ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Ekkachais (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอด...
 
Ekkachais (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอดีต  สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ
'''การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน''' : บทเรียนจากอดีต  สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ


โดย นางสาวปัทมา สูบกำปัง  
โดย นางสาวปัทมา สูบกำปัง  


หลักการกับบทเรียนการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน
หลักการกับบทเรียนการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน


ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐสภาเป็นสถาบันที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่พิจารณา และให้ความ
ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐสภาเป็นสถาบันที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่พิจารณา และให้ความเห็นชอบร่างกฎหมาย เพื่อบังคับใช้ในสังคม หรือเป็นองค์กรนิติบัญญัติ ตามทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยที่นานาอารยะประเทศยอมรับ อย่างไรก็ตาม การแสดงบทบาทอำนาจหน้าที่ของรัฐสภามีข้อจำกัดและอาจไม่สอดคล้องหรือไม่สนองตอบต่อความต้องการของประชาชนได้ครบทุกกลุ่ม ทุกคน  ดังนั้น การกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิ เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายที่เห็นว่าจำเป็นและเกี่ยวข้องกับกลุ่มตนได้นั้น  จึงเป็นการให้สิทธิประชาชน มีส่วนร่วมทางการเมืองตามหลักการของ  “ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม” (Participatory Democracy) อันจะช่วยในการอุดช่องหรือเป็นส่วนเสริมให้ “ประชาธิปไตยทางผู้แทน” (Representative Democracy) นั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้นสิทธิในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชน ได้รับการรับรองเป็นครั้งแรก โดย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ.2542  และเมื่อประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ยังคงรับรองยืนยันสิทธิในการมีส่วนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ ในมาตรา 163  
เห็นชอบร่างกฎหมาย เพื่อบังคับใช้ในสังคม หรือเป็นองค์กรนิติบัญญัติ ตามทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยที่
นานาอารยะประเทศยอมรับ อย่างไรก็ตาม การแสดงบทบาทอำนาจหน้าที่ของรัฐสภามีข้อจำกัดและอาจไม่สอดคล้องหรือไม่สนองตอบต่อความต้องการของประชาชนได้ครบทุกกลุ่ม ทุกคน  ดังนั้น การกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิ เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายที่เห็นว่าจำเป็นและเกี่ยวข้องกับกลุ่มตนได้นั้น  จึงเป็นการให้สิทธิประชาชน มีส่วนร่วมทางการเมืองตามหลักการของ  “ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม” (Participatory Democracy) อันจะช่วยในการอุดช่องหรือเป็นส่วนเสริมให้ “ประชาธิปไตยทางผู้แทน” (Representative Democracy) นั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้นสิทธิในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชน ได้รับการรับรองเป็นครั้งแรก โดย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ.2542  และเมื่อประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ยังคงรับรองยืนยันสิทธิในการมีส่วนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ ในมาตรา 163  


จากปีพ.ศ.2540 ถึงปัจจุบัน พบว่าประชาชนตื่นตัวและรวมตัวกันเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายจำนวนมากถึง 16 ฉบับ โดยที่เป็นการเสนอจากผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 50,000 คน ต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยตรง 10 ฉบับ และผู้ริเริ่มเข้าชื่อยื่นคำร้องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย อีก 6 ฉบับ   
จากปีพ.ศ.2540 ถึงปัจจุบัน พบว่าประชาชนตื่นตัวและรวมตัวกันเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายจำนวนมากถึง 16 ฉบับ โดยที่เป็นการเสนอจากผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 50,000 คน ต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยตรง 10 ฉบับ และผู้ริเริ่มเข้าชื่อยื่นคำร้องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย อีก 6 ฉบับ   
บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 11:
จำนวนมาก คือ รายชื่อไม่ครบตามจำนวนที่กำหนด หรือเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ทำให้ต้องจำหน่ายเรื่อง  และบางส่วนชื่อไม่ครบก็ขอถอนเรื่องออกไป  รวมทั้งต้องตกไปเพราะอายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุด  มีการยุบสภา หรือเป็นร่างกฎหมายที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามหมวด 3 และหมวด 5 โดยสรุป  มีร่างกฎหมายเพียง 2 ฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....  และร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา  แต่มีผลบังคับใช้เพียงฉบับเดียว คือพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550  ส่วนร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... นั้น แม้ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ แต่ไม่มีผลบังคับใช้  เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ชี้ขาดว่าตราขึ้นโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
จำนวนมาก คือ รายชื่อไม่ครบตามจำนวนที่กำหนด หรือเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ทำให้ต้องจำหน่ายเรื่อง  และบางส่วนชื่อไม่ครบก็ขอถอนเรื่องออกไป  รวมทั้งต้องตกไปเพราะอายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุด  มีการยุบสภา หรือเป็นร่างกฎหมายที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามหมวด 3 และหมวด 5 โดยสรุป  มีร่างกฎหมายเพียง 2 ฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....  และร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา  แต่มีผลบังคับใช้เพียงฉบับเดียว คือพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550  ส่วนร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... นั้น แม้ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ แต่ไม่มีผลบังคับใช้  เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ชี้ขาดว่าตราขึ้นโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ


    กล่าวโดยสรุป แม้ว่าร่างพระราชบัญญัติของภาคประชาชนทั้งสองฉบับดังกล่าวจะได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งเป็นสภาที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเช่นเดียวกัน และร่างกฎหมาย ทั้งสองฉบับต่างดำเนินการโดยเครือข่ายภาคประชาชนที่เข้มแข็ง มีการศึกษาวิจัยรองรับและมีการรับฟังความคิดเห็นประชาชนอย่างกว้างขวาง แต่มีความแตกต่างกันในส่วนของแรงสนับสนุนจากฝ่ายการเมือง  ผู้แทนการเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... คือ นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป ซึ่งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์  เป็นแกนนำหลักในการผลักดันร่างพระราชบัญญัตินี้  ในขณะที่ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ....  ใช้เวลากว่า 8 ปีนับจากวันเสนอร่างพระราชบัญญัติฯ ถึงวันที่สภานิติบัญญัติให้ความเห็นชอบ  ใช้ระยะเวลาสำหรับการตรวจสอบเอกสารหลักฐานก่อนรับเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภานานเป็นปีกว่า  ยิ่งไปกว่านั้น  การให้ความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็เกิดเป็นประเด็นโต้แย้งจากกลุ่มแกนนำและเครือข่ายป่าชุมชนว่าบิดเบือนเจตนารมณ์ของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย  ดังนั้น จึงมีการเสนอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว  และในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยชี้ขาดว่ากระบวนการตราร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... เป็นไปโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ  จึงไม่สามารถบังคับใช้ได้  กรณีการเสนอร่างกฎหมายของประชาชนสอดคล้องกับนโยบายหรือความต้องการของรัฐบาลแม้ร่างกฎหมายของประชาชนจะไม่ได้รับการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่จะเป็นแรงกระตุ้นหรือผลักดันให้รัฐบาลเร่งเสนอร่างกฎหมายให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นเรื่องด่วน  โดยให้  เหตุผลว่าต้องเร่งดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ไม่อาจรอเรื่องไว้จนกว่ากระบวนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนเสร็จสิ้นได้ เช่นที่เกิดขึ้นกับกรณีร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....
กล่าวโดยสรุป แม้ว่าร่างพระราชบัญญัติของภาคประชาชนทั้งสองฉบับดังกล่าวจะได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งเป็นสภาที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเช่นเดียวกัน และร่างกฎหมาย ทั้งสองฉบับต่างดำเนินการโดยเครือข่ายภาคประชาชนที่เข้มแข็ง มีการศึกษาวิจัยรองรับและมีการรับฟังความคิดเห็นประชาชนอย่างกว้างขวาง แต่มีความแตกต่างกันในส่วนของแรงสนับสนุนจากฝ่ายการเมือง  ผู้แทนการเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... คือ นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป ซึ่งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์  เป็นแกนนำหลักในการผลักดันร่างพระราชบัญญัตินี้  ในขณะที่ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ....  ใช้เวลากว่า 8 ปีนับจากวันเสนอร่างพระราชบัญญัติฯ ถึงวันที่สภานิติบัญญัติให้ความเห็นชอบ  ใช้ระยะเวลาสำหรับการตรวจสอบเอกสารหลักฐานก่อนรับเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภานานเป็นปีกว่า  ยิ่งไปกว่านั้น  การให้ความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็เกิดเป็นประเด็นโต้แย้งจากกลุ่มแกนนำและเครือข่ายป่าชุมชนว่าบิดเบือนเจตนารมณ์ของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย  ดังนั้น จึงมีการเสนอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว  และในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยชี้ขาดว่ากระบวนการตราร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... เป็นไปโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ  จึงไม่สามารถบังคับใช้ได้  กรณีการเสนอร่างกฎหมายของประชาชนสอดคล้องกับนโยบายหรือความต้องการของรัฐบาลแม้ร่างกฎหมายของประชาชนจะไม่ได้รับการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่จะเป็นแรงกระตุ้นหรือผลักดันให้รัฐบาลเร่งเสนอร่างกฎหมายให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นเรื่องด่วน  โดยให้  เหตุผลว่าต้องเร่งดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ไม่อาจรอเรื่องไว้จนกว่ากระบวนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนเสร็จสิ้นได้ เช่นที่เกิดขึ้นกับกรณีร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....
        จากกรณีศึกษาทั้ง 3 กรณีดังกล่าวข้างต้นจึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าปัจจัยความสำเร็จในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชนนั้น  คือการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนที่เข้มแข็ง และที่สำคัญอีกส่วนคือการยอมรับและการสนับสนุนจากภาครัฐหรือฝ่ายการเมือง  การผนึกกำลังของทั้งสองภาคส่วนนี้ นอกจากช่วยทำให้เกิดการเสนอ การพิจารณาและการอนุมัติร่างกฎหมายแล้ว  ยังมีผลดีในด้านที่กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและ ส่วนรวม เพราะผ่านการพิจารณาจากฝ่ายต่างๆ ทั้งภาครัฐและประชาชน  อันเป็นผลดีต่อเนื่องไปถึงการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย ในทางกลับกันแม้ว่าร่างกฎหมายที่ประชาชนเสนอนั้น จะผ่านกระบวนการต่างๆ เข้าสู่การพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก็ตาม แต่หากเนื้อหาสาระของร่างกฎหมายถูกปรับเปลี่ยน แก้ไข  เพิ่มเติมหรือตัดออกจนไม่เหลือความต้องการของประชาชน  เช่นนี้คงไม่อาจเรียกกฎหมายที่ออกมาบังคับใช้ได้ว่าเป็นกฎหมายของประชาชน  ดังเช่นกรณีร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน ซึ่งหากยังคงประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย  นอกจากประชาชนจะไม่ให้ความยอมรับและปฏิบัติตามแล้ว อาจถึงขั้นต่อต้านกฎหมายดังกล่าวเลยก็เป็นได้


    จากการศึกษาพบว่าในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนนั้น มีปัญหาอุปสรรคซึ่งเป็นบทเรียนที่จำต้องนำมาเป็นข้อมูลเพื่อพัฒนาแนวทาง และกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับ รองรับ เพื่อให้การใช้สิทธิมีส่วนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นไปได้จริงในทางปฏิบัติ โดยสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มากที่สุด ดังนี้  
จากกรณีศึกษาทั้ง 3 กรณีดังกล่าวข้างต้นจึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าปัจจัยความสำเร็จในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชนนั้น คือการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนที่เข้มแข็ง และที่สำคัญอีกส่วนคือการยอมรับและการสนับสนุนจากภาครัฐหรือฝ่ายการเมือง การผนึกกำลังของทั้งสองภาคส่วนนี้ นอกจากช่วยทำให้เกิดการเสนอ การพิจารณาและการอนุมัติร่างกฎหมายแล้ว ยังมีผลดีในด้านที่กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและ ส่วนรวม เพราะผ่านการพิจารณาจากฝ่ายต่างๆ ทั้งภาครัฐและประชาชน อันเป็นผลดีต่อเนื่องไปถึงการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย ในทางกลับกันแม้ว่าร่างกฎหมายที่ประชาชนเสนอนั้น จะผ่านกระบวนการต่างๆ เข้าสู่การพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก็ตาม แต่หากเนื้อหาสาระของร่างกฎหมายถูกปรับเปลี่ยน แก้ไข   เพิ่มเติมหรือตัดออกจนไม่เหลือความต้องการของประชาชน   เช่นนี้คงไม่อาจเรียกกฎหมายที่ออกมาบังคับใช้ได้ว่าเป็นกฎหมายของประชาชน ดังเช่นกรณีร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน ซึ่งหากยังคงประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย นอกจากประชาชนจะไม่ให้ความยอมรับและปฏิบัติตามแล้ว อาจถึงขั้นต่อต้านกฎหมายดังกล่าวเลยก็เป็นได้
    1. ต้องรวบรวมรายชื่อจำนวนมาก และต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบรายชื่อ ซึ่งหากผิดพลาดเล็กน้อย เช่น พิมพ์ชื่อผิด เลขที่บัตรประชาชนผิด หรือเอกสารไม่ถูกต้องจะถูกตัดชื่อออก
    2. หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อค่อนข้างยุ่งยาก ซับซ้อน และมีกระบวนการที่ยาวนาน ปราศจากกรอบเวลาดำเนินการ  แม้รัฐธรรมนูญกำหนดเพียงหลักเกณฑ์สำคัญไว้  แต่กฎหมาย  ระเบียบ กฎเกณฑ์ที่ออกมารองรับ รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชนอย่างแท้จริง
    3. ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระและวิธีการร่างกฎหมาย เนื่องจากการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายต้องแนบร่างพระราชบัญญัติซึ่งดำเนินการโดยถูกต้องตามรูปแบบของร่างพระราชบัญญัติ   กล่าวคือ มีหลักการเหตุผลประกอบ และมีการแบ่งหมวดหมู่และรายมาตราเพียงพอที่จะเข้าใจได้   การร่างพระราชบัญญัตินั้นจำเป็นต้องดำเนินการโดยผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อีกทั้งต้องมีประสบการณ์ในด้านนี้ด้วย ทำให้เป็นข้อจำกัดอันเป็นอุปสรรคหรือปัญหาต่อการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน
    4. ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในแต่ละขั้นตอน อาทิเช่น ค่าใช้จ่ายในด้านการรวบรวมเอกสารหลักฐาน การเดินทาง และการศึกษารวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำร่างพระราชบัญญัติ ซึ่งค่าใช้จ่ายทั้งหมดตกอยู่ในภาระความรับผิดชอบของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย
    5. ขาดกลไกการสนับสนุนและการประสานเชื่อมโยงกับภาครัฐ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกรัฐสภาและรัฐบาล  ทำให้ฝ่ายภาครัฐไม่ได้ให้ความสำคัญและไม่ได้เข้ามาร่วมผลักดันร่างกฎหมายด้วย  ในทางตรงกันข้ามกลับให้ความสำคัญกับร่างกฎหมายของรัฐบาลมากกว่า  การพิจารณาอภิปรายร่างกฎหมายที่เสนอโดยประชาชนมักมีการแปรญัตติแก้ไขเพิ่มเติมอย่างมาก  โดยมิได้รับฟังหรือเปิดโอกาสให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายเข้าชี้แจงหลักการและเหตุผลของร่างกฎหมาย และมิได้คำนึงถึงเจตนารมณ์ดั้งเดิมแท้จริงของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายแต่อย่างใด แต่เมื่อผ่านกฎหมายออกมาบังคับใช้ก็จะถูกเรียกว่าเป็นกฎหมายที่เสนอโดยประชาชน


      การพัฒนา “สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน” ให้เป็นจริงในทางปฏิบัติ
จากการศึกษาพบว่าในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนนั้น มีปัญหาอุปสรรคซึ่งเป็นบทเรียนที่จำต้องนำมาเป็นข้อมูลเพื่อพัฒนาแนวทาง และกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมาย  กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับ รองรับ เพื่อให้การใช้สิทธิมีส่วนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นไปได้จริงในทางปฏิบัติ  โดยสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญมากที่สุดดังนี้ 
 
1.ต้องรวบรวมรายชื่อจำนวนมาก และต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบรายชื่อ ซึ่งหากผิดพลาดเล็กน้อย เช่น พิมพ์ชื่อผิด เลขที่บัตรประชาชนผิด หรือเอกสารไม่ถูกต้องจะถูกตัดชื่อออก
 
2.หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อค่อนข้างยุ่งยาก ซับซ้อน และมีกระบวนการที่ยาวนาน ปราศจากกรอบเวลาดำเนินการ  แม้รัฐธรรมนูญกำหนดเพียงหลักเกณฑ์สำคัญไว้  แต่กฎหมาย  ระเบียบ กฎเกณฑ์ที่ออกมารองรับ รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชนอย่างแท้จริง
 
3.ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระและวิธีการร่างกฎหมาย เนื่องจากการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายต้องแนบร่างพระราชบัญญัติซึ่งดำเนินการโดยถูกต้องตามรูปแบบของร่างพระราชบัญญัติ  กล่าวคือ มีหลักการเหตุผลประกอบ และมีการแบ่งหมวดหมู่และรายมาตราเพียงพอที่จะเข้าใจได้  การร่างพระราชบัญญัตินั้นจำเป็นต้องดำเนินการโดยผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อีกทั้งต้องมีประสบการณ์ในด้านนี้ด้วย ทำให้เป็นข้อจำกัดอันเป็นอุปสรรคหรือปัญหาต่อการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน
 
4.ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในแต่ละขั้นตอน อาทิเช่น ค่าใช้จ่ายในด้านการรวบรวมเอกสารหลักฐาน การเดินทาง และการศึกษารวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำร่างพระราชบัญญัติ ซึ่งค่าใช้จ่ายทั้งหมดตกอยู่ในภาระความรับผิดชอบของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย
 
5.ขาดกลไกการสนับสนุนและการประสานเชื่อมโยงกับภาครัฐ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกรัฐสภาและรัฐบาล  ทำให้ฝ่ายภาครัฐไม่ได้ให้ความสำคัญและไม่ได้เข้ามาร่วมผลักดันร่างกฎหมายด้วย  ในทางตรงกันข้ามกลับให้ความสำคัญกับร่างกฎหมายของรัฐบาลมากกว่า  การพิจารณาอภิปรายร่างกฎหมายที่เสนอโดยประชาชนมักมีการแปรญัตติแก้ไขเพิ่มเติมอย่างมาก  โดยมิได้รับฟังหรือเปิดโอกาสให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายเข้าชี้แจงหลักการและเหตุผลของร่างกฎหมาย  และมิได้คำนึงถึงเจตนารมณ์ดั้งเดิมแท้จริงของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายแต่อย่างใด  แต่เมื่อผ่านกฎหมายออกมาบังคับใช้ก็จะถูกเรียกว่าเป็นกฎหมายที่เสนอโดยประชาชน
 
การพัฒนา“สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน”ให้เป็นจริงในทางปฏิบัติ
 
รัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนไว้ดังนี้
 
(1)ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่กำหนดในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5  แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
 
(2) ในการเสนอคำร้องขอดังกล่าวให้จัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอไปด้วย


    รัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนไว้ ดังนี้
(1)  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่กำหนดในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5  แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
(2)  ในการเสนอคำร้องขอดังกล่าว ให้จัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอไปด้วย
(3) ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ  สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชน  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และให้มีผู้แทนร่วมเป็นกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย   
(3) ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ  สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชน  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และให้มีผู้แทนร่วมเป็นกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย   
    (4) หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
จะเห็นได้ว่าหลักการตามข้อ (1) ข้อ (2) และ ข้อ (4)  เป็นหลักการเดียวกับที่กำหนดไว้ในมาตรา 170 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540  แตกต่างกันก็แต่เพียงว่า          ลดจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในการเข้าชื่อจาก 50,000 คน  เหลือ 10,000 คน และรัฐธรรมนูญ หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐนั้น มีการจัดแบ่งหมวดหมู่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น  ส่วนข้อ (3) นั้น เป็นหลักการใหม่ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรการส่งเสริมให้การมีส่วนร่วมในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์มากที่สุด  ซึ่งเป็นพัฒนาการที่
ต่อยอดและเรียนรู้บทเรียนจากการเข้าชื่อเสนอกฎหมายในอดีตที่ผ่านมา
    สถาบันพระปกเกล้า ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากมูลนิธิเอเชีย  ได้จัดทำ “โครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการร่างกฎหมาย”  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อจัดทำร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย  พ.ศ. .... การดำเนินโครงการ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นทั้งในส่วนของปัญหาอุปสรรคในการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นจริงได้ในทาง
จากการสรุปข้อมูลการรับฟังความคิดเห็นและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....  ซึ่งมีเนื้อหาสาระสำคัญ  10 ประการ คือ   
    1.  กำหนดให้องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย  ให้ความช่วยเหลือผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายในการจัดทำร่างกฎหมายและเอกสารประกอบ หรือให้ความเห็นร่างกฎหมายและเอกสารประกอบ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายกำหนด โดยที่หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการสนับสนุนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน และให้ดำเนินการให้เสร็จภายใน 60 วันนับแต่ได้รับการร้องขอ  และ(ม. 8)
    2.  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอกฎหมายขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้จากกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่
คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองกำหนด  (ม.9)
    3. ประธานรัฐสภามีอำนาจออกระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาและการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย  (ม.10)
    4.  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรวบรวมรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน ให้เสนอร่างพระราชบัญญัติ และบันทึกประกอบ พร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ  ที่อยู่  ลายมือชื่อ และเลขประจำตัวประชาชนของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและผู้แทนการเสนอกฎหมายต่อประธานรัฐสภา  ตามแบบที่ประธานรัฐสภากำหนด (ม.11 และ ม.12)  ซึ่งในอดีตนั้นจะต้องใช้เอกสารหลักฐานจำนวนมาก เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ก่อให้เกิดความยุ่งยาก และมีค่าใช้จ่ายในการนี้จำนวนมาก
    5. ประธานรัฐสภาตรวจสอบให้เสร็จภายใน 30 วัน กรณีรายชื่อไม่ครบถ้วน ถูกต้อง ให้แจ้งผู้แทนการเสนอกฎหมายเพื่อดำเนินการให้ครบถ้วน ถูกต้องภายใน 90 วัน หากไม่สามารถดำเนินการได้ภายในเวลาที่กำหนดให้ประธานรัฐสภาสั่งจำหน่ายเรื่อง (ม.13)
    6.  กรณีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายถูกต้องครบถ้วน ให้ประธานรัฐสภาประกาศรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยปิดประกาศไว้ ณ  ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ว่าการผู้ใหญ่บ้าน และเขตชุมชนหนาแน่น ในเขตท้องที่ที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน  โดยให้ประธานรัฐสภากำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเขตชุมชนหนาแน่น  และเปิดให้ร้อง  คัดค้านการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ภายใน 20 วันนับแต่วันปิดประกาศ (ม.14 และ ม.15)
    7.  ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100 คน ริเริ่มเข้าชื่อโดยร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการ  เข้าชื่อเสนอกฎหมาย ผ่านประธานกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายหรือผู้แทนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีภูมิลำเนาอยู่  โดยที่ให้ยื่นพร้อมทั้งร่างพระราชบัญญัติและบันทึกประกอบ  (ม.16)
    8. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดระเบียบวาระการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคำนึงถึงความรวดเร็วและต่อเนื่องในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ รวมทั้งการมีส่วนร่วมของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายดังกล่าวและประชาชนทั่วไป  (ม. 21 วรรค 2) 
    9. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายและประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง  โดยอย่างน้อยต้องเผยแพร่ร่างกฎหมายและรับฟัง  ความคิดเห็นของประชาชนผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของสภาผู้แทนราษฎร  (ม.21 วรรค 3)
    10. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้นำสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นใช้ประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรก่อนออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ 3 (ม. 21 วรรค 4)


(4)หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ จะเห็นได้ว่าหลักการตามข้อ (1) ข้อ (2) และ ข้อ (4)  เป็นหลักการเดียวกับที่กำหนดไว้ในมาตรา 170 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540  แตกต่างกันก็แต่เพียงว่า          ลดจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในการเข้าชื่อจาก 50,000 คน  เหลือ 10,000 คน และรัฐธรรมนูญ หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐนั้น มีการจัดแบ่งหมวดหมู่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น  ส่วนข้อ (3) นั้น เป็นหลักการใหม่ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรการส่งเสริมให้การมีส่วนร่วมในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์มากที่สุด ซึ่งเป็นพัฒนาการที่ต่อยอดและเรียนรู้บทเรียนจากการเข้าชื่อเสนอกฎหมายในอดีตที่ผ่านมา
สถาบันพระปกเกล้า ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากมูลนิธิเอเชีย  ได้จัดทำ “โครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการร่างกฎหมาย”  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อจัดทำร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย  พ.ศ. .... การดำเนินโครงการ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นทั้งในส่วนของปัญหาอุปสรรคในการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นจริงได้ในทาง
จากการสรุปข้อมูลการรับฟังความคิดเห็นและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....  ซึ่งมีเนื้อหาสาระสำคัญ10 ประการคือ   
1.  กำหนดให้องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย  ให้ความช่วยเหลือผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายในการจัดทำร่างกฎหมายและเอกสารประกอบ หรือให้ความเห็นร่างกฎหมายและเอกสารประกอบ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายกำหนด โดยที่หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการสนับสนุนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน และให้ดำเนินการให้เสร็จภายใน 60 วันนับแต่ได้รับการร้องขอ  และ(ม. 8)
2.  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอกฎหมายขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้จากกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองกำหนด  (ม.9)
3. ประธานรัฐสภามีอำนาจออกระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาและการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย  (ม.10)
4.  ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรวบรวมรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน ให้เสนอร่างพระราชบัญญัติ และบันทึกประกอบ พร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ  ที่อยู่  ลายมือชื่อ และเลขประจำตัวประชาชนของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและผู้แทนการเสนอกฎหมายต่อประธานรัฐสภา  ตามแบบที่ประธานรัฐสภากำหนด (ม.11 และ ม.12)  ซึ่งในอดีตนั้นจะต้องใช้เอกสารหลักฐานจำนวนมาก เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ก่อให้เกิดความยุ่งยาก และมีค่าใช้จ่ายในการนี้จำนวนมาก
5. ประธานรัฐสภาตรวจสอบให้เสร็จภายใน 30 วัน กรณีรายชื่อไม่ครบถ้วน ถูกต้อง ให้แจ้งผู้แทนการเสนอกฎหมายเพื่อดำเนินการให้ครบถ้วน ถูกต้องภายใน 90 วัน หากไม่สามารถดำเนินการได้ภายในเวลาที่กำหนดให้ประธานรัฐสภาสั่งจำหน่ายเรื่อง (ม.13)
6.  กรณีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายถูกต้องครบถ้วน ให้ประธานรัฐสภาประกาศรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยปิดประกาศไว้ ณ  ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ว่าการผู้ใหญ่บ้าน และเขตชุมชนหนาแน่น ในเขตท้องที่ที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน  โดยให้ประธานรัฐสภากำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเขตชุมชนหนาแน่น  และเปิดให้ร้อง  คัดค้านการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ภายใน 20 วันนับแต่วันปิดประกาศ (ม.14 และ ม.15)
7.  ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100 คน ริเริ่มเข้าชื่อโดยร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการ  เข้าชื่อเสนอกฎหมาย ผ่านประธานกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายหรือผู้แทนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีภูมิลำเนาอยู่  โดยที่ให้ยื่นพร้อมทั้งร่างพระราชบัญญัติและบันทึกประกอบ  (ม.16)
8. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดระเบียบวาระการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคำนึงถึงความรวดเร็วและต่อเนื่องในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ รวมทั้งการมีส่วนร่วมของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายดังกล่าวและประชาชนทั่วไป  (ม. 21 วรรค 2) 
9. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายและประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง  โดยอย่างน้อยต้องเผยแพร่ร่างกฎหมายและรับฟัง  ความคิดเห็นของประชาชนผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของสภาผู้แทนราษฎร  (ม.21 วรรค 3)
10. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้นำสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นใช้ประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรก่อนออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ 3 (ม. 21 วรรค 4)
กล่าวโดยสรุป ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ดังกล่าวมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ง่ายขึ้น โดยกำหนดมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนหลักๆ ไว้ 3 ประการ ดังนี้  การสนับสนุนทางด้านวิชาการ โดยกำหนดให้องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายช่วยเหลือประชาชนในการยกร่างพระราชบัญญัติและบันทึกประกอบร่างพระราชบัญญัติ รวมทั้งให้คำแนะนำและสนับสนุน การดำเนินการร่างกฎหมายของประชาชนด้วย  ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญกำหนดหลักประกันไว้ว่าให้จัดทำกฎหมายว่าด้วยองค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติให้มีหน้าที่สนับสนุนการดำเนินการร่างกฎหมายของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งด้วย  
กล่าวโดยสรุป ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ดังกล่าวมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ง่ายขึ้น โดยกำหนดมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนหลักๆ ไว้ 3 ประการ ดังนี้  การสนับสนุนทางด้านวิชาการ โดยกำหนดให้องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายช่วยเหลือประชาชนในการยกร่างพระราชบัญญัติและบันทึกประกอบร่างพระราชบัญญัติ รวมทั้งให้คำแนะนำและสนับสนุน การดำเนินการร่างกฎหมายของประชาชนด้วย  ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญกำหนดหลักประกันไว้ว่าให้จัดทำกฎหมายว่าด้วยองค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติให้มีหน้าที่สนับสนุนการดำเนินการร่างกฎหมายของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งด้วย  


    นอกจากนี้  กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายและประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง และให้นำสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น  ดังกล่าวใช้ประกอบการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรก่อนการออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามด้วย ซึ่งจะทำให้มีข้อมูลสำหรับประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรในอีกด้านหนึ่งนั่นเองการสนับสนุนด้านงบประมาณ โดยกำหนดให้ผู้เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายขอรับการสนับสนุน  ค่าใช้จ่ายในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายได้จากกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ซึ่งเป็นกองทุนฯ สำหรับการสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของภาคพลเมืองเป็นหลัก ภายใต้พระราชบัญญัติสภาพัฒนา  การเมือง พ.ศ. 2551  การสนับสนุนในกระบวนการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมาย โดยการกำหนดกรอบเวลาดำเนินการ    ในขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้ดำเนินการไปด้วยความรวดเร็ว และลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น รวมทั้งกำหนดมาตรการเสริมอื่นๆ อาทิเช่น กรอบเวลาการดำเนินการขององค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ประธานรัฐสภา ผู้ที่จะร้องคัดค้านการเข้าชื่อ และมาตรการเสริมเพื่อให้มีการพิจารณาร่างกฎหมายของประชาชนในเวลาอันรวดเร็ว  การลดภาระและค่าใช้จ่ายด้านเอกสารหลักฐานสำหรับการเช้าชื่อ และให้ริเริ่มเสนอเรื่องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด  เพื่อดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายต่อไป  
นอกจากนี้  กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายและประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง และให้นำสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น  ดังกล่าวใช้ประกอบการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรก่อนการออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามด้วย ซึ่งจะทำให้มีข้อมูลสำหรับประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรในอีกด้านหนึ่งนั่นเองการสนับสนุนด้านงบประมาณ โดยกำหนดให้ผู้เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายขอรับการสนับสนุน  ค่าใช้จ่ายในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายได้จากกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ซึ่งเป็นกองทุนฯ สำหรับการสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของภาคพลเมืองเป็นหลัก ภายใต้พระราชบัญญัติสภาพัฒนา  การเมือง พ.ศ. 2551  การสนับสนุนในกระบวนการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมาย โดยการกำหนดกรอบเวลาดำเนินการ    ในขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้ดำเนินการไปด้วยความรวดเร็ว และลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น รวมทั้งกำหนดมาตรการเสริมอื่นๆ อาทิเช่น กรอบเวลาการดำเนินการขององค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ประธานรัฐสภา ผู้ที่จะร้องคัดค้านการเข้าชื่อ และมาตรการเสริมเพื่อให้มีการพิจารณาร่างกฎหมายของประชาชนในเวลาอันรวดเร็ว  การลดภาระและค่าใช้จ่ายด้านเอกสารหลักฐานสำหรับการเช้าชื่อ และให้ริเริ่มเสนอเรื่องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด  เพื่อดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายต่อไป  


    ทั้งนี้การที่จะทำให้ “สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน” เป็นจริงได้ในทางปฏิบัตินั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในฐานะพลเมืองต้องเข้ามามีส่วนร่วม โดยที่ขั้นแรกต้องร่วมรับรู้ข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลที่ได้นำเสนอในเบื้องต้น  เพื่อการมีส่วนร่วมในขั้นต่อไป คือมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ  มีส่วนร่วมในการดำเนินการ ร่วมตัดสินใจและร่วมติดตามประเมินผล  ทางสถาบันฯ  เปิดให้มีช่องทางการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะได้ ทั้งทางโทรศัพท์ หมายเลข  02-527-7830-9 ต่อ 2404  โทรสารหมายเลข 02-527-7824 www.kpi.ac.th  ตู้ ปณ. 232 ปณศ นนทบุรี อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 และ patt.s@hotmail.comอีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปเพื่ออ่านมันได้
ทั้งนี้การที่จะทำให้ “สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน” เป็นจริงได้ในทางปฏิบัตินั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในฐานะพลเมืองต้องเข้ามามีส่วนร่วม โดยที่ขั้นแรกต้องร่วมรับรู้ข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลที่ได้นำเสนอในเบื้องต้น  เพื่อการมีส่วนร่วมในขั้นต่อไป คือมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ  มีส่วนร่วมในการดำเนินการ ร่วมตัดสินใจและร่วมติดตามประเมินผล  ทางสถาบันฯ  เปิดให้มีช่องทางการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะได้ ทั้งทางโทรศัพท์ หมายเลข  02-527-7830-9 ต่อ 2404  โทรสารหมายเลข 02-527-7824 www.kpi.ac.th  ตู้ ปณ. 232 ปณศ นนทบุรี อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 และ patt.s@hotmail.comอีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปเพื่ออ่านมันได้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:55, 12 ธันวาคม 2552

การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอดีต สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ

โดย นางสาวปัทมา สูบกำปัง

หลักการกับบทเรียนการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน

ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐสภาเป็นสถาบันที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่พิจารณา และให้ความเห็นชอบร่างกฎหมาย เพื่อบังคับใช้ในสังคม หรือเป็นองค์กรนิติบัญญัติ ตามทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยที่นานาอารยะประเทศยอมรับ อย่างไรก็ตาม การแสดงบทบาทอำนาจหน้าที่ของรัฐสภามีข้อจำกัดและอาจไม่สอดคล้องหรือไม่สนองตอบต่อความต้องการของประชาชนได้ครบทุกกลุ่ม ทุกคน ดังนั้น การกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิ เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายที่เห็นว่าจำเป็นและเกี่ยวข้องกับกลุ่มตนได้นั้น จึงเป็นการให้สิทธิประชาชน มีส่วนร่วมทางการเมืองตามหลักการของ “ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม” (Participatory Democracy) อันจะช่วยในการอุดช่องหรือเป็นส่วนเสริมให้ “ประชาธิปไตยทางผู้แทน” (Representative Democracy) นั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้นสิทธิในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชน ได้รับการรับรองเป็นครั้งแรก โดย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ.2542 และเมื่อประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ยังคงรับรองยืนยันสิทธิในการมีส่วนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ ในมาตรา 163

จากปีพ.ศ.2540 ถึงปัจจุบัน พบว่าประชาชนตื่นตัวและรวมตัวกันเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายจำนวนมากถึง 16 ฉบับ โดยที่เป็นการเสนอจากผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 50,000 คน ต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยตรง 10 ฉบับ และผู้ริเริ่มเข้าชื่อยื่นคำร้องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย อีก 6 ฉบับ แต่การเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายส่วนใหญ่มีปัญหาทางเทคนิค และปัญหาจากความผิดพลาด บกพร่องในทางปฏิบัติ จำนวนมาก คือ รายชื่อไม่ครบตามจำนวนที่กำหนด หรือเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ทำให้ต้องจำหน่ายเรื่อง และบางส่วนชื่อไม่ครบก็ขอถอนเรื่องออกไป รวมทั้งต้องตกไปเพราะอายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุด มีการยุบสภา หรือเป็นร่างกฎหมายที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามหมวด 3 และหมวด 5 โดยสรุป มีร่างกฎหมายเพียง 2 ฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... ที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่มีผลบังคับใช้เพียงฉบับเดียว คือพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ส่วนร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... นั้น แม้ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ แต่ไม่มีผลบังคับใช้ เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ชี้ขาดว่าตราขึ้นโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

กล่าวโดยสรุป แม้ว่าร่างพระราชบัญญัติของภาคประชาชนทั้งสองฉบับดังกล่าวจะได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งเป็นสภาที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเช่นเดียวกัน และร่างกฎหมาย ทั้งสองฉบับต่างดำเนินการโดยเครือข่ายภาคประชาชนที่เข้มแข็ง มีการศึกษาวิจัยรองรับและมีการรับฟังความคิดเห็นประชาชนอย่างกว้างขวาง แต่มีความแตกต่างกันในส่วนของแรงสนับสนุนจากฝ่ายการเมือง ผู้แทนการเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... คือ นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป ซึ่งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นแกนนำหลักในการผลักดันร่างพระราชบัญญัตินี้ ในขณะที่ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... ใช้เวลากว่า 8 ปีนับจากวันเสนอร่างพระราชบัญญัติฯ ถึงวันที่สภานิติบัญญัติให้ความเห็นชอบ ใช้ระยะเวลาสำหรับการตรวจสอบเอกสารหลักฐานก่อนรับเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภานานเป็นปีกว่า ยิ่งไปกว่านั้น การให้ความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็เกิดเป็นประเด็นโต้แย้งจากกลุ่มแกนนำและเครือข่ายป่าชุมชนว่าบิดเบือนเจตนารมณ์ของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย ดังนั้น จึงมีการเสนอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยชี้ขาดว่ากระบวนการตราร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... เป็นไปโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ จึงไม่สามารถบังคับใช้ได้ กรณีการเสนอร่างกฎหมายของประชาชนสอดคล้องกับนโยบายหรือความต้องการของรัฐบาลแม้ร่างกฎหมายของประชาชนจะไม่ได้รับการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่จะเป็นแรงกระตุ้นหรือผลักดันให้รัฐบาลเร่งเสนอร่างกฎหมายให้รัฐสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นเรื่องด่วน โดยให้ เหตุผลว่าต้องเร่งดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ไม่อาจรอเรื่องไว้จนกว่ากระบวนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนเสร็จสิ้นได้ เช่นที่เกิดขึ้นกับกรณีร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ....

จากกรณีศึกษาทั้ง 3 กรณีดังกล่าวข้างต้นจึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าปัจจัยความสำเร็จในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชนนั้น คือการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนที่เข้มแข็ง และที่สำคัญอีกส่วนคือการยอมรับและการสนับสนุนจากภาครัฐหรือฝ่ายการเมือง การผนึกกำลังของทั้งสองภาคส่วนนี้ นอกจากช่วยทำให้เกิดการเสนอ การพิจารณาและการอนุมัติร่างกฎหมายแล้ว ยังมีผลดีในด้านที่กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและ ส่วนรวม เพราะผ่านการพิจารณาจากฝ่ายต่างๆ ทั้งภาครัฐและประชาชน อันเป็นผลดีต่อเนื่องไปถึงการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย ในทางกลับกันแม้ว่าร่างกฎหมายที่ประชาชนเสนอนั้น จะผ่านกระบวนการต่างๆ เข้าสู่การพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก็ตาม แต่หากเนื้อหาสาระของร่างกฎหมายถูกปรับเปลี่ยน แก้ไข เพิ่มเติมหรือตัดออกจนไม่เหลือความต้องการของประชาชน เช่นนี้คงไม่อาจเรียกกฎหมายที่ออกมาบังคับใช้ได้ว่าเป็นกฎหมายของประชาชน ดังเช่นกรณีร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน ซึ่งหากยังคงประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย นอกจากประชาชนจะไม่ให้ความยอมรับและปฏิบัติตามแล้ว อาจถึงขั้นต่อต้านกฎหมายดังกล่าวเลยก็เป็นได้

จากการศึกษาพบว่าในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนนั้น มีปัญหาอุปสรรคซึ่งเป็นบทเรียนที่จำต้องนำมาเป็นข้อมูลเพื่อพัฒนาแนวทาง และกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับ รองรับ เพื่อให้การใช้สิทธิมีส่วนร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นไปได้จริงในทางปฏิบัติ โดยสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญมากที่สุดดังนี้

1.ต้องรวบรวมรายชื่อจำนวนมาก และต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบรายชื่อ ซึ่งหากผิดพลาดเล็กน้อย เช่น พิมพ์ชื่อผิด เลขที่บัตรประชาชนผิด หรือเอกสารไม่ถูกต้องจะถูกตัดชื่อออก

2.หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อค่อนข้างยุ่งยาก ซับซ้อน และมีกระบวนการที่ยาวนาน ปราศจากกรอบเวลาดำเนินการ แม้รัฐธรรมนูญกำหนดเพียงหลักเกณฑ์สำคัญไว้ แต่กฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ที่ออกมารองรับ รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายของประชาชนอย่างแท้จริง

3.ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระและวิธีการร่างกฎหมาย เนื่องจากการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายต้องแนบร่างพระราชบัญญัติซึ่งดำเนินการโดยถูกต้องตามรูปแบบของร่างพระราชบัญญัติ กล่าวคือ มีหลักการเหตุผลประกอบ และมีการแบ่งหมวดหมู่และรายมาตราเพียงพอที่จะเข้าใจได้ การร่างพระราชบัญญัตินั้นจำเป็นต้องดำเนินการโดยผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อีกทั้งต้องมีประสบการณ์ในด้านนี้ด้วย ทำให้เป็นข้อจำกัดอันเป็นอุปสรรคหรือปัญหาต่อการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน

4.ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในแต่ละขั้นตอน อาทิเช่น ค่าใช้จ่ายในด้านการรวบรวมเอกสารหลักฐาน การเดินทาง และการศึกษารวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำร่างพระราชบัญญัติ ซึ่งค่าใช้จ่ายทั้งหมดตกอยู่ในภาระความรับผิดชอบของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย

5.ขาดกลไกการสนับสนุนและการประสานเชื่อมโยงกับภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกรัฐสภาและรัฐบาล ทำให้ฝ่ายภาครัฐไม่ได้ให้ความสำคัญและไม่ได้เข้ามาร่วมผลักดันร่างกฎหมายด้วย ในทางตรงกันข้ามกลับให้ความสำคัญกับร่างกฎหมายของรัฐบาลมากกว่า การพิจารณาอภิปรายร่างกฎหมายที่เสนอโดยประชาชนมักมีการแปรญัตติแก้ไขเพิ่มเติมอย่างมาก โดยมิได้รับฟังหรือเปิดโอกาสให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายเข้าชี้แจงหลักการและเหตุผลของร่างกฎหมาย และมิได้คำนึงถึงเจตนารมณ์ดั้งเดิมแท้จริงของประชาชนผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายแต่อย่างใด แต่เมื่อผ่านกฎหมายออกมาบังคับใช้ก็จะถูกเรียกว่าเป็นกฎหมายที่เสนอโดยประชาชน

การพัฒนา“สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน”ให้เป็นจริงในทางปฏิบัติ
รัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนไว้ดังนี้

(1)ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่กำหนดในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ

(2) ในการเสนอคำร้องขอดังกล่าวให้จัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอไปด้วย

(3) ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และให้มีผู้แทนร่วมเป็นกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย

(4)หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ จะเห็นได้ว่าหลักการตามข้อ (1) ข้อ (2) และ ข้อ (4) เป็นหลักการเดียวกับที่กำหนดไว้ในมาตรา 170 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แตกต่างกันก็แต่เพียงว่า ลดจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในการเข้าชื่อจาก 50,000 คน เหลือ 10,000 คน และรัฐธรรมนูญ หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐนั้น มีการจัดแบ่งหมวดหมู่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ส่วนข้อ (3) นั้น เป็นหลักการใหม่ ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรการส่งเสริมให้การมีส่วนร่วมในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์มากที่สุด ซึ่งเป็นพัฒนาการที่ต่อยอดและเรียนรู้บทเรียนจากการเข้าชื่อเสนอกฎหมายในอดีตที่ผ่านมา

สถาบันพระปกเกล้า ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากมูลนิธิเอเชีย ได้จัดทำ “โครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการร่างกฎหมาย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อจัดทำร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... การดำเนินโครงการ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นทั้งในส่วนของปัญหาอุปสรรคในการใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นจริงได้ในทาง

จากการสรุปข้อมูลการรับฟังความคิดเห็นและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ซึ่งมีเนื้อหาสาระสำคัญ10 ประการคือ

1. กำหนดให้องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ให้ความช่วยเหลือผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายในการจัดทำร่างกฎหมายและเอกสารประกอบ หรือให้ความเห็นร่างกฎหมายและเอกสารประกอบ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายกำหนด โดยที่หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการสนับสนุนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน และให้ดำเนินการให้เสร็จภายใน 60 วันนับแต่ได้รับการร้องขอ และ(ม. 8)

2. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอกฎหมายขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้จากกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองกำหนด (ม.9)

3. ประธานรัฐสภามีอำนาจออกระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาและการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (ม.10)

4. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรวบรวมรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน ให้เสนอร่างพระราชบัญญัติ และบันทึกประกอบ พร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อ และเลขประจำตัวประชาชนของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและผู้แทนการเสนอกฎหมายต่อประธานรัฐสภา ตามแบบที่ประธานรัฐสภากำหนด (ม.11 และ ม.12) ซึ่งในอดีตนั้นจะต้องใช้เอกสารหลักฐานจำนวนมาก เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ก่อให้เกิดความยุ่งยาก และมีค่าใช้จ่ายในการนี้จำนวนมาก

5. ประธานรัฐสภาตรวจสอบให้เสร็จภายใน 30 วัน กรณีรายชื่อไม่ครบถ้วน ถูกต้อง ให้แจ้งผู้แทนการเสนอกฎหมายเพื่อดำเนินการให้ครบถ้วน ถูกต้องภายใน 90 วัน หากไม่สามารถดำเนินการได้ภายในเวลาที่กำหนดให้ประธานรัฐสภาสั่งจำหน่ายเรื่อง (ม.13)

6. กรณีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายถูกต้องครบถ้วน ให้ประธานรัฐสภาประกาศรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยปิดประกาศไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ว่าการผู้ใหญ่บ้าน และเขตชุมชนหนาแน่น ในเขตท้องที่ที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน โดยให้ประธานรัฐสภากำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเขตชุมชนหนาแน่น และเปิดให้ร้อง คัดค้านการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ภายใน 20 วันนับแต่วันปิดประกาศ (ม.14 และ ม.15)

7. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100 คน ริเริ่มเข้าชื่อโดยร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการ เข้าชื่อเสนอกฎหมาย ผ่านประธานกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายหรือผู้แทนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีภูมิลำเนาอยู่ โดยที่ให้ยื่นพร้อมทั้งร่างพระราชบัญญัติและบันทึกประกอบ (ม.16)

8. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดระเบียบวาระการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคำนึงถึงความรวดเร็วและต่อเนื่องในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ รวมทั้งการมีส่วนร่วมของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายดังกล่าวและประชาชนทั่วไป (ม. 21 วรรค 2)

9. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายและประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง โดยอย่างน้อยต้องเผยแพร่ร่างกฎหมายและรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของสภาผู้แทนราษฎร (ม.21 วรรค 3)

10. ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้นำสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นใช้ประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรก่อนออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ 3 (ม. 21 วรรค 4) กล่าวโดยสรุป ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ดังกล่าวมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้ง่ายขึ้น โดยกำหนดมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนหลักๆ ไว้ 3 ประการ ดังนี้ การสนับสนุนทางด้านวิชาการ โดยกำหนดให้องค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายช่วยเหลือประชาชนในการยกร่างพระราชบัญญัติและบันทึกประกอบร่างพระราชบัญญัติ รวมทั้งให้คำแนะนำและสนับสนุน การดำเนินการร่างกฎหมายของประชาชนด้วย ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญกำหนดหลักประกันไว้ว่าให้จัดทำกฎหมายว่าด้วยองค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติให้มีหน้าที่สนับสนุนการดำเนินการร่างกฎหมายของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งด้วย

นอกจากนี้ กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายและประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง และให้นำสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น ดังกล่าวใช้ประกอบการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรก่อนการออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามด้วย ซึ่งจะทำให้มีข้อมูลสำหรับประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรในอีกด้านหนึ่งนั่นเองการสนับสนุนด้านงบประมาณ โดยกำหนดให้ผู้เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายขอรับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายได้จากกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ซึ่งเป็นกองทุนฯ สำหรับการสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของภาคพลเมืองเป็นหลัก ภายใต้พระราชบัญญัติสภาพัฒนา การเมือง พ.ศ. 2551 การสนับสนุนในกระบวนการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมาย โดยการกำหนดกรอบเวลาดำเนินการ ในขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้ดำเนินการไปด้วยความรวดเร็ว และลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น รวมทั้งกำหนดมาตรการเสริมอื่นๆ อาทิเช่น กรอบเวลาการดำเนินการขององค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ประธานรัฐสภา ผู้ที่จะร้องคัดค้านการเข้าชื่อ และมาตรการเสริมเพื่อให้มีการพิจารณาร่างกฎหมายของประชาชนในเวลาอันรวดเร็ว การลดภาระและค่าใช้จ่ายด้านเอกสารหลักฐานสำหรับการเช้าชื่อ และให้ริเริ่มเสนอเรื่องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด เพื่อดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายต่อไป

ทั้งนี้การที่จะทำให้ “สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน” เป็นจริงได้ในทางปฏิบัตินั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในฐานะพลเมืองต้องเข้ามามีส่วนร่วม โดยที่ขั้นแรกต้องร่วมรับรู้ข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลที่ได้นำเสนอในเบื้องต้น เพื่อการมีส่วนร่วมในขั้นต่อไป คือมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ มีส่วนร่วมในการดำเนินการ ร่วมตัดสินใจและร่วมติดตามประเมินผล ทางสถาบันฯ เปิดให้มีช่องทางการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะได้ ทั้งทางโทรศัพท์ หมายเลข 02-527-7830-9 ต่อ 2404 โทรสารหมายเลข 02-527-7824 www.kpi.ac.th ตู้ ปณ. 232 ปณศ นนทบุรี อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 และ patt.s@hotmail.comอีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปเพื่ออ่านมันได้