ผลต่างระหว่างรุ่นของ "1 มกราคม พ.ศ. 2504"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุต...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2504 ได้มีการประกาศใช้[[แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแผนแรก]]ในประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้เป็นแผนพัฒนาฉบับเดียวของประเทศที่เป็นแผน 6 ปี จาก พ.ศ. 2504 ถึง พ.ศ. 2509 โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง เป็นเวลาช่วงละ 3 ปี คือ ช่วงแรก พ.ศ. 2504 ถึง พ.ศ. 2506 และช่วงที่ 2 จาก พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2509 และเป็นแผนพัฒนาฉบับเดียวที่มีชื่อเพียงแค่แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ แผนฉบับต่อมามีชื่อขยายเพิ่มเรียกว่า[[แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2504 ได้มีการประกาศใช้[[แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแผนแรก]]ในประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้เป็นแผนพัฒนาฉบับเดียวของประเทศที่เป็นแผน 6 ปี จาก พ.ศ. 2504 ถึง พ.ศ. 2509 โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง เป็นเวลาช่วงละ 3 ปี คือ ช่วงแรก พ.ศ. 2504 ถึง พ.ศ. 2506 และช่วงที่ 2 จาก พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2509 และเป็นแผนพัฒนาฉบับเดียวที่มีชื่อเพียงแค่แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ แผนฉบับต่อมามีชื่อขยายเพิ่มเรียกว่า[[แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]


ในปี พ.ศ. 2504 เมื่อแรกประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับแรกนี้ [[นายกรัฐมนตรี]]คือ [[จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์]] ซึ่งเป็นผู้นำคณะทหารที่ปกครองประเทศไทยโดยมีฐานทางกองทัพสนับสนุน เป็นเวลาที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และคณะทหารปิดกั้นทางการเมือง ปกครองประเทศโดยอาศัยธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรที่มีอยู่เพียง 20 มาตราเป็นกติกาในการปกครอง และธรรมนูญฉบับนี้ก็มีมาตรา 17 ที่ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการสั่งการต่าง ๆ ได้รวมทั้งสั่งประหารชีวิตผู้ต้องหา
ในปี พ.ศ. 2504 เมื่อแรกประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับแรกนี้ [[นายกรัฐมนตรี]]คือ [[สฤษดิ์  ธนะรัชต์|จอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์]] ซึ่งเป็นผู้นำคณะทหารที่ปกครองประเทศไทยโดยมีฐานทางกองทัพสนับสนุน เป็นเวลาที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และคณะทหารปิดกั้นทางการเมือง ปกครองประเทศโดยอาศัยธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรที่มีอยู่เพียง 20 มาตราเป็นกติกาในการปกครอง และธรรมนูญฉบับนี้ก็มีมาตรา 17 ที่ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการสั่งการต่าง ๆ ได้รวมทั้งสั่งประหารชีวิตผู้ต้องหา


อันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนี้ทุกประเทศไม่ได้มีใช้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศทุนนิยมสำคัญ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา หรือสหราชอาณาจักรก็ไม่มีกำหนดแผนกลางของประเทศอย่างนี้ เพราะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นแผนกลางอย่างนี้ ประเทศตัวตั้งตัวตีที่เอามาใช้ประเทศแรกก็คือสหภาพโซเวียต ที่เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ประเทศแรกในโลก ตั้งแต่ พ.ศ. 2471 โดยเป็นการวางแผนที่ส่วนกลางในการจัดลำดับความสำคัญว่าจะพัฒนาเศรษฐกิจในด้านใดและเรื่องอะไรก่อน เพราะทรัพยากรที่จะต้องเอามาใช้ในการพัฒนาประเทศมีอยู่จำกัด
อันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนี้ทุกประเทศไม่ได้มีใช้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศทุนนิยมสำคัญ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา หรือสหราชอาณาจักรก็ไม่มีกำหนดแผนกลางของประเทศอย่างนี้ เพราะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นแผนกลางอย่างนี้ ประเทศตัวตั้งตัวตีที่เอามาใช้ประเทศแรกก็คือสหภาพโซเวียต ที่เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ประเทศแรกในโลก ตั้งแต่ พ.ศ. 2471 โดยเป็นการวางแผนที่ส่วนกลางในการจัดลำดับความสำคัญว่าจะพัฒนาเศรษฐกิจในด้านใดและเรื่องอะไรก่อน เพราะทรัพยากรที่จะต้องเอามาใช้ในการพัฒนาประเทศมีอยู่จำกัด
บรรทัดที่ 14: บรรทัดที่ 14:
การที่จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ นายทหารที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์มากรับเอาความคิดให้มีการวางแผนที่ส่วนกลางกำหนดเรื่องเศรษฐกิจเช่นนี้มิใช่ว่าจะชอบการบริหารแบบคอมมิวนิสต์ หากแต่ต้องการแสดงให้เห็นว่าไทยให้ความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและมีการวางแผนเป็นระบบ ซึ่งจะเป็นตัวช่วยในการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศมาใช้สนับสนุนการดำเนินงานของรัฐบาล ปรากฏว่าใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มาได้เกือบครบ 3 ปี อันเป็นระยะเวลาครึ่งหนึ่งของแผน จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ ก็เสียชีวิตไป
การที่จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ นายทหารที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์มากรับเอาความคิดให้มีการวางแผนที่ส่วนกลางกำหนดเรื่องเศรษฐกิจเช่นนี้มิใช่ว่าจะชอบการบริหารแบบคอมมิวนิสต์ หากแต่ต้องการแสดงให้เห็นว่าไทยให้ความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและมีการวางแผนเป็นระบบ ซึ่งจะเป็นตัวช่วยในการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศมาใช้สนับสนุนการดำเนินงานของรัฐบาล ปรากฏว่าใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มาได้เกือบครบ 3 ปี อันเป็นระยะเวลาครึ่งหนึ่งของแผน จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์ ก็เสียชีวิตไป


แผนพัฒนาฯ ช่วงที่ 2 จึงดำเนินต่อมาภายใต้การนำของ[[รัฐบาล]]ที่มี[[จอมพลถนอม กิตติขจร]] เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็เป็นรัฐบาลที่ไม่ได้มาสู่อำนาจตามระบอบประชาธิปไตย แต่เป็นรัฐบาลที่สืบทอดอำนาจมาจากคณะทหารชุดเดียวกันกับคณะของจอมพลสฤษดิ์  อย่างไรก็ตามการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้ก็เป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ดี
แผนพัฒนาฯ ช่วงที่ 2 จึงดำเนินต่อมาภายใต้การนำของ[[รัฐบาล]]ที่มี[[ถนอม กิตติขจร|จอมพลถนอม กิตติขจร]] เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็เป็นรัฐบาลที่ไม่ได้มาสู่อำนาจตามระบอบประชาธิปไตย แต่เป็นรัฐบาลที่สืบทอดอำนาจมาจากคณะทหารชุดเดียวกันกับคณะของจอมพลสฤษดิ์  อย่างไรก็ตามการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้ก็เป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ดี


[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:54, 16 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2504 ได้มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแผนแรกในประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้เป็นแผนพัฒนาฉบับเดียวของประเทศที่เป็นแผน 6 ปี จาก พ.ศ. 2504 ถึง พ.ศ. 2509 โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง เป็นเวลาช่วงละ 3 ปี คือ ช่วงแรก พ.ศ. 2504 ถึง พ.ศ. 2506 และช่วงที่ 2 จาก พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2509 และเป็นแผนพัฒนาฉบับเดียวที่มีชื่อเพียงแค่แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ แผนฉบับต่อมามีชื่อขยายเพิ่มเรียกว่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ในปี พ.ศ. 2504 เมื่อแรกประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับแรกนี้ นายกรัฐมนตรีคือ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นผู้นำคณะทหารที่ปกครองประเทศไทยโดยมีฐานทางกองทัพสนับสนุน เป็นเวลาที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และคณะทหารปิดกั้นทางการเมือง ปกครองประเทศโดยอาศัยธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรที่มีอยู่เพียง 20 มาตราเป็นกติกาในการปกครอง และธรรมนูญฉบับนี้ก็มีมาตรา 17 ที่ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการสั่งการต่าง ๆ ได้รวมทั้งสั่งประหารชีวิตผู้ต้องหา

อันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนี้ทุกประเทศไม่ได้มีใช้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศทุนนิยมสำคัญ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา หรือสหราชอาณาจักรก็ไม่มีกำหนดแผนกลางของประเทศอย่างนี้ เพราะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นแผนกลางอย่างนี้ ประเทศตัวตั้งตัวตีที่เอามาใช้ประเทศแรกก็คือสหภาพโซเวียต ที่เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ประเทศแรกในโลก ตั้งแต่ พ.ศ. 2471 โดยเป็นการวางแผนที่ส่วนกลางในการจัดลำดับความสำคัญว่าจะพัฒนาเศรษฐกิจในด้านใดและเรื่องอะไรก่อน เพราะทรัพยากรที่จะต้องเอามาใช้ในการพัฒนาประเทศมีอยู่จำกัด

การที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายทหารที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์มากรับเอาความคิดให้มีการวางแผนที่ส่วนกลางกำหนดเรื่องเศรษฐกิจเช่นนี้มิใช่ว่าจะชอบการบริหารแบบคอมมิวนิสต์ หากแต่ต้องการแสดงให้เห็นว่าไทยให้ความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและมีการวางแผนเป็นระบบ ซึ่งจะเป็นตัวช่วยในการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศมาใช้สนับสนุนการดำเนินงานของรัฐบาล ปรากฏว่าใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มาได้เกือบครบ 3 ปี อันเป็นระยะเวลาครึ่งหนึ่งของแผน จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็เสียชีวิตไป

แผนพัฒนาฯ ช่วงที่ 2 จึงดำเนินต่อมาภายใต้การนำของรัฐบาลที่มีจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็เป็นรัฐบาลที่ไม่ได้มาสู่อำนาจตามระบอบประชาธิปไตย แต่เป็นรัฐบาลที่สืบทอดอำนาจมาจากคณะทหารชุดเดียวกันกับคณะของจอมพลสฤษดิ์ อย่างไรก็ตามการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้ก็เป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ดี