ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัฒนาการคมนาคม : สร้างทางรถไฟสายอีสาน-ตะวันออกเฉียงเหนือโดยต่อเนื่อง"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'หนึ่งในพระราชกรณียกิจที่สำคัญคือการพัฒนาด้านกา...'
 
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
หนึ่งในพระราชกรณียกิจที่สำคัญคือการพัฒนาด้านการคมนาคมของประเทศ  ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เส้นทางรถไฟสายใต้ได้มีขยายไปจนถึงสถานีสุไหงโกลก ตั้งแต่พุทธศักราช  ๒๔๖๔  ส่วนทางรถไฟสายเหนือก็ได้สร้างไปจนถึงเชียงใหม่ตั้งแต่ พุทธศักราช  ๒๔๖๕ จะเห็นได้ว่าการสร้างทางรถไฟของประเทศยังคงค้างอยู่ในกรณีของทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออก  พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สานต่อการก่อสร้างทางรถไฟเพื่อส่งเสริมให้รถไฟเป็นระบบการคมนาคมที่ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ  
หนึ่งในพระราชกรณียกิจที่สำคัญคือการพัฒนาด้านการคมนาคมของประเทศ  ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เส้นทางรถไฟสายใต้ได้มีขยายไปจนถึงสถานีสุไหงโกลก ตั้งแต่พุทธศักราช  ๒๔๖๔  ส่วนทางรถไฟสายเหนือก็ได้สร้างไปจนถึงเชียงใหม่ตั้งแต่ พุทธศักราช  ๒๔๖๕ จะเห็นได้ว่าการสร้างทางรถไฟของประเทศยังคงค้างอยู่ในกรณีของทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออก  [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สานต่อการก่อสร้างทางรถไฟเพื่อส่งเสริมให้รถไฟเป็นระบบการคมนาคมที่ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ  


โดยทางรถไฟสายตะวันออกที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจากฉะเชิงเทราถึงอรัญประเทศ ได้ดำเนินการสร้างจนแล้วเสร็จและเปิดเดินรถเมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน  ๒๔๖๙  และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับจากการเสด็จเยือนอินโดจีนของฝรั่งเศสด้วยเส้นทางรถไฟนี้ในปี ๒๔๗๓  
โดยทางรถไฟสายตะวันออกที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจากฉะเชิงเทราถึงอรัญประเทศ ได้ดำเนินการสร้างจนแล้วเสร็จและเปิดเดินรถเมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน  ๒๔๖๙  และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับจากการเสด็จเยือนอินโดจีนของฝรั่งเศสด้วยเส้นทางรถไฟนี้ในปี ๒๔๗๓  


ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือนี้  รัฐบาลได้เร่งปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะในอดีตการเดินทางไปหนองคายและนครพนมมีความยากลำบาก เพราะขาดเส้นทางคมนาคมที่จะใช้ติดต่อกันได้สะดวกทุกฤดูกาล กรมรถไฟหลวงจึงได้วางโครงการสร้างทางรถไฟต่อจากขอนแก่นไปยังหนองคายและนครพนมโดยได้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตสร้างทางเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๔๗๒  
ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือนี้  [[รัฐบาล]]ได้เร่งปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะในอดีตการเดินทางไปหนองคายและนครพนมมีความยากลำบาก เพราะขาดเส้นทางคมนาคมที่จะใช้ติดต่อกันได้สะดวกทุกฤดูกาล กรมรถไฟหลวงจึงได้วางโครงการสร้างทางรถไฟต่อจากขอนแก่นไปยังหนองคายและนครพนมโดยได้ออก[[พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตสร้างทาง]]เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๔๗๒  


แม้ในขณะนั้นรัฐบาลจะประสบปัญหาขาดแคลนงบประมาณ แต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสำคัญของการคมนาคมต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลของพระองค์จึงได้สานต่อกิจการด้านการรถไฟให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ  ความมุ่งมั่นในการวางโครงสร้างพื้นฐาน เช่นรถไฟนี้จึงเป็นฐานสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในเวลาต่อมา
แม้ในขณะนั้นรัฐบาลจะประสบปัญหาขาดแคลนงบประมาณ แต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสำคัญของการคมนาคมต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลของพระองค์จึงได้สานต่อกิจการด้านการรถไฟให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ  ความมุ่งมั่นในการวางโครงสร้างพื้นฐาน เช่นรถไฟนี้จึงเป็นฐานสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในเวลาต่อมา
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:
   
   
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
*[https://www.youtube.com/watch?v=mf6sQG0SwgM&index=45&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo  YOU TUBE : สืบสานงานแผ่นดิน : พัฒนาการคมนาคม : สร้างทางรถไฟสายอีสาน-ตะวันออกเฉียงเหนือโดยต่อเนื่อง]


[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:01, 11 กุมภาพันธ์ 2559

หนึ่งในพระราชกรณียกิจที่สำคัญคือการพัฒนาด้านการคมนาคมของประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เส้นทางรถไฟสายใต้ได้มีขยายไปจนถึงสถานีสุไหงโกลก ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๖๔ ส่วนทางรถไฟสายเหนือก็ได้สร้างไปจนถึงเชียงใหม่ตั้งแต่ พุทธศักราช ๒๔๖๕ จะเห็นได้ว่าการสร้างทางรถไฟของประเทศยังคงค้างอยู่ในกรณีของทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สานต่อการก่อสร้างทางรถไฟเพื่อส่งเสริมให้รถไฟเป็นระบบการคมนาคมที่ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ

โดยทางรถไฟสายตะวันออกที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจากฉะเชิงเทราถึงอรัญประเทศ ได้ดำเนินการสร้างจนแล้วเสร็จและเปิดเดินรถเมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๖๙ และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับจากการเสด็จเยือนอินโดจีนของฝรั่งเศสด้วยเส้นทางรถไฟนี้ในปี ๒๔๗๓

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือนี้ รัฐบาลได้เร่งปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะในอดีตการเดินทางไปหนองคายและนครพนมมีความยากลำบาก เพราะขาดเส้นทางคมนาคมที่จะใช้ติดต่อกันได้สะดวกทุกฤดูกาล กรมรถไฟหลวงจึงได้วางโครงการสร้างทางรถไฟต่อจากขอนแก่นไปยังหนองคายและนครพนมโดยได้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตสร้างทางเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๔๗๒

แม้ในขณะนั้นรัฐบาลจะประสบปัญหาขาดแคลนงบประมาณ แต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสำคัญของการคมนาคมต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลของพระองค์จึงได้สานต่อกิจการด้านการรถไฟให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ ความมุ่งมั่นในการวางโครงสร้างพื้นฐาน เช่นรถไฟนี้จึงเป็นฐานสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในเวลาต่อมา

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖