ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' : จารุวรรณ สุขุมาลพงษ์ '''ผู้ทรงคุ...'
 
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
==พระประวัติ==
==พระประวัติ==
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 62 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงพรรณราย (หม่อมเจ้าหญิงพรรณราย หรือ แฉ่) พระราชธิดาของกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันอังคาร เดือน 6 ขึ้น 11 ค่ำ ปีกุน เบญจศก จ.ศ. 1225 ตรงกับวันที่ 28 เมษายน 2406 และได้รับพระราชทานพระนามจากสมเด็จพระบรมชนกนารถโดยมีพระราชหัตถเลขาดังนี้  
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 62 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงพรรณราย (หม่อมเจ้าหญิงพรรณราย หรือ แฉ่) พระราชธิดาของกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันอังคาร เดือน 6 ขึ้น 11 ค่ำ ปีกุน เบญจศก จ.ศ. 1225 ตรงกับวันที่ 28 เมษายน 2406 และได้รับพระราชทานพระนามจากสมเด็จพระบรมชนกนารถโดยมีพระราชหัตถเลขาดังนี้<ref>กรมศิลปากร. 2551. พระประวัติและประชุมบทละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด. หน้า 11</ref> 
“สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยามผู้บิดา ขอตั้งนามบุตรชายที่ประสูติจากหญิงแฉ่ พรรณราย ผู้มารดาในวัน 311ฯ 6 ค่ำ ปีกุนเบญจศก13 นั้นว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ สิงหนาม
 
ขอจงมีความเจริญชนมายุ พรรณ ศุข พล ประฏิภาณ ศุภสารสมบัติ สุวรรณหิรัญรัตน์ ยศบริวารศฤงคาร ศักดานุภาพตระบะเดชวิเสศคุณสุนทร ศรีสวัสดิ์พิพัฒนมงคลพิบูลยผลทุกประการเทอญฯ
[[ไฟล์:สมเด็จพระปรเมนทร.jpg]]
ตั้งนามวัน 6ฯ117 ค่ำ ปีกุนเบญจศก เป็นปีที่ 13 ฤาวันที่ 4412 ในรัชกาลประจุบันนี้”
ในปี  พ.ศ. 2428 พระองค์ได้รับการสถาปนาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษนอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชดำริว่า หม่อมเจ้าพรรณราย พระมารดาในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษนั้น นับเป็นพระเจ้าหลานเธอในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระขนิษฐาร่วมพระชนกในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ดังนั้น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษจึงมีพระอัยการ่วมกับพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการสถาปนา พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษ ขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษ พร้อมกันนี้ทรงสถาปนาพระเชษฐภคินีในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนขัตติยกัลยาด้วย
ในปี<ref>มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557). </ref> พ.ศ. 2428 พระองค์ได้รับการสถาปนาจาก[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษนอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชดำริว่า หม่อมเจ้าพรรณราย พระมารดาในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษนั้น นับเป็นพระเจ้าหลานเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และเป็นพระขนิษฐาร่วมพระชนกในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ดังนั้น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษจึงมีพระอัยการ่วมกับพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการสถาปนา พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษ ขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษ พร้อมกันนี้ทรงสถาปนาพระเชษฐภคินีในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนขัตติยกัลยาด้วย
หลังจากที่พระองค์ได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงพระคลัง เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ผู้บัญชาการทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริเห็นควรที่จะสถาปนาให้ดำรงพระอิสริยยศที่    “กรมหลวง” ได้ กอปรกับการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ ซึ่งเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอร่วมพระราชมารดาในพระองค์ ดังนั้น พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงสถาปนาพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงษ์ เมื่อปี พ.ศ. 2448
 
เมื่อ พ.ศ. 2452 พระองค์ประชวรด้วยโรคพระหทัยโตขณะที่ยังทรงรับราชการในตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงวัง จึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากราชการ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามที่ทรงขอ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงแม้ด้วยพระโรคที่พระองค์เป็นอยู่นั้นไม่เอื้ออำนวยให้พระองค์ทรงสามารถรับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ ๆ ได้ แต่พระองค์ก็ยังคงรับราชการส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงออกแบบงานต่าง ๆ ตามพระราชประสงค์ เช่น พระโกศพระบรมอัฐิและพระวิมานทองคำลงยาราชาวดีสำหรับประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้น ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการเลื่อนกรมสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงษ์ขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์ มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า
หลังจากที่พระองค์ได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงพระคลัง เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ผู้บัญชาการทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริเห็นควรที่จะสถาปนาให้ดำรงพระอิสริยยศที่    “กรมหลวง” ได้ กอปรกับการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ ซึ่งเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอร่วมพระราชมารดาในพระองค์ ดังนั้น พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงสถาปนาพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงษ์ เมื่อปี พ.ศ. 2448
“สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ มหามกุฏพงศ์นฤบดินทรปรมินทรา    นุชาธิเบนทร์ ปรเมนทรราชปิตุลา สวามิภักดิ์สยามวิชิต สรรพศิลปสิทธิวิทยาธร สุรจิตรกรศุภโกศล ประพนธปรีชาชาญโบราณคดี สังคีตวาทิตวิธีวิจารณ์ มโหฬารสีตลัธยาศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณานุวัติ ขัตติยเดชานุภาพบพิตร”
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่กับงานศิลปะและวิทยาการจนพระกำลังพระปัญญาเสื่อมลงทุกที ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัยเบียดเบียน คือ โรคพระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2490 เวลา 13.05 นาฬิกา จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ มีพระชันษา 83 ปี 10 เดือน 12 วัน มีการจัดพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2493 โดยใช้พระเมรุองค์เดียวกับพระเมรุมาศ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
เมื่อ พ.ศ. 2452 พระองค์ประชวรด้วยโรคพระหทัยโตขณะที่ยังทรงรับราชการในตำแหน่งเสนาบดี[[กระทรวงวัง]] จึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากราชการ โดย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามที่ทรงขอ จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ถึงแม้ด้วยพระโรคที่พระองค์เป็นอยู่นั้นไม่เอื้ออำนวยให้พระองค์ทรงสามารถรับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ ๆ ได้ แต่พระองค์ก็ยังคงรับราชการส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงออกแบบงานต่าง ๆ ตามพระราชประสงค์ เช่น พระโกศพระบรมอัฐิและพระวิมานทองคำลงยาราชาวดีสำหรับประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้น ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการเลื่อนกรมสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงษ์ขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์ มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า
“สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ มหามกุฏพงศ์นฤบดินทรปรมินทรานุชาธิเบนทร์ ปรเมนทรราชปิตุลา สวามิภักดิ์สยามวิชิต สรรพศิลปสิทธิวิทยาธร สุรจิตรกรศุภโกศล ประพนธปรีชาชาญโบราณคดี สังคีตวาทิตวิธีวิจารณ์ มโหฬารสีตลัธยาศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณานุวัติ ขัตติยเดชานุภาพบพิตร”
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่กับงานศิลปะและวิทยาการจนพระกำลังพระปัญญาเสื่อมลงทุกที ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัยเบียดเบียน คือ โรคพระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2490 เวลา 13.05 นาฬิกา จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ มีพระชันษา 83 ปี 10 เดือน 12 วัน มีการจัดพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2493 โดยใช้พระเมรุองค์เดียวกับพระเมรุมาศ ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]
==พระกรณียกิจ==
==พระกรณียกิจ==


ด้านราชการ  
'''ด้านราชการ'''<ref>เรื่องเดียวกัน </ref>
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงรับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ มาตลอด 4 แผ่นดิน อาทิ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ อภิรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารเรือ อุปนายกราชบัณฑิตยสภา ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 เป็นต้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน อุปนายกราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร และพระองค์ ยังได้รับการแต่งให้ให้ดำรงตำแหน่งผู้กำกับการพระราชวงศ์ มีหน้าที่สนองพระเดชพระคุณในพระราชกรณียกิจส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปก เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชวงศ์พระองค์ใดที่มีกิจที่ไม่ต้องกราบบังคมทูลพระกรุณาก็ให้ติดต่อ กราบบังคมทูลต่อพระองค์แทน นอกจากนี้ ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จยังต่างประเทศ พระองค์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2476 จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ พระองค์จึงพ้นจากตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์  
ด้านศิลปกรรม
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงรับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ มาตลอด 4 แผ่นดิน อาทิ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ [[อภิรัฐมนตรี]] ผู้บัญชาการทหารเรือ อุปนายกราชบัณฑิตยสภา [[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]ในรัชกาลที่ 8 เป็นต้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน อุปนายกราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร และพระองค์ ยังได้รับการแต่งให้ให้ดำรงตำแหน่งผู้กำกับการพระราชวงศ์ มีหน้าที่สนองพระเดชพระคุณในพระราชกรณียกิจส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปก เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชวงศ์พระองค์ใดที่มีกิจที่ไม่ต้องกราบบังคมทูลพระกรุณาก็ให้ติดต่อ กราบบังคมทูลต่อพระองค์แทน นอกจากนี้ ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จยังต่างประเทศ พระองค์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2476 จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ พระองค์จึงพ้นจากตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์  
ทรงรังสรรค์ผลงานศิลปกรรมไว้หลายประเภทจำแนกได้คืองานจิตรกรรมและภาพลายเส้น ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เช่น จิตรกรรมฝาผนังประดับเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคมฯลฯ จิตรกรรมอื่นๆและภาพลายเส้น เช่นจิตรกรรมที่เกี่ยวกับวรรณคดีไทย งานประติมากรรม เช่น งานออกแบบพระพุทธรูปและงานอันเนื่องด้วยพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธไสยาสน์ฯลฯ การออกแบบพระบรมราชานุสาวรีย์ เช่น พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ฯลฯ การออกแบบอนุสาวรีย์ เช่น อนุสาวรีย์พระแม่ธรณีบิดมวยผม ฯลฯ งานสถาปัตยกรรม โดยงานสถาปัตยกรรมถาวรเช่นหมู่พระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปราสาทเทพบิดร พระที่นั่งราชฤดี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามฯลฯ งานสถาปัตยกรรมชั่วคราว เช่นการออกแบบพระเมรุมาศในงานพระศพของพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ งานประณีตศิลป์ เช่นงานออกแบบปกและภาพประกอบหนังสือ งานออกแบบพระราชลัญจกรและดวงตราต่างๆ งานออกแบบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การออกแบบตาลปัตรหรือพัดรอง การออกแบบลวดลายบนขันน้ำมนต์ การออกแบบตังอักษร การออกแบบฉากเวที
'''ด้านศิลปกรรม'''<ref>สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. หน้า 8-19. (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557) </ref>
 
ทรงรังสรรค์ผลงานศิลปกรรมไว้หลายประเภทจำแนกได้คืองานจิตรกรรมและภาพลายเส้น ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เช่น จิตรกรรมฝาผนังประดับเพดาน[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]ฯลฯ จิตรกรรมอื่นๆและภาพลายเส้น เช่นจิตรกรรมที่เกี่ยวกับวรรณคดีไทย งานประติมากรรม เช่น งานออกแบบพระพุทธรูปและงานอันเนื่องด้วยพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธไสยาสน์ฯลฯ การออกแบบพระบรมราชานุสาวรีย์ เช่น พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ฯลฯ การออกแบบอนุสาวรีย์ เช่น อนุสาวรีย์พระแม่ธรณีบิดมวยผม ฯลฯ งานสถาปัตยกรรม โดยงานสถาปัตยกรรมถาวรเช่นหมู่พระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปราสาทเทพบิดร พระที่นั่งราชฤดี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามฯลฯ งานสถาปัตยกรรมชั่วคราว เช่นการออกแบบพระเมรุมาศในงานพระศพของพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ งานประณีตศิลป์ เช่นงานออกแบบปกและภาพประกอบหนังสือ งานออกแบบพระราชลัญจกรและดวงตราต่างๆ งานออกแบบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การออกแบบตาลปัตรหรือพัดรอง การออกแบบลวดลายบนขันน้ำมนต์ การออกแบบตังอักษร การออกแบบฉากเวที
'''ด้านวรรณกรรม'''<ref>มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.  th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557). </ref>
ร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น โคลงประกอบภาพ จิตรกรรมภาพพระราชพงศาวดาร โคลงประกอบเรื่องรามเกียรติ์ ทรงพระนิพนธ์เมื่องานฉลองพระนครครบรอบร้อยปี ลายพระหัตถ์โต้ตอบประทานบุคคลต่าง ๆ เช่น จดหมายเวรโต้ตอบกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ลายพระหัตถ์ประทานความรู้ในลักษณะจดหมายโต้ตอบพระสารประเสริฐและพระยาอนุมานราชธน เรื่องภาษาและประเพณี ลายพระหัตถ์โต้ตอบเหล่านี้เป็นเหมือนคลังความรู้สำหรับผู้สนใจใฝ่ศึกษาค้นคว้าทั่วไป
'''ด้านดุริยางคศิลป์และนาฏศิลป์'''<ref>สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. หน้า 20-22. (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557) </ref> 
ดุริยางคศิลป์ไทยเป็นศาสตร์ที่ทรงสนพระทัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงนิพนธ์เพลงต่าง ๆ เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงเขมรไทรโยค เพลงมหาชัย เพลงสรรเสริญป่า เพลงเต่าเห่ ฯลฯ ทรงปรับปรุงแนวการแสดงคอนเสิร์ต โดยทรงนำวรรณคดีไทยมาปรับปรุงลำนำเพลง ซึ่งเรื่องรามเกียรติ์ได้ทรงนิพนธ์ไว้3ตอนคือ ตอนนางลอย ตอนพรหมมาศ ตอนนาคบาศ และเรื่องอิเหนาคือตอนบวงสรวงวิลิศมาหรา ทรงนิพนธ์และจัดลำนำเพลงประกอบภาพนิ่ง 8 ตอน เช่นเรื่องราชาธิราช เรื่องนิทราชาคริต ฯลฯ และการจัดแสดงละครดึกดำบรรพ์ เช่นเรื่องรามเกียรติ์ ตอนศูรปนขาตีสีดา เรื่องสังข์ทอง ตอนทิ้งพวงมาลัย ตีคลี และตอนถอดรูป ฯลฯ
ด้านวรรณกรรม
ร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น โคลงประกอบภาพ จิตรกรรมภาพพระราชพงศาวดาร โคลงประกอบเรื่องรามเกียรติ์ ทรงพระนิพนธ์เมื่องานฉลองพระนครครบรอบร้อยปี ลายพระหัตถ์โต้ตอบประทานบุคคลต่าง ๆ เช่น จดหมายเวรโต้ตอบกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ลายพระหัตถ์ประทานความรู้ในลักษณะจดหมายโต้ตอบพระสารประเสริฐและพระยาอนุมานราชธน เรื่องภาษาและประเพณี ลายพระหัตถ์โต้ตอบเหล่านี้เป็นเหมือนคลังความรู้สำหรับผู้สนใจใฝ่ศึกษาค้นคว้าทั่วไป
ด้านดุริยางคศิลป์และนาฏศิลป์
ดุริยางคศิลป์ไทยเป็นศาสตร์ที่ทรงสนพระทัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงนิพนธ์เพลงต่าง ๆ เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงเขมรไทรโยค เพลงมหาชัย เพลงสรรเสริญป่า เพลงเต่าเห่ ฯลฯ ทรงปรับปรุงแนวการแสดงคอนเสิร์ต โดยทรงนำวรรณคดีไทยมาปรับปรุงลำนำเพลง ซึ่งเรื่องรามเกียรติ์ได้ทรงนิพนธ์ไว้3ตอนคือ ตอนนางลอย ตอนพรหมมาศ ตอนนาคบาศ และเรื่องอิเหนาคือตอนบวงสรวงวิลิศมาหรา ทรงนิพนธ์และจัดลำนำเพลงประกอบภาพนิ่ง 8 ตอน เช่นเรื่องราชาธิราช เรื่องนิทราชาคริต ฯลฯ และการจัดแสดงละครดึกดำบรรพ์ เช่นเรื่องรามเกียรติ์ ตอนศูรปนขาตีสีดา เรื่องสังข์ทอง ตอนทิ้งพวงมาลัย ตีคลี และตอนถอดรูป ฯลฯ


==ชายา พระโอรส และพระธิดา==
==ชายา พระโอรส และพระธิดา==<ref>มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.  th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557). </ref>


สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงมีชายาดังนี้
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงมีชายาดังนี้
1. หม่อมราชวงศ์ปลื้ม ศิริวงศ์  
ธิดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์ มีพระธิดา 1 องค์ คือหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2433-2459)
1. หม่อมราชวงศ์ปลื้ม ศิริวงศ์  
2. หม่อมมาลัย เศวตามร์  
เมื่อหม่อมราชวงศ์ปลื้มถึงแก่กรรม ทรงได้หม่อมมาลัย เศวตามร์ บุตรีพระสาครสมบัติ (เผือก) เป็นชายา มีโอรส 2 องค์ คือ หม่อมเจ้าอ้าย จิตรพงศ์ และ หม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2440 - 2489)
ธิดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์ มีพระธิดา 1 องค์ คือหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2433-2459)
3. หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ
เมื่อหม่อมมาลัยถึงแก่กรรมแล้ว ทรงได้หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ ธิดาหม่อมเจ้าแดง เป็นชายา      มีพระโอรส 3 องค์ และพระธิดา 3 องค์ คือหม่อมเจ้าสาม จิตรพงศ์ หม่อมเจ้าประโลมจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2448 - 2513) หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2451 - 2550) หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2453 - 2539) หม่อมเจ้าเพลารถ  จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2457 - 2537) และหม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2459 - ปัจจุบัน)
2. หม่อมมาลัย เศวตามร์  
เมื่อหม่อมราชวงศ์ปลื้มถึงแก่กรรม ทรงได้หม่อมมาลัย เศวตามร์ บุตรีพระสาครสมบัติ (เผือก) เป็นชายา มีโอรส 2 องค์ คือ หม่อมเจ้าอ้าย จิตรพงศ์ และ หม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2440 - 2489)
3. หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ
เมื่อหม่อมมาลัยถึงแก่กรรมแล้ว ทรงได้หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ ธิดาหม่อมเจ้าแดง เป็นชายา      มีพระโอรส 3 องค์ และพระธิดา 3 องค์ คือหม่อมเจ้าสาม จิตรพงศ์ หม่อมเจ้าประโลมจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2448 - 2513) หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2451 - 2550) หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2453 - 2539) หม่อมเจ้าเพลารถ  จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2457 - 2537) และหม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2459 - ปัจจุบัน)


==พระเกียรติยศ==
==พระเกียรติยศ==


พระราชอิสริยยศ  
'''พระราชอิสริยยศ'''<ref>เรื่องเดียวกัน</ref>
- พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (28 เมษายน พ.ศ. 2406 -สิ้นรัชกาลที่ 4)
- พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (28 เมษายน พ.ศ. 2406 -สิ้นรัชกาลที่ 4)
- พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (ต้นรัชกาลที่ 5 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2428)
- พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (ต้นรัชกาลที่ 5 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2428)
- พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ กรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ (10 มีนาคม พ.ศ. 2428 - 18 ธันวาคม  พ.ศ. 2430)
- พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ กรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ (10 มีนาคม พ.ศ. 2428 - 18 ธันวาคม  พ.ศ. 2430)
- พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ (18 ธันวาคม พ.ศ. 2430 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448)
- พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ (18 ธันวาคม พ.ศ. 2430 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448)
- สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - สิ้นรัชกาลที่ 5)
- สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - สิ้นรัชกาลที่ 5)
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ์ (ต้นรัชกาลที่ 6 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ์ (ต้นรัชกาลที่ 6 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2488)
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2488)
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - สิ้นพระชนม์)
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - สิ้นพระชนม์)


เครื่องราชอิสริยาภรณ์
'''[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]'''
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระองค์ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดของตระกูลต่าง ๆ ดังนี้  
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย'''
พระองค์ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดของตระกูลต่าง ๆ ดังนี้<ref> ทำเนียบผู้บังคับบัญชา. 2557. พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. กองบัญชาการกองทัพบก.  http://www.rta.mi.th/command.command4.htm  (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557). </ref>
 
- เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ดาราประดับเพชร (พ.ศ. 2481)
- เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ดาราประดับเพชร (พ.ศ. 2481)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (พ.ศ. 2436)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (พ.ศ. 2436)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ (พ.ศ. 2443) พร้อมสังวาลจุลจอมเกล้า ดาราประดับเพชร (พ.ศ. 2448)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ (พ.ศ. 2443) พร้อมสังวาลจุลจอมเกล้า ดาราประดับเพชร (พ.ศ. 2448)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (พ.ศ. 2459)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (พ.ศ. 2459)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (พ.ศ. 2468)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (พ.ศ. 2468)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (พ.ศ. 2462)
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (พ.ศ. 2462)
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 ชั้นที่ 2 (พ.ศ. 2447)  
 
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2451)  
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 ชั้นที่ 2 (พ.ศ. 2447) <ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 , เล่ม 21, ตอน 35, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447, หน้า 564</ref>
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2453)  
 
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2469)  
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2451)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบันฝ่ายหน้า , เล่ม 25, ตอน 35, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451, หน้า 1012</ref>
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2481)  
 
- เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) (พ.ศ. 2433)  
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2453)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม 27, ตอน 0 ง, 11 มกราคม พ.ศ. 2453, หน้า 2409</ref>
 
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2469)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายหน้า , เล่ม 43, ตอน 0 ง, 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469, หน้า 3120</ref>
 
- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2481)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม 55, ตอน 0 ง, 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481, หน้า 29</ref>
 
- เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) (พ.ศ. 2433)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา, เล่ม 7, ตอน 43, 25 มกราคม พ.ศ. 2433, หน้า 392</ref>
 
- เหรียญดุษฎีมาลา เช็มราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2436)
- เหรียญดุษฎีมาลา เช็มราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2436)
- เหรียญจักรมาลา (พ.ศ. 2436)
- เหรียญจักรมาลา (พ.ศ. 2436)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎอิตาลี ชั้นที่ 1 ประเทศอิตาลี  
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ'''
 
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎอิตาลี ชั้นที่ 1 ประเทศอิตาลี<ref>ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานพระบรมราชานุญาตเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 9, ตอน 5, 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2435, หน้า 35. </ref>
 
==พระเกียรติประวัติ==<ref>เนติกร  ชินโย. 2555. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/naris55book.pdf. หน้า 6. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557). </ref>
วันที่ 28 เมษายน เป็นวันครบรอบวันประสูติของพระองค์ ทุกปีจะมีงาน “[[วันนริศ]]” ณ ตำหนักปลายเนินคลองเตย มีการแสดงละคร การบรรเลงเพลงพระนิพนธ์ การตั้งแสดงงานฝีพระหัตถ์บางชิ้น และการมอบ  “ทุนนริศรานุวัดติวงศ์” แก่นักศึกษาในสาขาวิชาศิลปะ เนื่องในวาระฉลองวันประสูติครบ 100 พรรษา ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2506 องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้ประกาศยกย่องให้พระองค์เป็นบุคคลสำคัญของโลกประจำปี พ.ศ. 2506 นับเป็นบุคคลไทยคนที่ 2 ที่ได้รับการยกย่อง


==พระเกียรติประวัติ==  
==อ้างอิง==
วันที่ 28 เมษายน เป็นวันครบรอบวันประสูติของพระองค์ ทุกปีจะมีงาน “วันนริศ” ณ ตำหนักปลายเนินคลองเตย มีการแสดงละคร การบรรเลงเพลงพระนิพนธ์ การตั้งแสดงงานฝีพระหัตถ์บางชิ้น และการมอบ  “ทุนนริศรานุวัดติวงศ์” แก่นักศึกษาในสาขาวิชาศิลปะ เนื่องในวาระฉลองวันประสูติครบ 100 พรรษา ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2506 องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้ประกาศยกย่องให้พระองค์เป็นบุคคลสำคัญของโลกประจำปี พ.ศ. 2506 นับเป็นบุคคลไทยคนที่ 2 ที่ได้รับการยกย่อง
 
<references/>


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


กรมศิลปากร. 2551. พระประวัติและประชุมบทละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด.
กรมศิลปากร. 2551. พระประวัติและประชุมบทละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด.
ทำเนียบผู้บังคับบัญชา. 2557. พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. กองบัญชาการกองทัพบก.  http://www.rta.mi.th/command.command4.htm  (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557).
ทำเนียบผู้บังคับบัญชา. 2557. พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. กองบัญชาการกองทัพบก.  http://www.rta.mi.th/command.command4.htm  (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557).
เนติกร  ชินโย. 2555. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/naris55book.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).
เนติกร  ชินโย. 2555. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/naris55book.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).
มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.  th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).
มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.  th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).
ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์. เล่ม 55. ตอน 0 ง. 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481.
ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์. เล่ม 55. ตอน 0 ง. 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานพระบรมราชานุญาตเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. เล่ม 9. ตอน 5. 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2435. หน้า 35.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานพระบรมราชานุญาตเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. เล่ม 9. ตอน 5. 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2435. หน้า 35.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา. เล่ม 7. ตอน 43. 25 มกราคม พ.ศ. 2433. หน้า 392
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา. เล่ม 7. ตอน 43. 25 มกราคม พ.ศ. 2433. หน้า 392
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 . เล่ม 21. ตอน 35. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 . เล่ม 21. ตอน 35. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบันฝ่ายหน้า . เล่ม 25. ตอน 35. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบันฝ่ายหน้า . เล่ม 25. ตอน 35. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์. เล่ม 27. ตอน 0 ง. 11 มกราคม พ.ศ. 2453.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์. เล่ม 27. ตอน 0 ง. 11 มกราคม พ.ศ. 2453.
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายหน้า . เล่ม 43. ตอน 0 ง. 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469.  
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายหน้า . เล่ม 43. ตอน 0 ง. 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469.  
สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557)
สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557)


==หนังสือแนะนำเพิ่มเติม==
==หนังสือแนะนำเพิ่มเติม==


สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 1”.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  '''บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 1”'''.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 2”.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 3”.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  '''บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 2”'''.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 4”.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 5”.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  '''บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 3”'''.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ.  สาส์นสมเด็จ.  กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดการพิมพ์พระนคร
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  '''บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 4”'''.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์.  '''บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 5”'''.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ.  '''สาส์นสมเด็จ'''.  กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดการพิมพ์พระนคร


[[หมวดหมู่:บุคคลสำคัญด้านอื่นๆ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลสำคัญด้านอื่นๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:41, 14 กรกฎาคม 2558

ผู้เรียบเรียง : จารุวรรณ สุขุมาลพงษ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


พระประวัติ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 62 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงพรรณราย (หม่อมเจ้าหญิงพรรณราย หรือ แฉ่) พระราชธิดาของกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันอังคาร เดือน 6 ขึ้น 11 ค่ำ ปีกุน เบญจศก จ.ศ. 1225 ตรงกับวันที่ 28 เมษายน 2406 และได้รับพระราชทานพระนามจากสมเด็จพระบรมชนกนารถโดยมีพระราชหัตถเลขาดังนี้[1]

ไฟล์:สมเด็จพระปรเมนทร.jpg

ในปี[2] พ.ศ. 2428 พระองค์ได้รับการสถาปนาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษนอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชดำริว่า หม่อมเจ้าพรรณราย พระมารดาในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษนั้น นับเป็นพระเจ้าหลานเธอในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระขนิษฐาร่วมพระชนกในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ดังนั้น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษจึงมีพระอัยการ่วมกับพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการสถาปนา พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษ ขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษ พร้อมกันนี้ทรงสถาปนาพระเชษฐภคินีในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนขัตติยกัลยาด้วย

หลังจากที่พระองค์ได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงพระคลัง เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ผู้บัญชาการทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริเห็นควรที่จะสถาปนาให้ดำรงพระอิสริยยศที่ “กรมหลวง” ได้ กอปรกับการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ ซึ่งเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอร่วมพระราชมารดาในพระองค์ ดังนั้น พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงสถาปนาพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงษ์ เมื่อปี พ.ศ. 2448

เมื่อ พ.ศ. 2452 พระองค์ประชวรด้วยโรคพระหทัยโตขณะที่ยังทรงรับราชการในตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงวัง จึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากราชการ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามที่ทรงขอ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงแม้ด้วยพระโรคที่พระองค์เป็นอยู่นั้นไม่เอื้ออำนวยให้พระองค์ทรงสามารถรับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ ๆ ได้ แต่พระองค์ก็ยังคงรับราชการส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงออกแบบงานต่าง ๆ ตามพระราชประสงค์ เช่น พระโกศพระบรมอัฐิและพระวิมานทองคำลงยาราชาวดีสำหรับประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้น ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการเลื่อนกรมสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงษ์ขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์ มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า

“สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ มหามกุฏพงศ์นฤบดินทรปรมินทรานุชาธิเบนทร์ ปรเมนทรราชปิตุลา สวามิภักดิ์สยามวิชิต สรรพศิลปสิทธิวิทยาธร สุรจิตรกรศุภโกศล ประพนธปรีชาชาญโบราณคดี สังคีตวาทิตวิธีวิจารณ์ มโหฬารสีตลัธยาศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณานุวัติ ขัตติยเดชานุภาพบพิตร”

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่กับงานศิลปะและวิทยาการจนพระกำลังพระปัญญาเสื่อมลงทุกที ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัยเบียดเบียน คือ โรคพระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2490 เวลา 13.05 นาฬิกา จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ มีพระชันษา 83 ปี 10 เดือน 12 วัน มีการจัดพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2493 โดยใช้พระเมรุองค์เดียวกับพระเมรุมาศ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล

พระกรณียกิจ

ด้านราชการ[3]

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงรับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ มาตลอด 4 แผ่นดิน อาทิ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ อภิรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารเรือ อุปนายกราชบัณฑิตยสภา ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 เป็นต้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน อุปนายกราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร และพระองค์ ยังได้รับการแต่งให้ให้ดำรงตำแหน่งผู้กำกับการพระราชวงศ์ มีหน้าที่สนองพระเดชพระคุณในพระราชกรณียกิจส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปก เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชวงศ์พระองค์ใดที่มีกิจที่ไม่ต้องกราบบังคมทูลพระกรุณาก็ให้ติดต่อ กราบบังคมทูลต่อพระองค์แทน นอกจากนี้ ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จยังต่างประเทศ พระองค์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2476 จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ พระองค์จึงพ้นจากตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ด้านศิลปกรรม[4]

ทรงรังสรรค์ผลงานศิลปกรรมไว้หลายประเภทจำแนกได้คืองานจิตรกรรมและภาพลายเส้น ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เช่น จิตรกรรมฝาผนังประดับเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคมฯลฯ จิตรกรรมอื่นๆและภาพลายเส้น เช่นจิตรกรรมที่เกี่ยวกับวรรณคดีไทย งานประติมากรรม เช่น งานออกแบบพระพุทธรูปและงานอันเนื่องด้วยพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธไสยาสน์ฯลฯ การออกแบบพระบรมราชานุสาวรีย์ เช่น พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ฯลฯ การออกแบบอนุสาวรีย์ เช่น อนุสาวรีย์พระแม่ธรณีบิดมวยผม ฯลฯ งานสถาปัตยกรรม โดยงานสถาปัตยกรรมถาวรเช่นหมู่พระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปราสาทเทพบิดร พระที่นั่งราชฤดี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามฯลฯ งานสถาปัตยกรรมชั่วคราว เช่นการออกแบบพระเมรุมาศในงานพระศพของพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ งานประณีตศิลป์ เช่นงานออกแบบปกและภาพประกอบหนังสือ งานออกแบบพระราชลัญจกรและดวงตราต่างๆ งานออกแบบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การออกแบบตาลปัตรหรือพัดรอง การออกแบบลวดลายบนขันน้ำมนต์ การออกแบบตังอักษร การออกแบบฉากเวที

ด้านวรรณกรรม[5]

ร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น โคลงประกอบภาพ จิตรกรรมภาพพระราชพงศาวดาร โคลงประกอบเรื่องรามเกียรติ์ ทรงพระนิพนธ์เมื่องานฉลองพระนครครบรอบร้อยปี ลายพระหัตถ์โต้ตอบประทานบุคคลต่าง ๆ เช่น จดหมายเวรโต้ตอบกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ลายพระหัตถ์ประทานความรู้ในลักษณะจดหมายโต้ตอบพระสารประเสริฐและพระยาอนุมานราชธน เรื่องภาษาและประเพณี ลายพระหัตถ์โต้ตอบเหล่านี้เป็นเหมือนคลังความรู้สำหรับผู้สนใจใฝ่ศึกษาค้นคว้าทั่วไป

ด้านดุริยางคศิลป์และนาฏศิลป์[6]

ดุริยางคศิลป์ไทยเป็นศาสตร์ที่ทรงสนพระทัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงนิพนธ์เพลงต่าง ๆ เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงเขมรไทรโยค เพลงมหาชัย เพลงสรรเสริญป่า เพลงเต่าเห่ ฯลฯ ทรงปรับปรุงแนวการแสดงคอนเสิร์ต โดยทรงนำวรรณคดีไทยมาปรับปรุงลำนำเพลง ซึ่งเรื่องรามเกียรติ์ได้ทรงนิพนธ์ไว้3ตอนคือ ตอนนางลอย ตอนพรหมมาศ ตอนนาคบาศ และเรื่องอิเหนาคือตอนบวงสรวงวิลิศมาหรา ทรงนิพนธ์และจัดลำนำเพลงประกอบภาพนิ่ง 8 ตอน เช่นเรื่องราชาธิราช เรื่องนิทราชาคริต ฯลฯ และการจัดแสดงละครดึกดำบรรพ์ เช่นเรื่องรามเกียรติ์ ตอนศูรปนขาตีสีดา เรื่องสังข์ทอง ตอนทิ้งพวงมาลัย ตีคลี และตอนถอดรูป ฯลฯ

==ชายา พระโอรส และพระธิดา==[7]

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงมีชายาดังนี้

1. หม่อมราชวงศ์ปลื้ม ศิริวงศ์

ธิดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์ มีพระธิดา 1 องค์ คือหม่อมเจ้าปลื้มจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2433-2459)

2. หม่อมมาลัย เศวตามร์

เมื่อหม่อมราชวงศ์ปลื้มถึงแก่กรรม ทรงได้หม่อมมาลัย เศวตามร์ บุตรีพระสาครสมบัติ (เผือก) เป็นชายา มีโอรส 2 องค์ คือ หม่อมเจ้าอ้าย จิตรพงศ์ และ หม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2440 - 2489)

3. หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ

เมื่อหม่อมมาลัยถึงแก่กรรมแล้ว ทรงได้หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ ธิดาหม่อมเจ้าแดง เป็นชายา มีพระโอรส 3 องค์ และพระธิดา 3 องค์ คือหม่อมเจ้าสาม จิตรพงศ์ หม่อมเจ้าประโลมจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2448 - 2513) หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2451 - 2550) หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2453 - 2539) หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2457 - 2537) และหม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์ (พ.ศ. 2459 - ปัจจุบัน)

พระเกียรติยศ

พระราชอิสริยยศ[8]

- พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (28 เมษายน พ.ศ. 2406 -สิ้นรัชกาลที่ 4)

- พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (ต้นรัชกาลที่ 5 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2428)

- พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ กรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ (10 มีนาคม พ.ศ. 2428 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2430)

- พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ (18 ธันวาคม พ.ศ. 2430 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448)

- สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - สิ้นรัชกาลที่ 5)

- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ์ (ต้นรัชกาลที่ 6 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)

- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2488)

- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - สิ้นพระชนม์)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

พระองค์ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดของตระกูลต่าง ๆ ดังนี้[9]

- เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ดาราประดับเพชร (พ.ศ. 2481)

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (พ.ศ. 2436)

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ (พ.ศ. 2443) พร้อมสังวาลจุลจอมเกล้า ดาราประดับเพชร (พ.ศ. 2448)

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (พ.ศ. 2459)

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (พ.ศ. 2468)

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (พ.ศ. 2462)

- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 ชั้นที่ 2 (พ.ศ. 2447) [10]

- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2451)[11]

- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2453)[12]

- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2469)[13]

- เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (พ.ศ. 2481)[14]

- เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) (พ.ศ. 2433)[15]

- เหรียญดุษฎีมาลา เช็มราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2436)

- เหรียญจักรมาลา (พ.ศ. 2436)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎอิตาลี ชั้นที่ 1 ประเทศอิตาลี[16]

==พระเกียรติประวัติ==[17]

วันที่ 28 เมษายน เป็นวันครบรอบวันประสูติของพระองค์ ทุกปีจะมีงาน “วันนริศ” ณ ตำหนักปลายเนินคลองเตย มีการแสดงละคร การบรรเลงเพลงพระนิพนธ์ การตั้งแสดงงานฝีพระหัตถ์บางชิ้น และการมอบ “ทุนนริศรานุวัดติวงศ์” แก่นักศึกษาในสาขาวิชาศิลปะ เนื่องในวาระฉลองวันประสูติครบ 100 พรรษา ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2506 องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้ประกาศยกย่องให้พระองค์เป็นบุคคลสำคัญของโลกประจำปี พ.ศ. 2506 นับเป็นบุคคลไทยคนที่ 2 ที่ได้รับการยกย่อง

อ้างอิง

  1. กรมศิลปากร. 2551. พระประวัติและประชุมบทละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด. หน้า 11
  2. มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557).
  3. เรื่องเดียวกัน
  4. สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. หน้า 8-19. (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557)
  5. มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557).
  6. สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. หน้า 20-22. (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557)
  7. มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).
  8. เรื่องเดียวกัน
  9. ทำเนียบผู้บังคับบัญชา. 2557. พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. กองบัญชาการกองทัพบก. http://www.rta.mi.th/command.command4.htm (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557).
  10. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 , เล่ม 21, ตอน 35, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447, หน้า 564
  11. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบันฝ่ายหน้า , เล่ม 25, ตอน 35, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451, หน้า 1012
  12. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม 27, ตอน 0 ง, 11 มกราคม พ.ศ. 2453, หน้า 2409
  13. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายหน้า , เล่ม 43, ตอน 0 ง, 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469, หน้า 3120
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม 55, ตอน 0 ง, 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481, หน้า 29
  15. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา, เล่ม 7, ตอน 43, 25 มกราคม พ.ศ. 2433, หน้า 392
  16. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานพระบรมราชานุญาตเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 9, ตอน 5, 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2435, หน้า 35.
  17. เนติกร ชินโย. 2555. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/naris55book.pdf. หน้า 6. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).

บรรณานุกรม

กรมศิลปากร. 2551. พระประวัติและประชุมบทละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด.

ทำเนียบผู้บังคับบัญชา. 2557. พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. กองบัญชาการกองทัพบก. http://www.rta.mi.th/command.command4.htm (สืบค้นเมื่อวันที่30 กรกฎาคม 2557).

เนติกร ชินโย. 2555. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/naris55book.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).

มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ_เจ้าฟ้าจิตรเจริญ_กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557).

ราชกิจจานุเบกษา. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์. เล่ม 55. ตอน 0 ง. 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานพระบรมราชานุญาตเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. เล่ม 9. ตอน 5. 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2435. หน้า 35.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา. เล่ม 7. ตอน 43. 25 มกราคม พ.ศ. 2433. หน้า 392

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 4 . เล่ม 21. ตอน 35. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบันฝ่ายหน้า . เล่ม 25. ตอน 35. 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์. เล่ม 27. ตอน 0 ง. 11 มกราคม พ.ศ. 2453.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายหน้า . เล่ม 43. ตอน 0 ง. 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469.

สุวัฒน์ วรรณมณี. ม.ป.ป. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.su.ac.th/html_sunewsletter/su_pdf/book02.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2557)

หนังสือแนะนำเพิ่มเติม

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 1”. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 2”. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 3”. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 4”. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่มที่ 5”. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2506.

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. สาส์นสมเด็จ. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดการพิมพ์พระนคร