ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองพล 93 ของกองทัพจีนคณะชาติในภาคเหนือของไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Tora (คุย | ส่วนร่วม)
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{รอผู้ทรง}}
'''ผู้เรียบเรียง''' นิติยาภรณ์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


----
----


[[ผู้เรียบเรียง]] นิติยาภรณ์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----


==ความเป็นมา==
==ความเป็นมา==


เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1945 สภาพทางการเมืองของเหล่าประเทศทั้งหลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เข้าสู่ยุคของการกลับเข้ามาของเจ้า[[การล่าอาณานิคม|อาณานิคม]]เดิมอีกครั้ง หากแต่ในครั้งนี้ ดินแดนที่ตกเป็นอาณานิคมได้สร้างกระบวนการต่อรองอำนาจกับบรรดาประเทศเจ้าอาณานิคมเดิม รวมไปถึงการเรียกร้องการปกครองตนเอง และขยายวงไปสู่การเรียกร้องเอกราชในที่สุด  
เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1945 สภาพทางการเมืองของเหล่าประเทศทั้งหลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เข้าสู่ยุคของการกลับเข้ามาของเจ้า[[การล่าอาณานิคม|อาณานิคม]]เดิมอีกครั้ง หากแต่ในครั้งนี้ ดินแดนที่ตกเป็นอาณานิคมได้สร้างกระบวนการต่อรองอำนาจกับบรรดาประเทศเจ้าอาณานิคมเดิม รวมไปถึงการเรียกร้องการปกครองตนเอง และขยายวงไปสู่การเรียกร้องเอกราชในที่สุด  
 


อย่างไรก็ตามบรรดาดินแดนที่ถือว่ามีความสำคัญยิ่งต่อชาวตะวันตกคือ จีน ทั้งนี้ จีนถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่และเส้นทางยุทธศาสตร์ทางการทหาร และการรบระหว่างญี่ปุ่นกับฝ่ายของ สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ เมื่อสงครามโลกครั้งสองสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2488 สถานการณ์ในจีนในช่วงเวลาหลังจากนั้นได้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ในปี พ.ศ. 2492 พรรคอมมิวนิสต์ได้รับชัยชนะเหนือ[[พรรคก๊ก มิน ตั๋ง]] โดยมี[[นายพล เจียง ไค เช็ค]] เป็นผู้นำในขณะนั้น ทำให้จีนจึงอยู่ภายใต้การปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์  
อย่างไรก็ตามบรรดาดินแดนที่ถือว่ามีความสำคัญยิ่งต่อชาวตะวันตกคือ จีน ทั้งนี้ จีนถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่และเส้นทางยุทธศาสตร์ทางการทหาร และการรบระหว่างญี่ปุ่นกับฝ่ายของ สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ เมื่อสงครามโลกครั้งสองสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2488 สถานการณ์ในจีนในช่วงเวลาหลังจากนั้นได้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ในปี พ.ศ. 2492 พรรคอมมิวนิสต์ได้รับชัยชนะเหนือ[[พรรคก๊ก มิน ตั๋ง]] โดยมี[[นายพล เจียง ไค เช็ค]] เป็นผู้นำในขณะนั้น ทำให้จีนจึงอยู่ภายใต้การปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์  


 
เนื่องจากสภาพการณ์ดังกล่าวมาข้างต้นทำให้[[นายพล เจียง ไค เช็ค]] จำเป็นต้องถอยไปตั้งรัฐบาลใหม่ยัง[[เกาะฟอร์โมซา]] (ประเทศไต้หวันในปัจจุบัน)<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, พ.อ., '''ก๊กมินตั๋ง ทหารจีนคณะชาติตกค้างภาคเหนือประเทศไทย''' (เชียงใหม่: สยามรัตน พริ้นติ้ง, 2546), หน้า  29</ref>  อย่างไรก็ตาม ก๊ก มิน ตั๋ง ได้วางกำลังของตนเองไว้ที่มณฑลยูนนาน 2 กองทัพด้วยกันคือ กองทัพที่ 8 และกองทัพที่ 26 ซึ่งแต่ละกองทัพประกอบด้วย 2 กองพล โดยที่'''กองพล 93''' เป็นหน่วยหนึ่งที่ขึ้นตรงต่อกองทัพที่ 26<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 29.</ref>  ทำหน้าที่ดูแลพื้นที่ดังกล่าวไว้เพื่อป้องกันไม่ให้กองกำลังของอีกฝ่ายไล่ตามกองกำลังที่เคลื่อนย้ายไปยังเกาะฟอร์โมซาได้ทัน ในเวลาต่อมากองทัพที่ 8 และกองทัพที่ 26 ก็ถูกกองทัพของฝ่าย[[พรรคคอมมิวนิสต์]]ตีแตกพ่ายและถอยลงมายังพื้นที่พม่าตอนบนใกล้กับพรมแดนมณฑลยูนนานของจีน กองทัพที่ 26 ได้ถูกกองกำลังของจีนคอมมิวนิสต์ตีแตกพ่ายอีกครั้งและได้ถอยร่นไปยังลาวและเวียดนาม อีกส่วนก็ถอยเข้ามายังรัฐฉานของประเทศพม่า<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 29.</ref>  ผ่านทางรัฐฉานด้านเมืองเชียงตุง แล้วผ่านมาทางขี้เหล็กของประเทศไทย โดยมีกำลังประมาณ 1,700 คน<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, บทนำ.</ref>  จำนวนทหารที่อยู่ในส่วนนี้ส่วนใหญ่แล้วเป็นกำลังพลที่มาจากหน่วยกองพล 93 ในปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา พม่าได้ทำการผลักดันกองกำลังของกองทัพที่ 26 ออกจากประเทศพม่า และส่วนหนึ่งเข้ามายังชายแดนไทย อย่างไรก็ดี สถานการณ์การเมืองที่เกาหลีนั้นได้สร้างความกังวลต่อนานาประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจาก[สงครามเกาหลี|[เกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้]]ในปีพ.ศ. 2493 ทำให้สหรัฐอเมริกาเกิดความวิตกกังวลต่อสถานการณ์การแพร่กระจายของ[[ระบอบคอมมิวนิสต์|คอมมิวนิสต์]] ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มีการสร้างแนวยับยั้งคอมมิวนิสต์จากธิเบตถึงประเทศไทย และในขณะเดียวกันก็สนับสนุนทหารจีนคณะชาติในการบุกคืนสู่จีน<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 34.</ref>   
เนื่องจากสภาพการณ์ดังกล่าวมาข้างต้นทำให้[[นายพล เจียง ไค เช็ค]] จำเป็นต้องถอยไปตั้งรัฐบาลใหม่ยัง[[เกาะฟอร์โมซา]] (ประเทศไต้หวันในปัจจุบัน)<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, พ.อ., ก๊กมินตั๋ง ทหารจีนคณะชาติตกค้างภาคเหนือประเทศไทย (เชียงใหม่: สยามรัตน พริ้นติ้ง, 2546), หน้า  29</ref>  อย่างไรก็ตาม ก๊ก มิน ตั๋ง ได้วางกำลังของตนเองไว้ที่มณฑลยูนนาน 2 กองทัพด้วยกันคือ กองทัพที่ 8 และกองทัพที่ 26 ซึ่งแต่ละกองทัพประกอบด้วย 2 กองพล โดยที่'''กองพล 93''' เป็นหน่วยหนึ่งที่ขึ้นตรงต่อกองทัพที่ 26<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 29.</ref>  ทำหน้าที่ดูแลพื้นที่ดังกล่าวไว้เพื่อป้องกันไม่ให้กองกำลังของอีกฝ่ายไล่ตามกองกำลังที่เคลื่อนย้ายไปยังเกาะฟอร์โมซาได้ทัน ในเวลาต่อมากองทัพที่ 8 และกองทัพที่ 26 ก็ถูกกองทัพของฝ่าย[[พรรคคอมมิวนิสต์]]ตีแตกพ่ายและถอยลงมายังพื้นที่พม่าตอนบนใกล้กับพรมแดนมณฑลยูนนานของจีน กองทัพที่ 26 ได้ถูกกองกำลังของจีนคอมมิวนิสต์ตีแตกพ่ายอีกครั้งและได้ถอยร่นไปยังลาวและเวียดนาม อีกส่วนก็ถอยเข้ามายังรัฐฉานของประเทศพม่า<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 29.</ref>  ผ่านทางรัฐฉานด้านเมืองเชียงตุง แล้วผ่านมาทางขี้เหล็กของประเทศไทย โดยมีกำลังประมาณ 1,700 คน<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, บทนำ.</ref>  จำนวนทหารที่อยู่ในส่วนนี้ส่วนใหญ่แล้วเป็นกำลังพลที่มาจากหน่วยกองพล 93 ในปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา พม่าได้ทำการผลักดันกองกำลังของกองทัพที่ 26 ออกจากประเทศพม่า และส่วนหนึ่งเข้ามายังชายแดนไทย อย่างไรก็ดี สถานการณ์การเมืองที่เกาหลีนั้นได้สร้างความกังวลต่อนานาประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจาก[สงครามเกาหลี|[เกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้]]ในปีพ.ศ. 2493 ทำให้สหรัฐอเมริกาเกิดความวิตกกังวลต่อสถานการณ์การแพร่กระจายของ[[ระบอบคอมมิวนิสต์|คอมมิวนิสต์]] ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มีการสร้างแนวยับยั้งคอมมิวนิสต์จากธิเบตถึงประเทศไทย และในขณะเดียวกันก็สนับสนุนทหารจีนคณะชาติในการบุกคืนสู่จีน<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 34.</ref>   
 


กองพล 93 ใหม่นี้ เกิดขึ้นภายใต้การนิยามโดยพล หลี่ เหวิน ฝาน ได้กล่าวถึงเรื่องดังกล่าวนี้ว่า  
กองพล 93 ใหม่นี้ เกิดขึ้นภายใต้การนิยามโดยพล หลี่ เหวิน ฝาน ได้กล่าวถึงเรื่องดังกล่าวนี้ว่า  


''“...กองพล 93 นั้นเป็นชื่อของกองพลหนึ่งในกองทัพแห่งชาติของจีน ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ... เมื่อเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 กองพล 93 ถูกถอนกลับหมด ... ข้าพเจ้าไม่เคยเป็นทหารประจำการอาชีพ แต่พวกข้าพเจ้าเป็นเพียงอาสาสมัคร เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตน...”''<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 39.</ref>   
{{Cquote|''“...กองพล 93 นั้นเป็นชื่อของกองพลหนึ่งในกองทัพแห่งชาติของจีน ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ... เมื่อเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 กองพล 93 ถูกถอนกลับหมด ... ข้าพเจ้าไม่เคยเป็นทหารประจำการอาชีพ แต่พวกข้าพเจ้าเป็นเพียงอาสาสมัคร เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตน...”''|}}<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 39.</ref>   


กองพล 93 ใหม่นี้ได้ขยายกำลังเป็นกองทัพกู้ชาติ โดยมี[[นายพล หลี่ มี่]] เป็นผู้บัญชาการ และมีกองกำลังสนับสนุนของหน่วยข่างกรองกลางของสหรัฐอเมริกา ในเวลาต่อมาได้มีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมเหล่าทหารปืนใหญ่และเหล่าเทคนิค โดยจัดตั้งขึ้นที่บ้านปงป่าแขมใกล้กับชายแดนไทย คือ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นเส้นทางในการส่งกำลังบำรุงอีกเส้นทางหนึ่งที่นอกเหนือจากเส้นทางด้านท่าตอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 41.</ref>  ในปี พ.ศ. 2496 คณะกรรมการ 4 ชาติ กำหนดให้มีการถอนกำลังทหารของจีนคณะชาติกลับไต้หวัน หลังจากปี พ.ศ. 2504 เมื่อกองบัญชาการกองทัพสนามร่วมของนายพล หลิว เหยี่ยน หลิง ที่เมืองเชียงลับ ถูกทหารผสม จีน-พม่า บุกเข้าทำลาย ทำให้ทหารจีนคณะชาติที่อยู่ในบริเวณของรัฐฉานไม่มีฐานที่มั่น ทำให้อพยพเข้ามาสู้ประเทศไทย<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 7, 53.</ref>
กองพล 93 ใหม่นี้ได้ขยายกำลังเป็นกองทัพกู้ชาติ โดยมี[[นายพล หลี่ มี่]] เป็นผู้บัญชาการ และมีกองกำลังสนับสนุนของหน่วยข่างกรองกลางของสหรัฐอเมริกา ในเวลาต่อมาได้มีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมเหล่าทหารปืนใหญ่และเหล่าเทคนิค โดยจัดตั้งขึ้นที่บ้านปงป่าแขมใกล้กับชายแดนไทย คือ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นเส้นทางในการส่งกำลังบำรุงอีกเส้นทางหนึ่งที่นอกเหนือจากเส้นทางด้านท่าตอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 41.</ref>  ในปี พ.ศ. 2496 คณะกรรมการ 4 ชาติ กำหนดให้มีการถอนกำลังทหารของจีนคณะชาติกลับไต้หวัน หลังจากปี พ.ศ. 2504 เมื่อกองบัญชาการกองทัพสนามร่วมของนายพล หลิว เหยี่ยน หลิง ที่เมืองเชียงลับ ถูกทหารผสม จีน-พม่า บุกเข้าทำลาย ทำให้ทหารจีนคณะชาติที่อยู่ในบริเวณของรัฐฉานไม่มีฐานที่มั่น ทำให้อพยพเข้ามาสู้ประเทศไทย<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 7, 53.</ref>
บรรทัดที่ 29: บรรทัดที่ 25:
นโยบายของรัฐบาลไทยที่มีต่อการอพยพเข้ามาของ[[กองกำลังทหารจีนคณะชาติ]]นั้นดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง นโยบายของรัฐบาลไทยก่อนและหลังจากปีพ.ศ. 2501 เป็นต้นมา ได้มีการดำเนินการส่งทหารจีนคณะชาติกลับไต้หวันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2496 และครั้งที่สอง คือ พ.ศ. 2504  
นโยบายของรัฐบาลไทยที่มีต่อการอพยพเข้ามาของ[[กองกำลังทหารจีนคณะชาติ]]นั้นดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง นโยบายของรัฐบาลไทยก่อนและหลังจากปีพ.ศ. 2501 เป็นต้นมา ได้มีการดำเนินการส่งทหารจีนคณะชาติกลับไต้หวันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2496 และครั้งที่สอง คือ พ.ศ. 2504  


 
อย่างไรก็ดี ในเดือนมีนาคมปีเดียวกันนี้เอง รัฐบาลไทยภายใต้การนำของ[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ได้ประกาศเจตนาที่จะปฏิบัติการตาม[[กฎหมาย]]ระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด และได้ยื่นคำขาดให้กองทหารจีนคณะชาติออกจากเขตแดนไทยภายใน 3 วัน อีกทั้งได้เตรียมกำลังเคลื่อนย้ายออกไป ในปี พ.ศ. 2505 ได้มีกองทหารจีนคณะชาติล้ำแดนเข้ามายังประเทศไทยจำนวนมาก อีกทั้งได้ตั้งฐานที่มั่นอยู่ในเขตแดนของไทย ทำให้รัฐบาลต้องประกาศนโยบายให้ปฏิบัติต่อกองทหารจันคณะชาติตามที่ได้ทำตาม<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 101.</ref>  ได้มีการดำเนินการทางการเมืองโดยที่ทางรัฐบาลไทยพยายามเจรจากับรัฐบาลของจีนและการทหารโดยการผลักดันให้ออกนอกประเทศ โดยจะมีการปลดอาวุธและควบคุมตัวหากไม่เดินทางออกไป<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 99.</ref>
อย่างไรก็ดี ในเดือนมีนาคมปีเดียวกันนี้เอง รัฐบาลไทยภายใต้การนำของ[[จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ได้ประกาศเจตนาที่จะปฏิบัติการตามกฎหมายระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด และได้ยื่นคำขาดให้กองทหารจีนคณะชาติออกจากเขตแดนไทยภายใน 3 วัน อีกทั้งได้เตรียมกำลังเคลื่อนย้ายออกไป ในปี พ.ศ. 2505 ได้มีกองทหารจีนคณะชาติล้ำแดนเข้ามายังประเทศไทยจำนวนมาก อีกทั้งได้ตั้งฐานที่มั่นอยู่ในเขตแดนของไทย ทำให้รัฐบาลต้องประกาศนโยบายให้ปฏิบัติต่อกองทหารจันคณะชาติตามที่ได้ทำตาม<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 101.</ref>  ได้มีการดำเนินการทางการเมืองโดยที่ทางรัฐบาลไทยพยายามเจรจากับรัฐบาลของจีนและการทหารโดยการผลักดันให้ออกนอกประเทศ โดยจะมีการปลดอาวุธและควบคุมตัวหากไม่เดินทางออกไป<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 99.</ref>
 


อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลไทยได้มีมาตราการที่ใช้กับทหาร[[พรรค ก๊ก มิน ตั๋ง|จีนคณะชาติ]]คือการดำเนินการติดต่อกับสถานฑูตของจีนอย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับเรื่องการควบคุม และไม่ใช้เจ้าหน้าที่รัฐบาลติดต่อกับหน่วยทหารโดยตรง เพราะเกรงว่าจะกลายเป็นการรับรองฐานะของกองทหารจีนคณะชาติ ทำการปราบปรามยาเสพติด เส้นทางการลำเลียงโดยดำเนินการเป็นครั้งคราว หรือในกรณีเคลื่อนย้ายอาวุธ อันอาจเป็นภัยต่อประเทศ และดำเนินการปราบปรามและจับกุมตามความเหมาะสม<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 103.</ref>  นอกจากนี้แล้ว ตั้งแต่หลังปี พ.ศ. 2506 เป็นต้นมา กองกำลังทหารจีนคณะชาติกองทัพที่ 3 และ 5 เข้ามาตั้งฐานปฏิบัติการเป็นการถาวรอยู่ตามบริเวณชายแดนไทย อีกทั้งหน่วยข่าวกรองของ[[พรรคก๊ก มิน ตั๋ง]] ได้เข้ามาใช้พื้นที่ของประเทศไทยในการหาข่าว<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 106.</ref>   
อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลไทยได้มีมาตราการที่ใช้กับทหาร[[พรรค ก๊ก มิน ตั๋ง|จีนคณะชาติ]]คือการดำเนินการติดต่อกับสถานฑูตของจีนอย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับเรื่องการควบคุม และไม่ใช้เจ้าหน้าที่รัฐบาลติดต่อกับหน่วยทหารโดยตรง เพราะเกรงว่าจะกลายเป็นการรับรองฐานะของกองทหารจีนคณะชาติ ทำการปราบปรามยาเสพติด เส้นทางการลำเลียงโดยดำเนินการเป็นครั้งคราว หรือในกรณีเคลื่อนย้ายอาวุธ อันอาจเป็นภัยต่อประเทศ และดำเนินการปราบปรามและจับกุมตามความเหมาะสม<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 103.</ref>  นอกจากนี้แล้ว ตั้งแต่หลังปี พ.ศ. 2506 เป็นต้นมา กองกำลังทหารจีนคณะชาติกองทัพที่ 3 และ 5 เข้ามาตั้งฐานปฏิบัติการเป็นการถาวรอยู่ตามบริเวณชายแดนไทย อีกทั้งหน่วยข่าวกรองของ[[พรรคก๊ก มิน ตั๋ง]] ได้เข้ามาใช้พื้นที่ของประเทศไทยในการหาข่าว<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 106.</ref>   


นโยบายต่อมาหลังจากปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมารัฐบาลมีนโยบายที่คุมเข้มต่อกลุ่มทหารจีนคณะชาติ เนื่องจากว่าในพื้นที่ชายแดนลาวกับเขตอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่ที่เกิดการปะทะกันระหว่างกลุ่ม[[จีนฮ่อ]] นำโดย [[ขุนส่า|จาง ซี ฟู]] ([[ขุนส่า]]) กับกองทหารจีนคณะชาติ กองทัพที่ 3 และกองทัพที่ 5 ซึ่งในความเข้าใจของคนไทยโดยทั่วไป เห็นว่ากองทัพทั้งสองนี้คือกองพล 93 อาจจะกล่าวได้ว่านโยบายและการปฏิบัติของรัฐบาลต่อทหารจีนคณะชาติและจีนฮ่อ ระหว่างปี พ.ศ. 2506-2510 นั้นเป็นนโยบายคุมเชิงและควบคุมกองทหารจีนคณะชาติที่ตกค้างในประเทศไทย ซึ่งไม่ได้กลับประเทศไต้หวันตามโครงการส่งกลับในรอบที่สองในปี พ.ศ. 2504 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2513 บก. ทหารสูงสุดส่วนหน้าได้เปิดประชุมปัญหาทหารจีนคณะชาติที่ยังตกค้างอยู่ในประเทศไทย โดยมี [[พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์]]เป็นประธาน เนื้อหาในการประชุมคือ การที่ทหารจีนคณะชาติเป็นปัญหาเรื้อรังนานถึง 21 ปี ถึงแม้จะมีการอพยพแล้วสองครั้งคือ พ.ศ. 2496 และ พ.ศ. 2504 แต่ก็ยังพบว่ามีทหารจีนคณะชาติตกค้างอยู่ในชายแดนภาคเหนือของประเทศไทยเป็นจำนวนมาก<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 124-125.</ref>   
นโยบายต่อมาหลังจากปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมารัฐบาลมีนโยบายที่คุมเข้มต่อกลุ่มทหารจีนคณะชาติ เนื่องจากว่าในพื้นที่ชายแดนลาวกับเขตอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่ที่เกิดการปะทะกันระหว่างกลุ่ม[[จีนฮ่อ]] นำโดย [[ขุนส่า|จาง ซี ฟู]] ([[ขุนส่า]]) กับกองทหารจีนคณะชาติ กองทัพที่ 3 และกองทัพที่ 5 ซึ่งในความเข้าใจของคนไทยโดยทั่วไป เห็นว่ากองทัพทั้งสองนี้คือกองพล 93 อาจจะกล่าวได้ว่านโยบายและการปฏิบัติของรัฐบาลต่อทหารจีนคณะชาติและจีนฮ่อ ระหว่างปี พ.ศ. 2506-2510 นั้นเป็นนโยบายคุมเชิงและควบคุมกองทหารจีนคณะชาติที่ตกค้างในประเทศไทย ซึ่งไม่ได้กลับประเทศไต้หวันตามโครงการส่งกลับในรอบที่สองในปี พ.ศ. 2504 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2513 บก. ทหารสูงสุดส่วนหน้าได้เปิดประชุมปัญหาทหารจีนคณะชาติที่ยังตกค้างอยู่ในประเทศไทย โดยมี [[พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์]]เป็นประธาน เนื้อหาในการประชุมคือ การที่ทหารจีนคณะชาติเป็นปัญหาเรื้อรังนานถึง 21 ปี ถึงแม้จะมีการอพยพแล้วสองครั้งคือ พ.ศ. 2496 และ พ.ศ. 2504 แต่ก็ยังพบว่ามีทหารจีนคณะชาติตกค้างอยู่ในชายแดนภาคเหนือของประเทศไทยเป็นจำนวนมาก<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 124-125.</ref>   


ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2513 หลังจากที่มีการประชุมในเดือนกันยายน ปีเดียวกันได้มีมติให้กองบัญชาการทหารสูงสุดเข้าควบคุม เคลื่อนย้ายกำลังบางส่วนไปจัดตั้งหมู่บ้านผู้อพยพที่หมู่บ้านผาตั้ง บนดอยผาหม่น และที่บ้านแม่แอบ บนดอยหลวง ทั้งนี้มติดังกล่าวได้อนุญาตให้กองทหารจีนคณะชาติที่ตกค้างมีอาวุธป้องกันตนเองได้ไประยะหนึ่งก่อน นอกจากนี้แล้วรัฐบาลไทยในช่วงเวลาดังกล่าวได้ยอมรับสถานะของกองกำลังจีนคณะชาติที่ตกค้างให้อยู่ในสถานะผู้อพยพ รวมถึงจัดสถานที่พักให้เป็นหลักแหล่ง อีกทั้งมีการพัฒนาอาชีพและความรู้โดยอบู่ภายใต้การดูแลของกองบัญชาการทหารสูงสุด<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 125.</ref>  นอกจากนี้แล้ว ทาง[[รัฐบาล]]ไทยในช่วงปี พ.ศ. 2515 ได้เล็งเห็นว่าควรให้กองทัพไทยควบคุมผู้อพยพแทน โดยเฉพาะเรื่องยาเสพติด และการกำหนดที่อยู่ ตลอดจนถึงเรื่องของอาชีพที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2515 รัฐบาลได้มีคำสั่งฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติเรื่องการกำหนดที่อยู่ การพัฒนาอาชีพของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ และครอบครัว รวมถึงการดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับหมู่บ้าน<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 283.</ref>  และในเวลาต่อมากองทหารจีนคณะชาติดังกล่าวได้แปรสภาพกลายเป็นพลเรือนและจัดตั้งหมู่บ้านจำนวน 13 หมู่บ้านด้วยกัน ซึ่งอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในขณะเดียวกันรัฐบาลไทยติดต่อเจรจากับรัฐบาลไต้หวันในเรื่องการส่งกองทหารจีนคณะชาติตกค้างกลับ


ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2513 หลังจากที่มีการประชุมในเดือนกันยายน ปีเดียวกันได้มีมติให้กองบัญชาการทหารสูงสุดเข้าควบคุม เคลื่อนย้ายกำลังบางส่วนไปจัดตั้งหมู่บ้านผู้อพยพที่หมู่บ้านผาตั้ง บนดอยผาหม่น และที่บ้านแม่แอบ บนดอยหลวง ทั้งนี้มติดังกล่าวได้อนุญาตให้กองทหารจีนคณะชาติที่ตกค้างมีอาวุธป้องกันตนเองได้ไประยะหนึ่งก่อน นอกจากนี้แล้วรัฐบาลไทยในช่วงเวลาดังกล่าวได้ยอมรับสถานะของกองกำลังจีนคณะชาติที่ตกค้างให้อยู่ในสถานะผู้อพยพ รวมถึงจัดสถานที่พักให้เป็นหลักแหล่ง อีกทั้งมีการพัฒนาอาชีพและความรู้โดยอบู่ภายใต้การดูแลของกองบัญชาการทหารสูงสุด<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 125.</ref>  นอกจากนี้แล้ว ทางรัฐบาลไทยในช่วงปี พ.ศ. 2515 ได้เล็งเห็นว่าควรให้กองทัพไทยควบคุมผู้อพยพแทน โดยเฉพาะเรื่องยาเสพติด และการกำหนดที่อยู่ ตลอดจนถึงเรื่องของอาชีพที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2515 รัฐบาลได้มีคำสั่งฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติเรื่องการกำหนดที่อยู่ การพัฒนาอาชีพของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ และครอบครัว รวมถึงการดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับหมู่บ้าน<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 283.</ref> และในเวลาต่อมากองทหารจีนคณะชาติดังกล่าวได้แปรสภาพกลายเป็นพลเรือนและจัดตั้งหมู่บ้านจำนวน 13 หมู่บ้านด้วยกัน ซึ่งอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในขณะเดียวกันรัฐบาลไทยติดต่อเจรจากับรัฐบาลไต้หวันในเรื่องการส่งกองทหารจีนคณะชาติตกค้างกลับ
ในหมู่บ้านของกองกำลังทหารจีนคณะชาติตกค้างนั้น มีการตั้งโรงเรียนการสอนภาษาจีนที่ดอยแม่สะลอง โดยที่ชุมชนเป็นผู้จัดการศึกษาให้กับบุตรหลานของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ โรงเรียนสอนภาษาจีนนี้สร้างเป็นเหมือนโรงเรียนประจำ มีหอพักนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง นอกจานี้ยังเปิดโอกาสให้มีนักเรียนจากต่างถิ่นเข้ามาเรียนร่วมด้วย<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 248.</ref>  ในปี พ.ศ. 2518 รัฐบาลได้มีมติเกี่ยวกับการศึกษาของเด็กที่เป็นบุตรหลานของกองทหารจีนคณะชาติ และจีนฮ่ออพยพโดยอนุโลมให้เด็กสามารถเข้าศึกษาในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน  ด้วยเหตุนี้ขึงมีการตั้งโรงเรียนราษฎรขึ้นในพื้นที่พร้อมทั้งมีการคัดเลือกเด็กชาวจีนที่เป็นชายจากหมู่บ้านดอยแม่สะลอง และถ้ำง็อบเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนชาวไทยภูเขาที่อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีการสอนภาษาไทยให้กับลูกหลานของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ นอกจานี้แล้ว กองบัญชาการทหารสูงสุดได้เสนอให้สัญชาติไทยแก่บุคคลเหล่านี้ โดยที่คณะรัฐมนตรีมีมติในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 โดยจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อพิจารณาให้สัญชาติแก่อดีตทหารจีนคณะชาติ<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 306-307.</ref>  


 
รัฐบาลไทยในปี พ.ศ. 2527 ได้มีการพิจารณาสาระสำคัญของสถานะภาพของกองทหารจีนคณะชาติหรือกองพล 93 ที่คนไทยเรียก การให้สัญชาติไทยต่อกลุ่มผู้อพยพอดีตกองทหารจีนคณะชาติให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องพิจารณาในเรื่องนี้ให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยไม่กระทำในลักษณะกรณีพิเศษเช่นที่เคยปฏิบัติมา ทั้งในระยะก่อนที่จะให้สถานภาพคนต่างด้าวและหลักจากได้รับสถานะต่างด้าวแล้ว รวมทั้งก่อนที่จะแปลงสัญชาติเป็นคนไทย ทั้งนี้โดยให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักในการแปลงสัญชาติในการแปลงสัญชาติแทนกองกองบัญชาการทหารสูงสุดที่เป็นหน่วยงานหลัก<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 131</ref>.  ซึ่ง พื้นที่บางส่วนเช่น บ้านเปียงหลวง บ้านถ้ำง็อบ อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่บนดอยแม่สะลอง บ้านแม่แอบ บ้านผาตั้ง จังหวัดเชียงราย ส่วนที่บ้านหัวลาง และบ้านนาป่าแปก จังหวัดแม่ฮ่องสอน กลายเป็นหมู่บ้านที่อยู่อาศัยของอดีตกองทหารจีนคณะชาติ หรือกองพล 93 และ[[จีนฮ่อ]]อพยพในปัจจุบันนี้
ในหมู่บ้านของกองกำลังทหารจีนคณะชาติตกค้างนั้น มีการตั้งโรงเรียนการสอนภาษาจีนที่ดอยแม่สะลอง โดยที่ชุมชนเป็นผู้จัดการศึกษาให้กับบุตรหลานของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ โรงเรียนสอนภาษาจีนนี้สร้างเป็นเหมือนโรงเรียนประจำ มีหอพักนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง นอกจานี้ยังเปิดโอกาสให้มีนักเรียนจากต่างถิ่นเข้ามาเรียนร่วมด้วย<ref>กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 248.</ref> ในปี พ.ศ. 2518 รัฐบาลได้มีมติเกี่ยวกับการศึกษาของเด็กที่เป็นบุตรหลานของกองทหารจีนคณะชาติ และจีนฮ่ออพยพโดยอนุโลมให้เด็กสามารถเข้าศึกษาในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน  ด้วยเหตุนี้ขึงมีการตั้งโรงเรียนราษฎรขึ้นในพื้นที่พร้อมทั้งมีการคัดเลือกเด็กชาวจีนที่เป็นชายจากหมู่บ้านดอยแม่สะลอง และถ้ำง็อบเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนชาวไทยภูเขาที่อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีการสอนภาษาไทยให้กับลูกหลานของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ นอกจานี้แล้ว กองบัญชาการทหารสูงสุดได้เสนอให้สัญชาติไทยแก่บุคคลเหล่านี้ โดยที่คณะรัฐมนตรีมีมติในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 โดยจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อพิจารณาให้สัญชาติแก่อดีตทหารจีนคณะชาติ
 
 
รัฐบาลไทยในปี พ.ศ. 2527 ได้มีการพิจารณาสาระสำคัญของสถานะภาพของกองทหารจีนคณะชาติหรือกองพล 93 ที่คนไทยเรียก การให้สัญชาติไทยต่อกลุ่มผู้อพยพอดีตกองทหารจีนคณะชาติให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องพิจารณาในเรื่องนี้ให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยไม่กระทำในลักษณะกรณีพิเศษเช่นที่เคยปฏิบัติมา ทั้งในระยะก่อนที่จะให้สถานภาพคนต่างด้าวและหลักจากได้รับสถานะต่างด้าวแล้ว รวมทั้งก่อนที่จะแปลงสัญชาติเป็นคนไทย ทั้งนี้โดยให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักในการแปลงสัญชาติในการแปลงสัญชาติแทนกองกองบัญชาการทหารสูงสุดที่เป็นหน่วยงานหลัก ซึ่ง พื้นที่บางส่วนเช่น บ้านเปียงหลวง บ้านถ้ำง็อบ อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่บนดอยแม่สะลอง บ้านแม่แอบ บ้านผาตั้ง จังหวัดเชียงราย ส่วนที่บ้านหัวลาง และบ้านนาป่าแปก จังหวัดแม่ฮ่องสอน กลายเป็นหมู่บ้านที่อยู่อาศัยของอดีตกองทหารจีนคณะชาติ หรือกองพล 93 และ[[จีนฮ่อ]]อพยพในปัจจุบันนี้


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>
<references/>


 
[[category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
==ดูเพิ่มเติม==
 
 
[[category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:44, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง นิติยาภรณ์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


ความเป็นมา

เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1945 สภาพทางการเมืองของเหล่าประเทศทั้งหลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เข้าสู่ยุคของการกลับเข้ามาของเจ้าอาณานิคมเดิมอีกครั้ง หากแต่ในครั้งนี้ ดินแดนที่ตกเป็นอาณานิคมได้สร้างกระบวนการต่อรองอำนาจกับบรรดาประเทศเจ้าอาณานิคมเดิม รวมไปถึงการเรียกร้องการปกครองตนเอง และขยายวงไปสู่การเรียกร้องเอกราชในที่สุด

อย่างไรก็ตามบรรดาดินแดนที่ถือว่ามีความสำคัญยิ่งต่อชาวตะวันตกคือ จีน ทั้งนี้ จีนถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่และเส้นทางยุทธศาสตร์ทางการทหาร และการรบระหว่างญี่ปุ่นกับฝ่ายของ สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ เมื่อสงครามโลกครั้งสองสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2488 สถานการณ์ในจีนในช่วงเวลาหลังจากนั้นได้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ในปี พ.ศ. 2492 พรรคอมมิวนิสต์ได้รับชัยชนะเหนือพรรคก๊ก มิน ตั๋ง โดยมีนายพล เจียง ไค เช็ค เป็นผู้นำในขณะนั้น ทำให้จีนจึงอยู่ภายใต้การปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์

เนื่องจากสภาพการณ์ดังกล่าวมาข้างต้นทำให้นายพล เจียง ไค เช็ค จำเป็นต้องถอยไปตั้งรัฐบาลใหม่ยังเกาะฟอร์โมซา (ประเทศไต้หวันในปัจจุบัน)[1] อย่างไรก็ตาม ก๊ก มิน ตั๋ง ได้วางกำลังของตนเองไว้ที่มณฑลยูนนาน 2 กองทัพด้วยกันคือ กองทัพที่ 8 และกองทัพที่ 26 ซึ่งแต่ละกองทัพประกอบด้วย 2 กองพล โดยที่กองพล 93 เป็นหน่วยหนึ่งที่ขึ้นตรงต่อกองทัพที่ 26[2] ทำหน้าที่ดูแลพื้นที่ดังกล่าวไว้เพื่อป้องกันไม่ให้กองกำลังของอีกฝ่ายไล่ตามกองกำลังที่เคลื่อนย้ายไปยังเกาะฟอร์โมซาได้ทัน ในเวลาต่อมากองทัพที่ 8 และกองทัพที่ 26 ก็ถูกกองทัพของฝ่ายพรรคคอมมิวนิสต์ตีแตกพ่ายและถอยลงมายังพื้นที่พม่าตอนบนใกล้กับพรมแดนมณฑลยูนนานของจีน กองทัพที่ 26 ได้ถูกกองกำลังของจีนคอมมิวนิสต์ตีแตกพ่ายอีกครั้งและได้ถอยร่นไปยังลาวและเวียดนาม อีกส่วนก็ถอยเข้ามายังรัฐฉานของประเทศพม่า[3] ผ่านทางรัฐฉานด้านเมืองเชียงตุง แล้วผ่านมาทางขี้เหล็กของประเทศไทย โดยมีกำลังประมาณ 1,700 คน[4] จำนวนทหารที่อยู่ในส่วนนี้ส่วนใหญ่แล้วเป็นกำลังพลที่มาจากหน่วยกองพล 93 ในปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา พม่าได้ทำการผลักดันกองกำลังของกองทัพที่ 26 ออกจากประเทศพม่า และส่วนหนึ่งเข้ามายังชายแดนไทย อย่างไรก็ดี สถานการณ์การเมืองที่เกาหลีนั้นได้สร้างความกังวลต่อนานาประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจาก[สงครามเกาหลี|[เกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้]]ในปีพ.ศ. 2493 ทำให้สหรัฐอเมริกาเกิดความวิตกกังวลต่อสถานการณ์การแพร่กระจายของคอมมิวนิสต์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มีการสร้างแนวยับยั้งคอมมิวนิสต์จากธิเบตถึงประเทศไทย และในขณะเดียวกันก็สนับสนุนทหารจีนคณะชาติในการบุกคืนสู่จีน[5]

กองพล 93 ใหม่นี้ เกิดขึ้นภายใต้การนิยามโดยพล หลี่ เหวิน ฝาน ได้กล่าวถึงเรื่องดังกล่าวนี้ว่า

  1. if:
{{#if:|
border: 1px solid #AAAAAA;

}}" class="cquote"

width="20" valign="top" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px “...กองพล 93 นั้นเป็นชื่อของกองพลหนึ่งในกองทัพแห่งชาติของจีน ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ... เมื่อเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 กองพล 93 ถูกถอนกลับหมด ... ข้าพเจ้าไม่เคยเป็นทหารประจำการอาชีพ แต่พวกข้าพเจ้าเป็นเพียงอาสาสมัคร เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตน...” width="20" valign="bottom" style="color:#B2B7F2;font-size:{{#switch: 10px=20px 30px=60px 40px=80px 50px=100px 60px=120px
{{#if:|

—{{{4}}}{{#if:|, {{{5}}}}}

}}

}}

[6]

กองพล 93 ใหม่นี้ได้ขยายกำลังเป็นกองทัพกู้ชาติ โดยมีนายพล หลี่ มี่ เป็นผู้บัญชาการ และมีกองกำลังสนับสนุนของหน่วยข่างกรองกลางของสหรัฐอเมริกา ในเวลาต่อมาได้มีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมเหล่าทหารปืนใหญ่และเหล่าเทคนิค โดยจัดตั้งขึ้นที่บ้านปงป่าแขมใกล้กับชายแดนไทย คือ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นเส้นทางในการส่งกำลังบำรุงอีกเส้นทางหนึ่งที่นอกเหนือจากเส้นทางด้านท่าตอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่[7] ในปี พ.ศ. 2496 คณะกรรมการ 4 ชาติ กำหนดให้มีการถอนกำลังทหารของจีนคณะชาติกลับไต้หวัน หลังจากปี พ.ศ. 2504 เมื่อกองบัญชาการกองทัพสนามร่วมของนายพล หลิว เหยี่ยน หลิง ที่เมืองเชียงลับ ถูกทหารผสม จีน-พม่า บุกเข้าทำลาย ทำให้ทหารจีนคณะชาติที่อยู่ในบริเวณของรัฐฉานไม่มีฐานที่มั่น ทำให้อพยพเข้ามาสู้ประเทศไทย[8]

นโยบายของไทยต่อการอพยพของกองกำลังทหารจีนคณะชาติ

นโยบายของรัฐบาลไทยที่มีต่อการอพยพเข้ามาของกองกำลังทหารจีนคณะชาตินั้นดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง นโยบายของรัฐบาลไทยก่อนและหลังจากปีพ.ศ. 2501 เป็นต้นมา ได้มีการดำเนินการส่งทหารจีนคณะชาติกลับไต้หวันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2496 และครั้งที่สอง คือ พ.ศ. 2504

อย่างไรก็ดี ในเดือนมีนาคมปีเดียวกันนี้เอง รัฐบาลไทยภายใต้การนำของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ประกาศเจตนาที่จะปฏิบัติการตามกฎหมายระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด และได้ยื่นคำขาดให้กองทหารจีนคณะชาติออกจากเขตแดนไทยภายใน 3 วัน อีกทั้งได้เตรียมกำลังเคลื่อนย้ายออกไป ในปี พ.ศ. 2505 ได้มีกองทหารจีนคณะชาติล้ำแดนเข้ามายังประเทศไทยจำนวนมาก อีกทั้งได้ตั้งฐานที่มั่นอยู่ในเขตแดนของไทย ทำให้รัฐบาลต้องประกาศนโยบายให้ปฏิบัติต่อกองทหารจันคณะชาติตามที่ได้ทำตาม[9] ได้มีการดำเนินการทางการเมืองโดยที่ทางรัฐบาลไทยพยายามเจรจากับรัฐบาลของจีนและการทหารโดยการผลักดันให้ออกนอกประเทศ โดยจะมีการปลดอาวุธและควบคุมตัวหากไม่เดินทางออกไป[10]

อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลไทยได้มีมาตราการที่ใช้กับทหารจีนคณะชาติคือการดำเนินการติดต่อกับสถานฑูตของจีนอย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับเรื่องการควบคุม และไม่ใช้เจ้าหน้าที่รัฐบาลติดต่อกับหน่วยทหารโดยตรง เพราะเกรงว่าจะกลายเป็นการรับรองฐานะของกองทหารจีนคณะชาติ ทำการปราบปรามยาเสพติด เส้นทางการลำเลียงโดยดำเนินการเป็นครั้งคราว หรือในกรณีเคลื่อนย้ายอาวุธ อันอาจเป็นภัยต่อประเทศ และดำเนินการปราบปรามและจับกุมตามความเหมาะสม[11] นอกจากนี้แล้ว ตั้งแต่หลังปี พ.ศ. 2506 เป็นต้นมา กองกำลังทหารจีนคณะชาติกองทัพที่ 3 และ 5 เข้ามาตั้งฐานปฏิบัติการเป็นการถาวรอยู่ตามบริเวณชายแดนไทย อีกทั้งหน่วยข่าวกรองของพรรคก๊ก มิน ตั๋ง ได้เข้ามาใช้พื้นที่ของประเทศไทยในการหาข่าว[12]

นโยบายต่อมาหลังจากปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมารัฐบาลมีนโยบายที่คุมเข้มต่อกลุ่มทหารจีนคณะชาติ เนื่องจากว่าในพื้นที่ชายแดนลาวกับเขตอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่ที่เกิดการปะทะกันระหว่างกลุ่มจีนฮ่อ นำโดย จาง ซี ฟู (ขุนส่า) กับกองทหารจีนคณะชาติ กองทัพที่ 3 และกองทัพที่ 5 ซึ่งในความเข้าใจของคนไทยโดยทั่วไป เห็นว่ากองทัพทั้งสองนี้คือกองพล 93 อาจจะกล่าวได้ว่านโยบายและการปฏิบัติของรัฐบาลต่อทหารจีนคณะชาติและจีนฮ่อ ระหว่างปี พ.ศ. 2506-2510 นั้นเป็นนโยบายคุมเชิงและควบคุมกองทหารจีนคณะชาติที่ตกค้างในประเทศไทย ซึ่งไม่ได้กลับประเทศไต้หวันตามโครงการส่งกลับในรอบที่สองในปี พ.ศ. 2504 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2513 บก. ทหารสูงสุดส่วนหน้าได้เปิดประชุมปัญหาทหารจีนคณะชาติที่ยังตกค้างอยู่ในประเทศไทย โดยมี พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์เป็นประธาน เนื้อหาในการประชุมคือ การที่ทหารจีนคณะชาติเป็นปัญหาเรื้อรังนานถึง 21 ปี ถึงแม้จะมีการอพยพแล้วสองครั้งคือ พ.ศ. 2496 และ พ.ศ. 2504 แต่ก็ยังพบว่ามีทหารจีนคณะชาติตกค้างอยู่ในชายแดนภาคเหนือของประเทศไทยเป็นจำนวนมาก[13]

ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2513 หลังจากที่มีการประชุมในเดือนกันยายน ปีเดียวกันได้มีมติให้กองบัญชาการทหารสูงสุดเข้าควบคุม เคลื่อนย้ายกำลังบางส่วนไปจัดตั้งหมู่บ้านผู้อพยพที่หมู่บ้านผาตั้ง บนดอยผาหม่น และที่บ้านแม่แอบ บนดอยหลวง ทั้งนี้มติดังกล่าวได้อนุญาตให้กองทหารจีนคณะชาติที่ตกค้างมีอาวุธป้องกันตนเองได้ไประยะหนึ่งก่อน นอกจากนี้แล้วรัฐบาลไทยในช่วงเวลาดังกล่าวได้ยอมรับสถานะของกองกำลังจีนคณะชาติที่ตกค้างให้อยู่ในสถานะผู้อพยพ รวมถึงจัดสถานที่พักให้เป็นหลักแหล่ง อีกทั้งมีการพัฒนาอาชีพและความรู้โดยอบู่ภายใต้การดูแลของกองบัญชาการทหารสูงสุด[14] นอกจากนี้แล้ว ทางรัฐบาลไทยในช่วงปี พ.ศ. 2515 ได้เล็งเห็นว่าควรให้กองทัพไทยควบคุมผู้อพยพแทน โดยเฉพาะเรื่องยาเสพติด และการกำหนดที่อยู่ ตลอดจนถึงเรื่องของอาชีพที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2515 รัฐบาลได้มีคำสั่งฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติเรื่องการกำหนดที่อยู่ การพัฒนาอาชีพของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ และครอบครัว รวมถึงการดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับหมู่บ้าน[15] และในเวลาต่อมากองทหารจีนคณะชาติดังกล่าวได้แปรสภาพกลายเป็นพลเรือนและจัดตั้งหมู่บ้านจำนวน 13 หมู่บ้านด้วยกัน ซึ่งอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในขณะเดียวกันรัฐบาลไทยติดต่อเจรจากับรัฐบาลไต้หวันในเรื่องการส่งกองทหารจีนคณะชาติตกค้างกลับ

ในหมู่บ้านของกองกำลังทหารจีนคณะชาติตกค้างนั้น มีการตั้งโรงเรียนการสอนภาษาจีนที่ดอยแม่สะลอง โดยที่ชุมชนเป็นผู้จัดการศึกษาให้กับบุตรหลานของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ โรงเรียนสอนภาษาจีนนี้สร้างเป็นเหมือนโรงเรียนประจำ มีหอพักนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง นอกจานี้ยังเปิดโอกาสให้มีนักเรียนจากต่างถิ่นเข้ามาเรียนร่วมด้วย[16] ในปี พ.ศ. 2518 รัฐบาลได้มีมติเกี่ยวกับการศึกษาของเด็กที่เป็นบุตรหลานของกองทหารจีนคณะชาติ และจีนฮ่ออพยพโดยอนุโลมให้เด็กสามารถเข้าศึกษาในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน ด้วยเหตุนี้ขึงมีการตั้งโรงเรียนราษฎรขึ้นในพื้นที่พร้อมทั้งมีการคัดเลือกเด็กชาวจีนที่เป็นชายจากหมู่บ้านดอยแม่สะลอง และถ้ำง็อบเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนชาวไทยภูเขาที่อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีการสอนภาษาไทยให้กับลูกหลานของกองทหารจีนคณะชาติอพยพ นอกจานี้แล้ว กองบัญชาการทหารสูงสุดได้เสนอให้สัญชาติไทยแก่บุคคลเหล่านี้ โดยที่คณะรัฐมนตรีมีมติในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 โดยจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อพิจารณาให้สัญชาติแก่อดีตทหารจีนคณะชาติ[17]

รัฐบาลไทยในปี พ.ศ. 2527 ได้มีการพิจารณาสาระสำคัญของสถานะภาพของกองทหารจีนคณะชาติหรือกองพล 93 ที่คนไทยเรียก การให้สัญชาติไทยต่อกลุ่มผู้อพยพอดีตกองทหารจีนคณะชาติให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องพิจารณาในเรื่องนี้ให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยไม่กระทำในลักษณะกรณีพิเศษเช่นที่เคยปฏิบัติมา ทั้งในระยะก่อนที่จะให้สถานภาพคนต่างด้าวและหลักจากได้รับสถานะต่างด้าวแล้ว รวมทั้งก่อนที่จะแปลงสัญชาติเป็นคนไทย ทั้งนี้โดยให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักในการแปลงสัญชาติในการแปลงสัญชาติแทนกองกองบัญชาการทหารสูงสุดที่เป็นหน่วยงานหลัก[18]. ซึ่ง พื้นที่บางส่วนเช่น บ้านเปียงหลวง บ้านถ้ำง็อบ อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่บนดอยแม่สะลอง บ้านแม่แอบ บ้านผาตั้ง จังหวัดเชียงราย ส่วนที่บ้านหัวลาง และบ้านนาป่าแปก จังหวัดแม่ฮ่องสอน กลายเป็นหมู่บ้านที่อยู่อาศัยของอดีตกองทหารจีนคณะชาติ หรือกองพล 93 และจีนฮ่ออพยพในปัจจุบันนี้

อ้างอิง

  1. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, พ.อ., ก๊กมินตั๋ง ทหารจีนคณะชาติตกค้างภาคเหนือประเทศไทย (เชียงใหม่: สยามรัตน พริ้นติ้ง, 2546), หน้า 29
  2. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 29.
  3. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 29.
  4. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, บทนำ.
  5. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 34.
  6. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 39.
  7. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 41.
  8. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 7, 53.
  9. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 101.
  10. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 99.
  11. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 103.
  12. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 106.
  13. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 124-125.
  14. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 125.
  15. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 283.
  16. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 248.
  17. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 306-307.
  18. กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, เืรื่องเดียวกัน, หน้า 131