ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:บทความล่าสุด"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''[[“13 ความลับ” และสันติวิธีในสังคมไทย]]'''
[[แนวทางในการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันการเมืองของไทย : ศึกษากรณีรัฐสภา]]


นับตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2553 เมื่อ “คนเสื้อแดง” หรือกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ประกาศระดมพลเพื่อจัดการชุมนุมใหญ่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ผู้คนในสังคม โดยเฉพาะที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองหลวง ต่างพากันตื่นตัว เฝ้าติดตามปรากฏการณ์ทางการเมืองครั้งสำคัญนี้ด้วยความห่วงใย ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน จำนวน 1,134 คน ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลโดยสวนดุสิตโพล พบว่าเหตุการณ์การชุมนุมส่งผลให้ผู้คนกว่าร้อยละ 51 ติดตามข่าวสารจากสื่อต่างๆ เพิ่มขึ้น ในจำนวนนี้ ร้อยละ 40 รู้สึกเครียดมากเพราะเป็นห่วงบ้านเมือง ขณะที่อีกร้อยละ 33 รู้สึกกังวลเพราะไม่รู้ว่าสถานการณ์บ้านเมืองจะจบลงอย่างไร ท่ามกลางบรรยากาศอันตึงเครียด ทั้งรัฐบาลและกลุ่มผู้ชุมนุมต่างคอยตอกย้ำจุดยืนและอ้างความชอบธรรมของตนผ่านแนวทางสันติวิธี เช่นเดียวกันกับอีกหลากหลายกลุ่มในสังคมที่ทยอยกันออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายต่างๆ ไม่ใช้ความรุนแรงต่อกัน สันติวิธีกลายเป็นคำที่ได้รับความสนใจจากสังคมไทยอย่างกว้างขวาง หากความสนใจดังกล่าวอาจมาพร้อมกับความไม่แน่ใจและสับสนว่าสันติวิธีคืออะไรแน่ หรือทำอะไรได้บ้าง [[“13 ความลับ” และสันติวิธีในสังคมไทย| อ่านต่อ...]]
จากผลการศึกษาของคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) เห็นว่า ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยนั้นมีหลายมิติ สรุปก็คือ ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ ด้านสิทธิ ด้านโอกาส ด้านอำนาจและด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และเห็นว่า ในประเทศไทย หากจัดประชากรออกเป็น ๕ กลุ่มตามรายได้และการถือครองทรัพย์สิน ปรากฏว่ากลุ่มบนสุดมีทรัพย์สินครัวเรือนถึงร้อยละ ๖๙ ในขณะที่กลุ่มคนต่ำสุดมีทรัพย์สินครัวเรือนอยู่ที่ร้อยละ ๑ เท่านั้น ส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มรวยสุดมีถึง ร้อยละ ๕๕ ในขณะที่กลุ่มจนสุดมีส่วนแบ่งเพียงร้อยละ ๔.๔ เท่านั้น[[แนวทางในการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันการเมืองของไทย : ศึกษากรณีรัฐสภา| อ่านต่อ...]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:57, 18 กรกฎาคม 2555

แนวทางในการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันการเมืองของไทย : ศึกษากรณีรัฐสภา

จากผลการศึกษาของคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) เห็นว่า ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยนั้นมีหลายมิติ สรุปก็คือ ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ ด้านสิทธิ ด้านโอกาส ด้านอำนาจและด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และเห็นว่า ในประเทศไทย หากจัดประชากรออกเป็น ๕ กลุ่มตามรายได้และการถือครองทรัพย์สิน ปรากฏว่ากลุ่มบนสุดมีทรัพย์สินครัวเรือนถึงร้อยละ ๖๙ ในขณะที่กลุ่มคนต่ำสุดมีทรัพย์สินครัวเรือนอยู่ที่ร้อยละ ๑ เท่านั้น ส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มรวยสุดมีถึง ร้อยละ ๕๕ ในขณะที่กลุ่มจนสุดมีส่วนแบ่งเพียงร้อยละ ๔.๔ เท่านั้น อ่านต่อ...