ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา"
สร้างหน้าใหม่: คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ผู้เรียบเรียง นางสาวธีรพ... |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา | คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา | ||
ผู้เรียบเรียง | ผู้เรียบเรียง | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' นางสาวธีรพรรณ ใจมั่น | |||
---- | |||
==คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา== | |||
วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 150 คน แบ่งออกเป็น | วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 150 คน แบ่งออกเป็น | ||
1. มาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด 76 คน ตามมาตรา 112 วรรคหนึ่ง | 1. มาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด 76 คน ตามมาตรา 112 วรรคหนึ่ง | ||
2. มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน ทั้งนี้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหา จะมีจำนวนเท่ากับจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด (150 คน) หักด้วย จำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในจังหวัด ๆ ละ 1 คน (ตามมาตรา 111 วรรคหนึ่ง) โดยการสรรหาของคณะกรรมการสรรหา เรียกว่า "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา" | 2. มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน ทั้งนี้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหา จะมีจำนวนเท่ากับจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด (150 คน) หักด้วย จำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในจังหวัด ๆ ละ 1 คน (ตามมาตรา 111 วรรคหนึ่ง) โดยการสรรหาของคณะกรรมการสรรหา เรียกว่า "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา" | ||
องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วย | ==องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วย== | ||
1. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ | 1. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ | ||
2. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง | 2. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง | ||
บรรทัดที่ 18: | บรรทัดที่ 23: | ||
การดำเนินการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา | ==การดำเนินการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา== | ||
1. คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ทำหน้าที่สรรหาบุคคลให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ตามมาตรา 113 วรรคหนึ่ง) | 1. คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ทำหน้าที่สรรหาบุคคลให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ตามมาตรา 113 วรรคหนึ่ง) | ||
2. ให้คณะกรรมการรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรต่าง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพและภาคอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาเป็นสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 114 วรรคหนึ่ง) | 2. ให้คณะกรรมการรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรต่าง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพและภาคอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาเป็นสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 114 วรรคหนึ่ง) | ||
3. ในการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ โอกาสและความเท่าเทียมกันทางเพศ รวมทั้งการให้โอกาสกับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม (มาตรา 114 วรรคสอง) | 3. ในการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ โอกาสและความเท่าเทียมกันทางเพศ รวมทั้งการให้โอกาสกับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม (มาตรา 114 วรรคสอง) | ||
ที่มา | ==ที่มา== | ||
1. รัฐธรรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 | 1. รัฐธรรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 | ||
2. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง วุฒิสภา โดย กลุ่มงานผลิตเอกสารเผยแพร่ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา | 2. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง วุฒิสภา โดย กลุ่มงานผลิตเอกสารเผยแพร่ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:21, 12 กันยายน 2553
คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา
ผู้เรียบเรียง
ผู้เรียบเรียง นางสาวธีรพรรณ ใจมั่น
คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา
วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 150 คน แบ่งออกเป็น 1. มาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด 76 คน ตามมาตรา 112 วรรคหนึ่ง 2. มาจากการสรรหา จำนวน 74 คน ทั้งนี้สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหา จะมีจำนวนเท่ากับจำนวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด (150 คน) หักด้วย จำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในจังหวัด ๆ ละ 1 คน (ตามมาตรา 111 วรรคหนึ่ง) โดยการสรรหาของคณะกรรมการสรรหา เรียกว่า "คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา"
องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ประกอบด้วย
1. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 2. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง 3. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน 4. ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 5. ประธานกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน 6. ผู้พิพากษาในศาลฏีกา ซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฏีกาที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฏีกามอบหมาย จำนวน 1 คน 7. ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย จำนวน 1 คน
การดำเนินการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา
1. คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ทำหน้าที่สรรหาบุคคลให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ตามมาตรา 113 วรรคหนึ่ง) 2. ให้คณะกรรมการรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรต่าง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพและภาคอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภาเป็นสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 114 วรรคหนึ่ง) 3. ในการพิจารณาสรรหาของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ โอกาสและความเท่าเทียมกันทางเพศ รวมทั้งการให้โอกาสกับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม (มาตรา 114 วรรคสอง)
ที่มา
1. รัฐธรรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 2. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง วุฒิสภา โดย กลุ่มงานผลิตเอกสารเผยแพร่ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา