ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง :''' นายสานิต  กระต่ายทอง


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' นายจเร พันธุ์เปรื่อง
'''ผู้เรียบเรียง :''' นายสานิต กระต่ายทอง
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' นายจเร พันธุ์เปรื่อง


----
----


== พระประวัติ ==


สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า “[[พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์|พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์]]” พระราชโอรสในเจ้าจอมมารดาอ่วม ธิดาพระพิณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร)<ref>กัลยา เกื้อตระกูล, “ราชสกุลสยาม”, กรุงเทพมหานคร : ยิปซี, 2552, หน้า 147-148.</ref> ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันจันทร์ เดือน 7 แรม 9 ค่ำ ปีจอ ฉศก จ.ศ. 1236 ตรงกับวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2417<ref>กรมศิลปากร, “ราชสกุลวงศ์”, กรุงเทพมหานคร : สกสค, 2554, หน้า 83.</ref> นับเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับเจ้าจอมมารดาอ่วม เพราะพระเชษฐา 2 พระองค์คือ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร และพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชาย ซึ่งยังไม่มีพระนามแต่สิ้นพระชนม์ก่อนที่พระองค์ท่านจะประสูติ ดังนั้น ราชสกุลกิติยากร จึงเป็นราชสกุลสายแรกซึ่งสืบมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref>กิตติวัฒนา (ไชยยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว., “สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง”, กรุงเทพมหานคร : ดีเอ็มจี, 2551, หน้า 36. </ref>


ทรงเริ่มการศึกษาที่สำนักของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) พร้อมกับพระอนุชาที่มีพระชนมายุไล่เลี่ยกันเมื่อ พ.ศ. 2425 ต่อมาในปี พ.ศ. 2426 ได้เสด็จไปทรงศึกษาต่อ ณ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ โดยมีมหาปั้น เป็นผู้ถวายพระอักษรประจำในพุทธศักราช 2426 ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 ได้ทรงบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ 15 วัน ก่อนเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ พร้อมกับพระอนุชาอีก 3 พระองค์ คือ


พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์


== พระประวัติ ==
สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า “[[พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์]]” พระราชโอรสในเจ้าจอมมารดาอ่วม ธิดาพระพิณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร)<ref>กัลยา เกื้อตระกูล, “ราชสกุลสยาม”, กรุงเทพมหานคร : ยิปซี, 2552, หน้า 147-148.</ref>  ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันจันทร์ เดือน  7 แรม 9 ค่ำ ปีจอ ฉศก จ.ศ. 1236 ตรงกับวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2417<ref>กรมศิลปากร, “ราชสกุลวงศ์”, กรุงเทพมหานคร : สกสค, 2554, หน้า 83.</ref>  นับเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับเจ้าจอมมารดาอ่วม เพราะพระเชษฐา 2 พระองค์คือ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร และพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชาย ซึ่งยังไม่มีพระนามแต่สิ้นพระชนม์ก่อนที่พระองค์ท่านจะประสูติ ดังนั้น ราชสกุลกิติยากร จึงเป็นราชสกุลสายแรกซึ่งสืบมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref>กิตติวัฒนา (ไชยยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว., “สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง”, กรุงเทพมหานคร : ดีเอ็มจี, 2551, หน้า 36. </ref> 
ทรงเริ่มการศึกษาที่สำนักของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) พร้อมกับพระอนุชาที่มีพระชนมายุไล่เลี่ยกันเมื่อ พ.ศ. 2425 ต่อมาในปี พ.ศ. 2426 ได้เสด็จไปทรงศึกษาต่อ ณ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ โดยมีมหาปั้น เป็นผู้ถวายพระอักษรประจำในพุทธศักราช 2426 ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 ได้ทรงบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ 15 วัน ก่อนเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ พร้อมกับพระอนุชาอีก 3 พระองค์ คือ
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒนโนดม
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒนโนดม
 
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิรประวัตรวรเดช<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 38. </ref>
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิรประวัตรวรเดช<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 38. </ref>
 
&nbsp;


ทรงศึกษาระดับมัธยมที่ Rockvill School ในเมืองเอดินเบอระ ในคราวแรก ต่อมาได้เสด็จไปศึกษา ณ วิทยาลัย Balliol College ของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด และทรงสำเร็จการศึกษา สาขาบูรพคดีศึกษา(Oriental Studies) จากสถาบันดังกล่าวเมื่อปี พ.ศ. 2437
ทรงศึกษาระดับมัธยมที่ Rockvill School ในเมืองเอดินเบอระ ในคราวแรก ต่อมาได้เสด็จไปศึกษา ณ วิทยาลัย Balliol College ของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด และทรงสำเร็จการศึกษา สาขาบูรพคดีศึกษา(Oriental Studies) จากสถาบันดังกล่าวเมื่อปี พ.ศ. 2437
 
เมื่อเสด็จกลับประเทศสยามในปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อที่ดินปากคลองตลาดผดุงกรุงเกษมแปลงมหึมาเพื่อดำเนินการสร้างวังพระราชทานพระเจ้าลูกยาเธอ วังนี้จึงเป็นสิทธิ์ขาดของพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ซึ่งโดยทั่วไปขนานนามว่า วังปากคลองผดุงกรุงเกษม การพระราชทานที่ดินและพระตำหนักริมน้ำนี้ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ เพราะเป็นวังที่ตั้งอยู่ติดริมน้ำเจ้าพระยา เช่นเดียวกับวังที่พระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ ซึ่งเป็นพระราชโอรสในพระมเหสี
เมื่อเสด็จกลับประเทศสยามในปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อที่ดินปากคลองตลาดผดุงกรุงเกษมแปลงมหึมาเพื่อดำเนินการสร้างวังพระราชทานพระเจ้าลูกยาเธอ วังนี้จึงเป็นสิทธิ์ขาดของพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ซึ่งโดยทั่วไปขนานนามว่า วังปากคลองผดุงกรุงเกษม การพระราชทานที่ดินและพระตำหนักริมน้ำนี้ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ เพราะเป็นวังที่ตั้งอยู่ติดริมน้ำเจ้าพระยา เช่นเดียวกับวังที่พระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ ซึ่งเป็นพระราชโอรสในพระมเหสี


== พระโอรสและพระธิดา ==
== พระโอรสและพระธิดา ==
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรณ์วรลักษณ์ ทรงเสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอัปษรสมาน พระธิดาใน พระเจ้าน้องยาเธอ [[กรมหลวงเทววงศ์วโรปการ]] ในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2438 ทั้งสองพระองค์ทรงครองรักกันยาวนานเป็นเวลา 35 ปี จึงทรงต้องพลัดพรากจากกันเพราะการสิ้นพระชนม์
ทรงมีพระโอรสและพระธิดากับหม่อมเจ้าอัปษรสมานถึง 12 พระองค์ แต่ที่จัดว่าเป็นองค์ที่สำคัญที่สุดและทรงเป็นที่รู้จักทั่วไปในฐานะพระบิดาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และยังทรงเป็นพระอัยกาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ อีกด้วย พระโอรสพระองค์นี้มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2493 และได้ทรงกรมเป็น [[กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ]] ใน พ.ศ. 2495<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 51. </ref>


== การรับราชการ<ref>สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, “บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ”, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2534, หน้า (ข)-(ค).</ref>==
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรณ์วรลักษณ์ ทรงเสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอัปษรสมาน พระธิดาใน พระเจ้าน้องยาเธอ [[กรมหลวงเทววงศ์วโรปการ|กรมหลวงเทววงศ์วโรปการ]] ในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2438 ทั้งสองพระองค์ทรงครองรักกันยาวนานเป็นเวลา 35 ปี จึงทรงต้องพลัดพรากจากกันเพราะการสิ้นพระชนม์
 
ทรงมีพระโอรสและพระธิดากับหม่อมเจ้าอัปษรสมานถึง 12 พระองค์ แต่ที่จัดว่าเป็นองค์ที่สำคัญที่สุดและทรงเป็นที่รู้จักทั่วไปในฐานะพระบิดาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และยังทรงเป็นพระอัยกาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ อีกด้วย พระโอรสพระองค์นี้มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2493 และได้ทรงกรมเป็น [[กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ]] ใน พ.ศ. 2495<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 51. </ref>
 
== การรับราชการ<ref>สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, “บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ”, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2534, หน้า (ข)-(ค).</ref> ==
 
'''รัชกาลที่ 5'''
'''รัชกาลที่ 5'''
 
พ.ศ. 2437 ทรงรับราชการในกรมราชเลขานุการ
พ.ศ. 2437 ทรงรับราชการในกรมราชเลขานุการ
 
พ.ศ. 2438 ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ
พ.ศ. 2438 ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ
 
พ.ศ. 2445 ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตรวจและกรมสารบาญชี (กรมบัญชีกลาง) ในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ (ในปีนี้ ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ)
พ.ศ. 2445 ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตรวจและกรมสารบาญชี (กรมบัญชีกลาง) ในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ (ในปีนี้ ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ)
 
พ.ศ. 2450 ทรงรั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
พ.ศ. 2450 ทรงรั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
 
พ.ศ. 2451 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
พ.ศ. 2451 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
 
'''รัชกาลที่ 6''' [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มี[[พระบรมราชโองการ]]ให้เลื่อนพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ ขึ้นเป็นกรมหลวงและกรมพระ ตามลำดับ ด้วยทรงมีพระราชดำริว่า พระเจ้าพี่ยาเธอฯทรงรับราชการในตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติด้วยพระปรีชาสามารถ ได้ทรงจัดราชการในกระทรวงพระคลังให้เจริญมาโดยลำดับ เมื่อได้รับพระบรมราโชบายไปประการใดก็ทรงราชการนั้นๆให้สำเร็จไปด้วยพระราชประสงค์
'''รัชกาลที่ 6''' [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มี[[พระบรมราชโองการ|พระบรมราชโองการ]]ให้เลื่อนพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ ขึ้นเป็นกรมหลวงและกรมพระ ตามลำดับ ด้วยทรงมีพระราชดำริว่า พระเจ้าพี่ยาเธอฯทรงรับราชการในตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติด้วยพระปรีชาสามารถ ได้ทรงจัดราชการในกระทรวงพระคลังให้เจริญมาโดยลำดับ เมื่อได้รับพระบรมราโชบายไปประการใดก็ทรงราชการนั้นๆให้สำเร็จไปด้วยพระราชประสงค์
 
พ.ศ. 2466 ทรงเป็นกรรมการสภาการคลังและนายกแห่งสภาการคลังในเวลาต่อมา
พ.ศ. 2466 ทรงเป็นกรรมการสภาการคลังและนายกแห่งสภาการคลังในเวลาต่อมา


'''รัชกาลที่ 7'''
'''รัชกาลที่ 7'''
พ.ศ. 2468 ทรงเป็น[[อภิรัฐมนตรี]] นอกจากนี้ยังทรงเป็นนายกกรรมการพิจารณาวางระเบียบข้าราชการพลเรือน และนายกกรรมการรักษาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ก.ร.พ.) ด้วย
ในส่วนของ[[คณะรัฐมนตรี]] ที่[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงแต่งตั้งขึ้นนั้น พระองค์ทรงคัดเลือกจากพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในราชการสำคัญๆมาแล้วทั้งสิ้น โดยสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐกิจ และการคลัง และทรงเป็นเอกอัครบัณฑิตทางด้านภาษาศาสตร์  <ref>สถาบันพระปกเกล้า, “อภิรัฐมนตรีสภา” http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/  (สืบค้นเมื่อ  27 กรกฎาคม 2557). </ref>
ปลายปี 2473 กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ประชวรด้วยโรคมะเร็งที่พระศอ ได้เสด็จไปรักษาพระองค์ ณ กรุงปารีส และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2474 รวมพระชนมายุได้ 58 ชันษา<ref>ราชกิจจานุเบกษา, “ข่าวสิ้นพระชนม์”, เล่ม 48, ตอน ง, 3 พฤษภาคม 2474, หน้า 331. </ref>


พ.ศ. 2468 ทรงเป็น[[อภิรัฐมนตรี|อภิรัฐมนตรี]] นอกจากนี้ยังทรงเป็นนายกกรรมการพิจารณาวางระเบียบข้าราชการพลเรือน และนายกกรรมการรักษาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ก.ร.พ.) ด้วย
ในส่วนของ[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]] ที่[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงแต่งตั้งขึ้นนั้น พระองค์ทรงคัดเลือกจากพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในราชการสำคัญๆมาแล้วทั้งสิ้น โดยสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐกิจ และการคลัง และทรงเป็นเอกอัครบัณฑิตทางด้านภาษาศาสตร์ <ref>สถาบันพระปกเกล้า, “อภิรัฐมนตรีสภา” http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/  (สืบค้นเมื่อ  27 กรกฎาคม 2557). </ref>
ปลายปี 2473 กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ประชวรด้วยโรคมะเร็งที่พระศอ ได้เสด็จไปรักษาพระองค์ ณ กรุงปารีส และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2474 รวมพระชนมายุได้ 58 ชันษา<ref>ราชกิจจานุเบกษา, “ข่าวสิ้นพระชนม์”, เล่ม 48, ตอน ง, 3 พฤษภาคม 2474, หน้า 331. </ref>
&nbsp;


== ผลงานทางวิชาการ ==
== ผลงานทางวิชาการ ==


กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี ได้ทรงแปลเรื่องจันทกุมารชาดก จาก ภาษาบาลี เป็นไทย จนทรงได้รับพระราชทานพัดเปรียญ 5 ประโยคจาก [[รัชกาลที่_7|รัชกาลที่ 7]] ทั้งที่ทรงเป็นฆราวาส เป็นกรณีพิเศษ ทรงพระนิพนธ์ ปทานุกรม บาลี-ไทย-อังกฤษ-สันสกฤต โดยอาศัยพจนานุกรมบาลีของอาร์.ซี. ชิลเดอรส์ (R.C.Childers) ที่ สมาคมบาลีปกรณ์ดำเนินการจัดพิมพ์มาก่อนหน้านี้แล้วเป็นหลัก แต่ต้นฉบับที่ทรงจัดทำไม่เรียบร้อยดีทุกส่วน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะสงฆ์วัดบวรนิเวศวิหาร ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ นพวงศ์ [[องคมนตรี|องคมนตรี]] ตรวจชำระต้นฉบับที่พระองค์ทรงร่างขึ้นแล้วโปรดให้มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย จัดพิมพ์ปทานุกรมดังกล่าวเพื่อเผยแผ่ นับแต่นั้น ปทานุกรมเล่มนี้จึงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น <ref>พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, http://th.wikipedia.org/wiki/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557). </ref>
กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี ได้ทรงแปลเรื่องจันทกุมารชาดก จาก ภาษาบาลี เป็นไทย จนทรงได้รับพระราชทานพัดเปรียญ 5 ประโยคจาก [[รัชกาลที่ 7]] ทั้งที่ทรงเป็นฆราวาส เป็นกรณีพิเศษ ทรงพระนิพนธ์ ปทานุกรม บาลี-ไทย-อังกฤษ-สันสกฤต โดยอาศัยพจนานุกรมบาลีของอาร์.ซี. ชิลเดอรส์ (R.C.Childers) ที่ สมาคมบาลีปกรณ์ดำเนินการจัดพิมพ์มาก่อนหน้านี้แล้วเป็นหลัก แต่ต้นฉบับที่ทรงจัดทำไม่เรียบร้อยดีทุกส่วน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะสงฆ์วัดบวรนิเวศวิหาร ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ นพวงศ์ [[องคมนตรี]] ตรวจชำระต้นฉบับที่พระองค์ทรงร่างขึ้นแล้วโปรดให้มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย จัดพิมพ์ปทานุกรมดังกล่าวเพื่อเผยแผ่ นับแต่นั้น ปทานุกรมเล่มนี้จึงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น <ref>พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, http://th.wikipedia.org/wiki/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557). </ref>
 
ในปี พ.ศ. 2490 พระโอรสและพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมจันทบุรีนฤนาถ ได้ทรงประทานหนังสือส่วนพระองค์กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จำนวนกว่า 5,000 เล่ม ให้แก่หอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ใช้ศึกษาเล่าเรียนและเป็นอนุสรณ์ถึงพระองค์ท่าน โดยหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมจันทบุรีนฤนาถ มีจำนวนทั้งสิ้น 1,116 เล่ม เป็นหนังสือที่จัดพิมพ์ในระหว่างปี พ.ศ. 2406 – 2470 เมื่อประเมินค่าตามเกณฑ์การประเมินค่าหนังสือหายากแล้ว พบว่าเป็นหนังสือหายากถึงกว่าร้อยละ 80 และเป็นหนังสือในหมวดศาสนามากที่สุด รองลงมาเป็นประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ตามลำดับ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นหนังสือหายากที่มีคุณค่ายิ่งทางด้านเนื้อหาและความเป็นมรดกสูงค่า สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้อย่างเต็มที่ <ref>สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 6, หน้า (ง)-(จ). </ref>
ในปี พ.ศ. 2490 พระโอรสและพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมจันทบุรีนฤนาถ ได้ทรงประทานหนังสือส่วนพระองค์กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จำนวนกว่า 5,000 เล่ม ให้แก่หอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ใช้ศึกษาเล่าเรียนและเป็นอนุสรณ์ถึงพระองค์ท่าน โดยหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมจันทบุรีนฤนาถ มีจำนวนทั้งสิ้น 1,116 เล่ม เป็นหนังสือที่จัดพิมพ์ในระหว่างปี พ.ศ. 2406 – 2470 เมื่อประเมินค่าตามเกณฑ์การประเมินค่าหนังสือหายากแล้ว พบว่าเป็นหนังสือหายากถึงกว่าร้อยละ 80 และเป็นหนังสือในหมวดศาสนามากที่สุด รองลงมาเป็นประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ตามลำดับ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นหนังสือหายากที่มีคุณค่ายิ่งทางด้านเนื้อหาและความเป็นมรดกสูงค่า สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้อย่างเต็มที่ <ref>สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 6, หน้า (ง)-(จ). </ref>  
 
== พระอิสริยยศ <ref>พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, หน้า 9. </ref> ==


== พระอิสริยยศ  <ref>พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, หน้า 9. </ref> ==
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (8 มิถุนายน พ.ศ. 2417–พ.ศ. 2445)
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (8 มิถุนายน พ.ศ. 2417–พ.ศ. 2445)


พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ  
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ
 
(พ.ศ. 2445–23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
(พ.ศ. 2445–23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)


พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ
พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ
 
(23 ตุลาคม พ.ศ. 2453–พ.ศ. 2454)
(23 ตุลาคม พ.ศ. 2453–พ.ศ. 2454)


พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหลวงจันทบุรีนฤนาถ  
พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหลวงจันทบุรีนฤนาถ
 
(พ.ศ. 2454–พ.ศ. 2459)
(พ.ศ. 2454–พ.ศ. 2459)


พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ สุรเชษฐาธิราชกิตติยากร วรลักษณสุนทรีวีรวิจิตร สรรพรัชดาธิกิจโกศล วิมลรัตน มหาโกศาธิบดี ธีรคุโณฬาร ศุภสมาจารสารสมบัติ มัทวเมตตาธยาศรัย ไตรศรีรัตนสรณาคม อุดมศักดิบพิตร  
พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ สุรเชษฐาธิราชกิตติยากร วรลักษณสุนทรีวีรวิจิตร สรรพรัชดาธิกิจโกศล วิมลรัตน มหาโกศาธิบดี ธีรคุโณฬาร ศุภสมาจารสารสมบัติ มัทวเมตตาธยาศรัย ไตรศรีรัตนสรณาคม อุดมศักดิบพิตร


(พ.ศ. 2459–พ.ศ. 2477)
(พ.ศ. 2459–พ.ศ. 2477)


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ  
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
 
(พ.ศ. 2477–ปัจจุบัน)
(พ.ศ. 2477–ปัจจุบัน)


== อ้างอิง ==


== อ้างอิง ==
<references /> 
<references/> 


== บรรณานุกรม ==
== บรรณานุกรม ==


กัลยา เกื้อตระกูล, ราชสกุลสยาม, กรุงเทพมหานคร : ยิปซี, 2552.
กัลยา เกื้อตระกูล, ราชสกุลสยาม, กรุงเทพมหานคร&nbsp;: ยิปซี, 2552.


กรมศิลปากร, ราชสกุลวงศ์, กรุงเทพมหานคร : สกสค, 2554.
กรมศิลปากร, ราชสกุลวงศ์, กรุงเทพมหานคร&nbsp;: สกสค, 2554.


กิตติวัฒนา (ไชยยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว., สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง, กรุงเทพมหานคร : ดีเอ็มจี, 2551.
กิตติวัฒนา (ไชยยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว., สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง, กรุงเทพมหานคร&nbsp;: ดีเอ็มจี, 2551.


สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.
สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, กรุงเทพมหานคร&nbsp;: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.


ราชกิจจานุเบกษา, “ข่าวสิ้นพระชนม์”, เล่ม 48, ตอน ง, 3 พฤษภาคม 2474, หน้า 331.
ราชกิจจานุเบกษา, “ข่าวสิ้นพระชนม์”, เล่ม 48, ตอน ง, 3 พฤษภาคม 2474, หน้า 331.


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, http://th.wikipedia.org/wiki/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, [http://th.wikipedia.org/wiki/ http://th.wikipedia.org/wiki/] (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).
 
สถาบันพระปกเกล้า, “อภิรัฐมนตรีสภา” [http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/ http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/] (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).
 
&nbsp;


สถาบันพระปกเกล้า, “อภิรัฐมนตรีสภา” http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/  (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).
[[Category:รัฐสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:35, 25 พฤษภาคม 2560

ผู้เรียบเรียง : นายสานิต กระต่ายทอง

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


พระประวัติ

สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์” พระราชโอรสในเจ้าจอมมารดาอ่วม ธิดาพระพิณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร)[1] ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันจันทร์ เดือน 7 แรม 9 ค่ำ ปีจอ ฉศก จ.ศ. 1236 ตรงกับวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2417[2] นับเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาอ่วม เพราะพระเชษฐา 2 พระองค์คือ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร และพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชาย ซึ่งยังไม่มีพระนามแต่สิ้นพระชนม์ก่อนที่พระองค์ท่านจะประสูติ ดังนั้น ราชสกุลกิติยากร จึงเป็นราชสกุลสายแรกซึ่งสืบมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[3]

ทรงเริ่มการศึกษาที่สำนักของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) พร้อมกับพระอนุชาที่มีพระชนมายุไล่เลี่ยกันเมื่อ พ.ศ. 2425 ต่อมาในปี พ.ศ. 2426 ได้เสด็จไปทรงศึกษาต่อ ณ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ โดยมีมหาปั้น เป็นผู้ถวายพระอักษรประจำในพุทธศักราช 2426 ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 ได้ทรงบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ 15 วัน ก่อนเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ พร้อมกับพระอนุชาอีก 3 พระองค์ คือ

พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์

พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒนโนดม

พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิรประวัตรวรเดช[4]

 

ทรงศึกษาระดับมัธยมที่ Rockvill School ในเมืองเอดินเบอระ ในคราวแรก ต่อมาได้เสด็จไปศึกษา ณ วิทยาลัย Balliol College ของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด และทรงสำเร็จการศึกษา สาขาบูรพคดีศึกษา(Oriental Studies) จากสถาบันดังกล่าวเมื่อปี พ.ศ. 2437

เมื่อเสด็จกลับประเทศสยามในปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อที่ดินปากคลองตลาดผดุงกรุงเกษมแปลงมหึมาเพื่อดำเนินการสร้างวังพระราชทานพระเจ้าลูกยาเธอ วังนี้จึงเป็นสิทธิ์ขาดของพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ซึ่งโดยทั่วไปขนานนามว่า วังปากคลองผดุงกรุงเกษม การพระราชทานที่ดินและพระตำหนักริมน้ำนี้ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ เพราะเป็นวังที่ตั้งอยู่ติดริมน้ำเจ้าพระยา เช่นเดียวกับวังที่พระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ ซึ่งเป็นพระราชโอรสในพระมเหสี

พระโอรสและพระธิดา

พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรณ์วรลักษณ์ ทรงเสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอัปษรสมาน พระธิดาใน พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทววงศ์วโรปการ ในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2438 ทั้งสองพระองค์ทรงครองรักกันยาวนานเป็นเวลา 35 ปี จึงทรงต้องพลัดพรากจากกันเพราะการสิ้นพระชนม์

ทรงมีพระโอรสและพระธิดากับหม่อมเจ้าอัปษรสมานถึง 12 พระองค์ แต่ที่จัดว่าเป็นองค์ที่สำคัญที่สุดและทรงเป็นที่รู้จักทั่วไปในฐานะพระบิดาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และยังทรงเป็นพระอัยกาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ อีกด้วย พระโอรสพระองค์นี้มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2493 และได้ทรงกรมเป็น กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ ใน พ.ศ. 2495[5]

การรับราชการ[6]

รัชกาลที่ 5

พ.ศ. 2437 ทรงรับราชการในกรมราชเลขานุการ

พ.ศ. 2438 ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ

พ.ศ. 2445 ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตรวจและกรมสารบาญชี (กรมบัญชีกลาง) ในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ (ในปีนี้ ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ)

พ.ศ. 2450 ทรงรั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ

พ.ศ. 2451 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ

รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการให้เลื่อนพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ ขึ้นเป็นกรมหลวงและกรมพระ ตามลำดับ ด้วยทรงมีพระราชดำริว่า พระเจ้าพี่ยาเธอฯทรงรับราชการในตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติด้วยพระปรีชาสามารถ ได้ทรงจัดราชการในกระทรวงพระคลังให้เจริญมาโดยลำดับ เมื่อได้รับพระบรมราโชบายไปประการใดก็ทรงราชการนั้นๆให้สำเร็จไปด้วยพระราชประสงค์

พ.ศ. 2466 ทรงเป็นกรรมการสภาการคลังและนายกแห่งสภาการคลังในเวลาต่อมา

รัชกาลที่ 7

พ.ศ. 2468 ทรงเป็นอภิรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังทรงเป็นนายกกรรมการพิจารณาวางระเบียบข้าราชการพลเรือน และนายกกรรมการรักษาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ก.ร.พ.) ด้วย

ในส่วนของคณะรัฐมนตรี ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งขึ้นนั้น พระองค์ทรงคัดเลือกจากพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ในราชการสำคัญๆมาแล้วทั้งสิ้น โดยสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐกิจ และการคลัง และทรงเป็นเอกอัครบัณฑิตทางด้านภาษาศาสตร์ [7]

ปลายปี 2473 กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ประชวรด้วยโรคมะเร็งที่พระศอ ได้เสด็จไปรักษาพระองค์ ณ กรุงปารีส และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2474 รวมพระชนมายุได้ 58 ชันษา[8]

 

ผลงานทางวิชาการ

กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลี ได้ทรงแปลเรื่องจันทกุมารชาดก จาก ภาษาบาลี เป็นไทย จนทรงได้รับพระราชทานพัดเปรียญ 5 ประโยคจาก รัชกาลที่ 7 ทั้งที่ทรงเป็นฆราวาส เป็นกรณีพิเศษ ทรงพระนิพนธ์ ปทานุกรม บาลี-ไทย-อังกฤษ-สันสกฤต โดยอาศัยพจนานุกรมบาลีของอาร์.ซี. ชิลเดอรส์ (R.C.Childers) ที่ สมาคมบาลีปกรณ์ดำเนินการจัดพิมพ์มาก่อนหน้านี้แล้วเป็นหลัก แต่ต้นฉบับที่ทรงจัดทำไม่เรียบร้อยดีทุกส่วน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะสงฆ์วัดบวรนิเวศวิหาร ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ นพวงศ์ องคมนตรี ตรวจชำระต้นฉบับที่พระองค์ทรงร่างขึ้นแล้วโปรดให้มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย จัดพิมพ์ปทานุกรมดังกล่าวเพื่อเผยแผ่ นับแต่นั้น ปทานุกรมเล่มนี้จึงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น [9]

ในปี พ.ศ. 2490 พระโอรสและพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมจันทบุรีนฤนาถ ได้ทรงประทานหนังสือส่วนพระองค์กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จำนวนกว่า 5,000 เล่ม ให้แก่หอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ใช้ศึกษาเล่าเรียนและเป็นอนุสรณ์ถึงพระองค์ท่าน โดยหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมจันทบุรีนฤนาถ มีจำนวนทั้งสิ้น 1,116 เล่ม เป็นหนังสือที่จัดพิมพ์ในระหว่างปี พ.ศ. 2406 – 2470 เมื่อประเมินค่าตามเกณฑ์การประเมินค่าหนังสือหายากแล้ว พบว่าเป็นหนังสือหายากถึงกว่าร้อยละ 80 และเป็นหนังสือในหมวดศาสนามากที่สุด รองลงมาเป็นประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ตามลำดับ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นหนังสือหายากที่มีคุณค่ายิ่งทางด้านเนื้อหาและความเป็นมรดกสูงค่า สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้อย่างเต็มที่ [10]

พระอิสริยยศ [11]

พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (8 มิถุนายน พ.ศ. 2417–พ.ศ. 2445)

พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ

(พ.ศ. 2445–23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)

พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ

(23 ตุลาคม พ.ศ. 2453–พ.ศ. 2454)

พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมหลวงจันทบุรีนฤนาถ

(พ.ศ. 2454–พ.ศ. 2459)

พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ สุรเชษฐาธิราชกิตติยากร วรลักษณสุนทรีวีรวิจิตร สรรพรัชดาธิกิจโกศล วิมลรัตน มหาโกศาธิบดี ธีรคุโณฬาร ศุภสมาจารสารสมบัติ มัทวเมตตาธยาศรัย ไตรศรีรัตนสรณาคม อุดมศักดิบพิตร

(พ.ศ. 2459–พ.ศ. 2477)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

(พ.ศ. 2477–ปัจจุบัน)

อ้างอิง

  1. กัลยา เกื้อตระกูล, “ราชสกุลสยาม”, กรุงเทพมหานคร : ยิปซี, 2552, หน้า 147-148.
  2. กรมศิลปากร, “ราชสกุลวงศ์”, กรุงเทพมหานคร : สกสค, 2554, หน้า 83.
  3. กิตติวัฒนา (ไชยยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว., “สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง”, กรุงเทพมหานคร : ดีเอ็มจี, 2551, หน้า 36.
  4. เรื่องเดียวกัน, หน้า 38.
  5. เรื่องเดียวกัน, หน้า 51.
  6. สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, “บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ”, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534, หน้า (ข)-(ค).
  7. สถาบันพระปกเกล้า, “อภิรัฐมนตรีสภา” http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).
  8. ราชกิจจานุเบกษา, “ข่าวสิ้นพระชนม์”, เล่ม 48, ตอน ง, 3 พฤษภาคม 2474, หน้า 331.
  9. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, http://th.wikipedia.org/wiki/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).
  10. สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 6, หน้า (ง)-(จ).
  11. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, หน้า 9.

บรรณานุกรม

กัลยา เกื้อตระกูล, ราชสกุลสยาม, กรุงเทพมหานคร : ยิปซี, 2552.

กรมศิลปากร, ราชสกุลวงศ์, กรุงเทพมหานคร : สกสค, 2554.

กิตติวัฒนา (ไชยยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว., สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง, กรุงเทพมหานคร : ดีเอ็มจี, 2551.

สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยส่วนพระองค์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.

ราชกิจจานุเบกษา, “ข่าวสิ้นพระชนม์”, เล่ม 48, ตอน ง, 3 พฤษภาคม 2474, หน้า 331.

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, http://th.wikipedia.org/wiki/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).

สถาบันพระปกเกล้า, “อภิรัฐมนตรีสภา” http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php/ (สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2557).