics/news-637776 (13 เมษายน 2566).

[4] ‘กลุ่มดาวฤกษ์’ ชี้ เสียงเยาวชนสะท้อนปัญหาหลายปม วอนอย่าก้าวล่วงสถาบัน https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_360083 (13 เมษายน 2566).

[5] “"ส.ส.กลุ่มดาวฤกษ์" เสนอ นำเงินจ่ายขาดสะสมปี 64 ซื้อวัคซีนโควิด ให้คน กทม.”. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2117497 (13 เมษายน 2566).

[6] “ดาวฤกษ์โชว์”. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/90991(13 เมษายน 2566).

[7] “กาวใจ? "มาดามเดียร์" นำทีม 6 ส.ส. พลังประชารัฐ วอนผู้ใหญ่หยุดทะเลาะกัน”. สืบค้นจาก https://www.sanook.com/news/8179666/ (13 เมษายน 2566).

[8] “มาดามเดียร์ เผยเหตุ กลุ่มดาวฤกษ์ งดออกเสียง ไว้วางใจ ศักดิ์สยาม! ”. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_5992257(13 เมษายน 2566).

[9] “ส่องปรากฏการณ์ กลุ่มดาวฤกษ์งดโหวต ‘ศักดิ์สยาม’-เทียบภูมิใจไทยงดโหวต ‘ประยุทธ์’”.สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/923763 (13 เมษายน 2566).

[10] “พปชร. ลงดาบส.ส.ดาวฤกษ์ถอดจากทุกตำแหน่งการเมือง หลังโหวตสวนมติพรรค”. สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/2021/73644  (13 เมษายน 2566).

[11] “กลุ่มดาวฤกษ์" แตก! "มาดามเดียร์" โพสต์แจงงดออกเสียงหนุน "อนุทิน" ขอแสดงจุดยืนตัวแทนปชช.”. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/277609 (13 เมษายน 2566).

[12] “ศาลฎีกานักการเมือง พิพากษาจำคุก 1 ปี ปรับ 2 แสน ‘ธณิกานต์’ ส.ส. พลังประชารัฐ ปมเสียบบัตรเเทนกัน รอลงอาญา 2 ปี”. สืบค้นจาก https://thestandard.co/supreme-court-of-politicians-thanikan-pornpongsarot-judge/ (13 เมษายน 2566).

[13] “‘กรณิศ’ กอด ‘วัน ภาดาท์’ เข้าพรรคภูมิใจไทย”. สืบค้นจาก https://www.thereporters.co/tw-politics/2112221352/ (30 พฤษภาคม 2566).

[14] “ฐิติภัสร์” เตรียมเลือกตั้ง ส.ส.กทม.ในนาม “รทสช.” ภูมิใจ 4 ปี ตั้งใจทุ่มเททำงาน รับใช้ชาวบางกะปิ วังทองหลาง”. สืบค้นจาก https://mgronline.com/politics/detail/9660000017783 (30 พฤษภาคม 2566).

[15] “ศาลฎีกาเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ‘ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์’ อดีต สส. พปชร. ตลอดชีวิต ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบเสียบบัตรแทนกัน”สืบค้นจาก https://thestandard.co/revoke-right-apply-election-thanikarn/ (31 สิงหาคม 2566).