ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้าที่ของชนชาวไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 5:
----
----


การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การรักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตรย์ นับเป็นหน้าที่หลัก ที่คนไทยทุกคนต้องระลึกและยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดยเฉพาะในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศที่อยู่ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งประชาชนสามารถเข้ามามีสิทธิ มีส่วนในการปกครองประเทศ หน้าที่สำคัญของชาวไทยทุกคนก็คือ ต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งเพื่อเลือกบุคคลที่จะมาใช้อำนาจอธิปไตยแทนตนเอง หน้าที่ป้องกันประเทศชาติ หน้าที่รับราชการทหาร หน้าที่เสียภาษีอากร หน้าที่รับการศึกษาอบรม และหน้าที่อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็ตาม เพื่อประโยชน์ของสังคมและความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติให้ทัดเทียมนานาประเทศโดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนั้น
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การรักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตรย์ นับเป็นหน้าที่หลัก ที่คนไทยทุกคนต้องระลึกและยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดยเฉพาะในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศที่อยู่ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งประชาชนสามารถเข้ามามีสิทธิ มีส่วนในการปกครองประเทศ หน้าที่สำคัญของชาวไทยทุกคนก็คือ ต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งเพื่อเลือกบุคคลที่จะมาใช้อำนาจอธิปไตยแทนตนเอง หน้าที่ป้องกันประเทศชาติ หน้าที่รับราชการทหาร หน้าที่เสียภาษีอากร หน้าที่รับการศึกษาอบรม และหน้าที่อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็ตาม เพื่อประโยชน์ของสังคมและความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติให้ทัดเทียมนานาประเทศโดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนั้น


==ความหมาย==
==ความหมาย==
บรรทัดที่ 11: บรรทัดที่ 11:
คำว่า “หน้าที่” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึง กิจที่จะต้องทำด้วยความรับผิดชอบ<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. '''พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.''' กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๖ หน้า ๑๒๔๗.</ref> แต่เมื่อนำคำว่า “หน้าที่” รวมกับคำว่า “ชนชาวไทย” เป็น “หน้าที่ของชนชาวไทย” คณิน บุญสุวรรณ ได้ให้ความหมายไว้ในหนังสือปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์) ว่า ภาระและความรับผิดชอบที่รัฐธรรมนูญกำหนดบังคับให้บุคคลซึ่งเป็นชนชาวไทยต้องปฏิบัติ หรือกระทำให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย เมื่อรัฐธรรมนูญกำหนดว่าการกระทำใดเป็นหน้าที่ของพลเมืองแล้ว ถ้าหากผู้ใดไม่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติถือว่าเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายและจะถูกลงโทษ<ref>คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์).''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๑๐๑๒-๑๐๑๓.</ref>
คำว่า “หน้าที่” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึง กิจที่จะต้องทำด้วยความรับผิดชอบ<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. '''พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.''' กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๖ หน้า ๑๒๔๗.</ref> แต่เมื่อนำคำว่า “หน้าที่” รวมกับคำว่า “ชนชาวไทย” เป็น “หน้าที่ของชนชาวไทย” คณิน บุญสุวรรณ ได้ให้ความหมายไว้ในหนังสือปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์) ว่า ภาระและความรับผิดชอบที่รัฐธรรมนูญกำหนดบังคับให้บุคคลซึ่งเป็นชนชาวไทยต้องปฏิบัติ หรือกระทำให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย เมื่อรัฐธรรมนูญกำหนดว่าการกระทำใดเป็นหน้าที่ของพลเมืองแล้ว ถ้าหากผู้ใดไม่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติถือว่าเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายและจะถูกลงโทษ<ref>คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์).''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๑๐๑๒-๑๐๑๓.</ref>


อย่างไรก็ตาม หน้าที่ของชนชาวไทย ถือว่าเป็นภาระและความรับผิดชอบของประชาชนชาวไทยทุกคนที่ต้องยึดถือปฏิบัตินั่นเอง  
อย่างไรก็ตาม หน้าที่ของชนชาวไทย ถือว่าเป็นภาระและความรับผิดชอบของประชาชนชาวไทยทุกคนที่ต้องยึดถือปฏิบัตินั่นเอง


==การกำหนดหน้าที่ของชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ==
==การกำหนดหน้าที่ของชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ==


ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีสองสถานะ คือ<ref>สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. '''หน้าที่ของชนชาวไทย''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://www.senate.go.th/web-senate/leftmenu/roles-thai.htm สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>
ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีสองสถานะ คือ<ref>สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. '''หน้าที่ของชนชาวไทย''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://www.senate.go.th/web-senate/leftmenu/roles-thai.htm สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>


๑. ฐานะผู้ปกครอง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้อำนาจอธิปไตย ซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองเป็นของปวงชนชาวไทย และประชาชนสามารถใช้อำนาจดังกล่าว ผ่านการเลือกผู้แทนของตน อันได้แก่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ในรัฐสภาแทนตน
๑. ฐานะผู้ปกครอง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้อำนาจอธิปไตย ซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองเป็นของปวงชนชาวไทย และประชาชนสามารถใช้อำนาจดังกล่าว ผ่านการเลือกผู้แทนของตน อันได้แก่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ในรัฐสภาแทนตน


๒. ฐานะผู้อยู่ภายใต้การปกครอง รัฐธรรมนูญนอกจากจะมีบทบัญญัติในเรื่องการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพไว้อย่างชัดเจน ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดให้ประชาชนมีหน้าที่บางประการควบคู่ไปด้วย กล่าวคือ เมื่อรัฐได้ให้หลักประกันในสิทธิและเสรีภาพแก่ประชาชนแล้ว ประชาชนก็มีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อรัฐด้วย
๒. ฐานะผู้อยู่ภายใต้การปกครอง รัฐธรรมนูญนอกจากจะมีบทบัญญัติในเรื่องการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพไว้อย่างชัดเจน ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดให้ประชาชนมีหน้าที่บางประการควบคู่ไปด้วย กล่าวคือ เมื่อรัฐได้ให้หลักประกันในสิทธิและเสรีภาพแก่ประชาชนแล้ว ประชาชนก็มีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อรัฐด้วย


จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศได้กำหนดรูปแบบของการปกครอง และเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยรัฐธรรมนูญทุกฉบับที่ผ่านมาได้กำหนดเรื่องสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทยไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ คำว่า “สิทธิ” มีคำคู่กันอยู่คือ “หน้าที่” ไม่ว่าเรื่องใด ๆ ก็ตาม เมื่อมี “สิทธิ” ก็ยอมมี “หน้าที่” คู่กันเสมอ เมื่อเราเกิดมาเป็นคนไทยมีสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญไทยกำหนด เราก็ย่อมมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติในฐานะเป็นคนไทยด้วยเช่นกัน<ref>มานิตย์ จุมปา. '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐).''' กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖, หน้า ๑.</ref> ซึ่งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญย่อมรับรองสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลของประชาชนไว้อย่างชัดเจน แม้รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้สิทธิแก่ประชาชนแต่ได้กำหนดหน้าที่ให้แก่ประชาชนเช่นกัน อาทิ รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ความเสมอภาคแก่บุคคลในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่รัฐมีหน้าที่ต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย แต่ในขณะเดียวกันก็บัญญัติให้บุคคลมีหน้าที่รับการศึกษาดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าพลเมืองที่มีการศึกษาดีย่อมเป็นทรัพยากรที่ดีในการพัฒนาประเทศต่อไป การกำหนดหน้าที่ดังกล่าวเป็นการกำหนดหน้าที่ของบุคคล เพื่อเป็นประโยชน์แก่ประเทศหรือสังคมส่วนรวม เช่นเดียวกันกับในเรื่องของสิทธิในการเลือกตั้ง รัฐมีหน้าที่ต้องส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง โดยกำหนดให้สิทธิแก่บุคคลทั่วไปในการใช้สิทธิการเลือกตั้ง หรือสมัครรับเลือกตั้ง ในขณะเดียวกัน เมื่อสังคมเห็นว่าการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นเรื่องจำเป็น เพื่อให้ประเทศได้มีผู้แทนที่ดี เป็นที่ยอมรับแก่ประชาชนและเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งในการปฏิรูปทางการเมืองอย่างน้อยในแง่การป้องกันหรือลดการซื้อเสียงแล้วรัฐก็ย่อมมีอำนาจกำหนดให้บุคคลไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้ เพื่อประโยชน์ของสังคมและความเจริญก้าวหน้าของชาติ<ref>อมร รักษาสัตย์. '''รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์.''' กรุงเทพฯ : บริษัท  
จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศได้กำหนดรูปแบบของการปกครอง และเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยรัฐธรรมนูญทุกฉบับที่ผ่านมาได้กำหนดเรื่องสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทยไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ คำว่า “สิทธิ” มีคำคู่กันอยู่คือ “หน้าที่” ไม่ว่าเรื่องใด ๆ ก็ตาม เมื่อมี “สิทธิ” ก็ยอมมี “หน้าที่” คู่กันเสมอ เมื่อเราเกิดมาเป็นคนไทยมีสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญไทยกำหนด เราก็ย่อมมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติในฐานะเป็นคนไทยด้วยเช่นกัน<ref>มานิตย์ จุมปา. '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540).''' กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖, หน้า ๑.</ref> ซึ่งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญย่อมรับรองสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลของประชาชนไว้อย่างชัดเจน แม้รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้สิทธิแก่ประชาชนแต่ได้กำหนดหน้าที่ให้แก่ประชาชนเช่นกัน อาทิ รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ความเสมอภาคแก่บุคคลในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่รัฐมีหน้าที่ต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย แต่ในขณะเดียวกันก็บัญญัติให้บุคคลมีหน้าที่รับการศึกษาดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าพลเมืองที่มีการศึกษาดีย่อมเป็นทรัพยากรที่ดีในการพัฒนาประเทศต่อไป การกำหนดหน้าที่ดังกล่าวเป็นการกำหนดหน้าที่ของบุคคล เพื่อเป็นประโยชน์แก่ประเทศหรือสังคมส่วนรวม เช่นเดียวกันกับในเรื่องของสิทธิในการเลือกตั้ง รัฐมีหน้าที่ต้องส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง โดยกำหนดให้สิทธิแก่บุคคลทั่วไปในการใช้สิทธิการเลือกตั้ง หรือสมัครรับเลือกตั้ง ในขณะเดียวกัน เมื่อสังคมเห็นว่าการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นเรื่องจำเป็น เพื่อให้ประเทศได้มีผู้แทนที่ดี เป็นที่ยอมรับแก่ประชาชนและเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งในการปฏิรูปทางการเมืองอย่างน้อยในแง่การป้องกันหรือลดการซื้อเสียงแล้วรัฐก็ย่อมมีอำนาจกำหนดให้บุคคลไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้ เพื่อประโยชน์ของสังคมและความเจริญก้าวหน้าของชาติ<ref>อมร รักษาสัตย์. '''รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์.''' กรุงเทพฯ : บริษัท  
ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑, หน้า ๗๓-๗๕.</ref>
ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑, หน้า ๗๓-๗๕.</ref>


นอกจากนั้น ยังได้บัญญัติให้บุคคลมีหน้าที่ต่าง ๆ คือ รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข บุคคลมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย มีหน้าที่ป้องกันประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน้าที่สำคัญเพิ่มจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นของชนชาวไทยที่เป็นบุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชน จะเห็นได้ว่าชาวไทยที่เป็นข้าราชการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ของชนชาวไทยมากกว่าบุคคลที่เป็นประชาชนทั่วไป[๒] 
นอกจากนั้น ยังได้บัญญัติให้บุคคลมีหน้าที่ต่าง ๆ คือ รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข บุคคลมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย มีหน้าที่ป้องกันประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน้าที่สำคัญเพิ่มจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นของชนชาวไทยที่เป็นบุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชน จะเห็นได้ว่าชาวไทยที่เป็นข้าราชการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ของชนชาวไทยมากกว่าบุคคลที่เป็นประชาชนทั่วไป<ref>คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์).''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๑๐๑๒-๑๐๑๓.</ref>


==เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับหน้าที่ของชนชาวไทย==
==เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับหน้าที่ของชนชาวไทย==
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 30:
จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหน้าที่ของประชาชนไทย ไว้ในหมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย ดังนี้  
จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหน้าที่ของประชาชนไทย ไว้ในหมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย ดังนี้  


๑. บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ '''(มาตรา ๗๐)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref> โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้เป็นหน้าที่ของบุคคลทุกคนในการพิทักษ์รักษาชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่แก้ไขถ้อยคำเพื่อให้ชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ เป็นครั้งแรกอีกด้วย [๗] , []
๑. บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ '''(มาตรา ๗๐)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref> โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้เป็นหน้าที่ของบุคคลทุกคนในการพิทักษ์รักษาชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่แก้ไขถ้อยคำเพื่อให้ชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>


๒. บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย '''(มาตรา ๗๑)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref> โดยมีเจตนารมณ์เพื่อกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่ต่อประเทศ บุคคลที่เป็นประชาชนชาวไทยทุกคนต้องมีหน้าที่ในการปกป้องประเทศไม่ว่าด้านใดๆ รวมทั้งต้องรักษาผลประโยชน์ของชาติ และมีหน้าที่เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อให้ประเทศและประชาชนมีความผาสุก ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของชาติด้วย นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นครั้งแรกอีกด้วย [๗] , []  
๒. บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย '''(มาตรา ๗๑)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref> โดยมีเจตนารมณ์เพื่อกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่ต่อประเทศ บุคคลที่เป็นประชาชนชาวไทยทุกคนต้องมีหน้าที่ในการปกป้องประเทศไม่ว่าด้านใดๆ รวมทั้งต้องรักษาผลประโยชน์ของชาติ และมีหน้าที่เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อให้ประเทศและประชาชนมีความผาสุก ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของชาติด้วย นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>


๓. บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง '''(มาตรา ๗๒)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref>
๓. บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง '''(มาตรา ๗๒)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref>


บุคคลซึ่งไปใช้สิทธิหรือไม่ไปใช้สิทธิโดยไม่แจ้งเหตุอันสมควรที่ทำให้ไม่อาจไปใช้สิทธิได้ ย่อมได้รับสิทธิหรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ
บุคคลซึ่งไปใช้สิทธิหรือไม่ไปใช้สิทธิโดยไม่แจ้งเหตุอันสมควรที่ทำให้ไม่อาจไปใช้สิทธิได้ ย่อมได้รับสิทธิหรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 40:
การแจ้งเหตุที่ทำให้ไม่อาจไปเลือกตั้งและการอำนวยความสะดวกในการไปเลือกตั้งให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
การแจ้งเหตุที่ทำให้ไม่อาจไปเลือกตั้งและการอำนวยความสะดวกในการไปเลือกตั้งให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ


โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีส่วนร่วมในการเลือกตัวแทนของตนเข้าสู่ระบบการปกครอง กำหนดให้บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งมีหน้าที่ต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ดังนั้น รัฐต้องมีหน้าที่โดยตรงในการอำนวยความสะดวกและจัดให้สามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้โดยง่าย การไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควรย่อมเสียสิทธิบางประการตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ในทางตรงกันข้ามหากไปใช้สิทธิเลือกตั้งย่อมได้สิทธิบางประการตามที่กฎหมายบัญญัติเช่นกัน เพื่อเป็นการจูงใจให้บุคคลไปใช้สิทธิเลือกตั้งควบคู่กับการตัดสิทธิของผู้ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการซื้อสิทธิขายเสียงอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มให้ผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งอาจได้รับสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>
โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีส่วนร่วมในการเลือกตัวแทนของตนเข้าสู่ระบบการปกครอง กำหนดให้บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งมีหน้าที่ต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ดังนั้น รัฐต้องมีหน้าที่โดยตรงในการอำนวยความสะดวกและจัดให้สามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้โดยง่าย การไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควรย่อมเสียสิทธิบางประการตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ในทางตรงกันข้ามหากไปใช้สิทธิเลือกตั้งย่อมได้สิทธิบางประการตามที่กฎหมายบัญญัติเช่นกัน เพื่อเป็นการจูงใจให้บุคคลไปใช้สิทธิเลือกตั้งควบคู่กับการตัดสิทธิของผู้ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการซื้อสิทธิขายเสียงอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มให้ผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งอาจได้รับสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>


๔. บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ '''(มาตรา ๗๓)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref> โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่เสียสละ และมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม บทบัญญัตินี้จึงกำหนดให้ประชาชนชาวไทยทุกคนต้องมีหน้าที่เสียสละเพื่อส่วนรวมในการรับราชการทหาร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ ตลอดจนมีหน้าที่อื่นๆ เช่น รับการศึกษาอบรม ปกป้องศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของชาติและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มหน้าที่ของประชาชนในการช่วยเหลือป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>
๔. บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ '''(มาตรา ๗๓)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref> โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่เสียสละ และมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม บทบัญญัตินี้จึงกำหนดให้ประชาชนชาวไทยทุกคนต้องมีหน้าที่เสียสละเพื่อส่วนรวมในการรับราชการทหาร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ ตลอดจนมีหน้าที่อื่นๆ เช่น รับการศึกษาอบรม ปกป้องศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของชาติและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มหน้าที่ของประชาชนในการช่วยเหลือป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>


๕. บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
๕. บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
บรรทัดที่ 48: บรรทัดที่ 48:
ในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง
ในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง


ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งละเลยหรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง บุคคลผู้มีส่วนได้เสียย่อมมีสิทธิขอให้บุคคลตามวรรคหนึ่งหรือผู้บังคับบัญชาของบุคคลดังกล่าวชี้แจง แสดงเหตุผลและขอให้ดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได้ '''(มาตรา ๗๔)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref>
ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งละเลยหรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง บุคคลผู้มีส่วนได้เสียย่อมมีสิทธิขอให้บุคคลตามวรรคหนึ่งหรือผู้บังคับบัญชาของบุคคลดังกล่าวชี้แจง แสดงเหตุผลและขอให้ดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได้ '''(มาตรา ๗๔)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ''' เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.</ref>


โดยเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐต้องปฏิบัติหน้าที่เพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวกและบริการแก่ ประชาชนตามหลัก        ธรรมาภิบาล และต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง หลักธรรมาภิบาล ได้แก่ ๑) เกิดผลประโยชน์สุขของประชาชน ๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ๓) มีประสิทธิภาพและมีความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ๔) ไม่มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น ๕) ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ ๖) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ ๗) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ผู้สมัครรับการเลือกตั้งหรือพรรคการเมืองไม่ว่าระดับใดมีส่วนได้เปรียบหรือเสียเปรียบทางการเมือง และเพื่อกำกับตลอดจนปรับปรุงการดำเนินงานของข้าราชการ และพนักงานของรัฐเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นกลางทางการเมือง ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และเป็นหลักการที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>
โดยเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐต้องปฏิบัติหน้าที่เพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวกและบริการแก่ ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล และต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง หลักธรรมาภิบาล ได้แก่ ๑) เกิดผลประโยชน์สุขของประชาชน ๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ๓) มีประสิทธิภาพและมีความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ๔) ไม่มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น ๕) ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ ๖) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ ๗) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ผู้สมัครรับการเลือกตั้งหรือพรรคการเมืองไม่ว่าระดับใดมีส่วนได้เปรียบหรือเสียเปรียบทางการเมือง และเพื่อกำกับตลอดจนปรับปรุงการดำเนินงานของข้าราชการ และพนักงานของรัฐเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นกลางทางการเมือง ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และเป็นหลักการที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นครั้งแรกอีกด้วย<ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.</ref>,<ref>'''รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>


จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นจะเห็นได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ของชนชาวไทยทุกคนนั้น ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับทุกคนเลย และถึงเวลาแล้วที่คนไทยทุกคน ทุกฝ่ายจะต้องหันหน้ามาดำเนินการตามหน้าที่ของชนชาวไทย เพื่อแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหาที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ด้วยสันติวิธี เนื่องจากวิกฤติของประเทศไทยในวันนี้มีทั้งวิกฤติเศรษฐกิจการเงินโลก วิกฤติทางการเมือง และวิกฤติความแตกแยกของคนในสังคม อันส่งผลต่อวิกฤติสถาบันชาติ สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชน ดังนั้น คนไทยทุกคนต้องยืนหยัด ปกป้องและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวมทั้งปฎิบัติตามกฎหมายและประพฤติตนเป็นพลเมืองดีตามรัฐธรรมนูญอย่างเข้มแข็ง.
จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นจะเห็นได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ของชนชาวไทยทุกคนนั้น ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับทุกคนเลย และถึงเวลาแล้วที่คนไทยทุกคน ทุกฝ่ายจะต้องหันหน้ามาดำเนินการตามหน้าที่ของชนชาวไทย เพื่อแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหาที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ด้วยสันติวิธี เนื่องจากวิกฤติของประเทศไทยในวันนี้มีทั้งวิกฤติเศรษฐกิจการเงินโลก วิกฤติทางการเมือง และวิกฤติความแตกแยกของคนในสังคม อันส่งผลต่อวิกฤติสถาบันชาติ สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชน ดังนั้น คนไทยทุกคนต้องยืนหยัด ปกป้องและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวมทั้งปฎิบัติตามกฎหมายและประพฤติตนเป็นพลเมืองดีตามรัฐธรรมนูญอย่างเข้มแข็ง.


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 60: บรรทัดที่ 60:
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


๑. คณิน บุญสุวรรณ. คู่มือการใช้สิทธิของประชาชน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.
๑. คณิน บุญสุวรรณ. คู่มือการใช้สิทธิของประชาชน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.


๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.
๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.


๓. มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.
๓. มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.


๔. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๔๘.
๔. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๔๘.


๕. อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.  
๕. อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.  


๖. สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับพุทธศักราช ๒๕๕๐ พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.
๖. สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับพุทธศักราช ๒๕๕๐ พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==
บรรทัดที่ 76: บรรทัดที่ 76:
คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.
คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.


คณิน บุญสุวรรณ. คู่มือการใช้สิทธิของประชาชน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.
คณิน บุญสุวรรณ. คู่มือการใช้สิทธิของประชาชน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.


คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.  
คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.  
มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.
มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.


รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐.


สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับพุทธศักราช ๒๕๕๐ พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.
สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับพุทธศักราช ๒๕๕๐ พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : บริษัท           รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๔๘.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๔๘.


สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. หน้าที่ของชนชาวไทย [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://www.senate.go.th/web-senate/leftmenu/roles-thai.htm สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. หน้าที่ของชนชาวไทย [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://www.senate.go.th/web-senate/leftmenu/roles-thai.htm สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.


อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท             ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.  
อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.  


[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]
[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:06, 20 พฤศจิกายน 2552

ผู้เรียบเรียง พุทธชาติ ทองเอม

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การรักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตรย์ นับเป็นหน้าที่หลัก ที่คนไทยทุกคนต้องระลึกและยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดยเฉพาะในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศที่อยู่ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งประชาชนสามารถเข้ามามีสิทธิ มีส่วนในการปกครองประเทศ หน้าที่สำคัญของชาวไทยทุกคนก็คือ ต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งเพื่อเลือกบุคคลที่จะมาใช้อำนาจอธิปไตยแทนตนเอง หน้าที่ป้องกันประเทศชาติ หน้าที่รับราชการทหาร หน้าที่เสียภาษีอากร หน้าที่รับการศึกษาอบรม และหน้าที่อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็ตาม เพื่อประโยชน์ของสังคมและความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติให้ทัดเทียมนานาประเทศโดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนั้น

ความหมาย

คำว่า “หน้าที่” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึง กิจที่จะต้องทำด้วยความรับผิดชอบ[1] แต่เมื่อนำคำว่า “หน้าที่” รวมกับคำว่า “ชนชาวไทย” เป็น “หน้าที่ของชนชาวไทย” คณิน บุญสุวรรณ ได้ให้ความหมายไว้ในหนังสือปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์) ว่า ภาระและความรับผิดชอบที่รัฐธรรมนูญกำหนดบังคับให้บุคคลซึ่งเป็นชนชาวไทยต้องปฏิบัติ หรือกระทำให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย เมื่อรัฐธรรมนูญกำหนดว่าการกระทำใดเป็นหน้าที่ของพลเมืองแล้ว ถ้าหากผู้ใดไม่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติถือว่าเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายและจะถูกลงโทษ[2]

อย่างไรก็ตาม หน้าที่ของชนชาวไทย ถือว่าเป็นภาระและความรับผิดชอบของประชาชนชาวไทยทุกคนที่ต้องยึดถือปฏิบัตินั่นเอง

การกำหนดหน้าที่ของชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ

ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีสองสถานะ คือ[3]

๑. ฐานะผู้ปกครอง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้อำนาจอธิปไตย ซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองเป็นของปวงชนชาวไทย และประชาชนสามารถใช้อำนาจดังกล่าว ผ่านการเลือกผู้แทนของตน อันได้แก่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ในรัฐสภาแทนตน

๒. ฐานะผู้อยู่ภายใต้การปกครอง รัฐธรรมนูญนอกจากจะมีบทบัญญัติในเรื่องการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพไว้อย่างชัดเจน ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดให้ประชาชนมีหน้าที่บางประการควบคู่ไปด้วย กล่าวคือ เมื่อรัฐได้ให้หลักประกันในสิทธิและเสรีภาพแก่ประชาชนแล้ว ประชาชนก็มีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อรัฐด้วย

จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศได้กำหนดรูปแบบของการปกครอง และเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยรัฐธรรมนูญทุกฉบับที่ผ่านมาได้กำหนดเรื่องสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทยไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ คำว่า “สิทธิ” มีคำคู่กันอยู่คือ “หน้าที่” ไม่ว่าเรื่องใด ๆ ก็ตาม เมื่อมี “สิทธิ” ก็ยอมมี “หน้าที่” คู่กันเสมอ เมื่อเราเกิดมาเป็นคนไทยมีสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญไทยกำหนด เราก็ย่อมมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติในฐานะเป็นคนไทยด้วยเช่นกัน[4] ซึ่งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญย่อมรับรองสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลของประชาชนไว้อย่างชัดเจน แม้รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้สิทธิแก่ประชาชนแต่ได้กำหนดหน้าที่ให้แก่ประชาชนเช่นกัน อาทิ รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ความเสมอภาคแก่บุคคลในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่รัฐมีหน้าที่ต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย แต่ในขณะเดียวกันก็บัญญัติให้บุคคลมีหน้าที่รับการศึกษาดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าพลเมืองที่มีการศึกษาดีย่อมเป็นทรัพยากรที่ดีในการพัฒนาประเทศต่อไป การกำหนดหน้าที่ดังกล่าวเป็นการกำหนดหน้าที่ของบุคคล เพื่อเป็นประโยชน์แก่ประเทศหรือสังคมส่วนรวม เช่นเดียวกันกับในเรื่องของสิทธิในการเลือกตั้ง รัฐมีหน้าที่ต้องส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง โดยกำหนดให้สิทธิแก่บุคคลทั่วไปในการใช้สิทธิการเลือกตั้ง หรือสมัครรับเลือกตั้ง ในขณะเดียวกัน เมื่อสังคมเห็นว่าการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นเรื่องจำเป็น เพื่อให้ประเทศได้มีผู้แทนที่ดี เป็นที่ยอมรับแก่ประชาชนและเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งในการปฏิรูปทางการเมืองอย่างน้อยในแง่การป้องกันหรือลดการซื้อเสียงแล้วรัฐก็ย่อมมีอำนาจกำหนดให้บุคคลไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้ เพื่อประโยชน์ของสังคมและความเจริญก้าวหน้าของชาติ[5]

นอกจากนั้น ยังได้บัญญัติให้บุคคลมีหน้าที่ต่าง ๆ คือ รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข บุคคลมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย มีหน้าที่ป้องกันประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน้าที่สำคัญเพิ่มจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นของชนชาวไทยที่เป็นบุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชน จะเห็นได้ว่าชาวไทยที่เป็นข้าราชการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ของชนชาวไทยมากกว่าบุคคลที่เป็นประชาชนทั่วไป[6]

เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับหน้าที่ของชนชาวไทย

จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำหนดหน้าที่ของประชาชนไทย ไว้ในหมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย ดังนี้

๑. บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ (มาตรา ๗๐)[7] โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้เป็นหน้าที่ของบุคคลทุกคนในการพิทักษ์รักษาชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่แก้ไขถ้อยคำเพื่อให้ชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ เป็นครั้งแรกอีกด้วย[8],[9]

๒. บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย (มาตรา ๗๑)[10] โดยมีเจตนารมณ์เพื่อกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่ต่อประเทศ บุคคลที่เป็นประชาชนชาวไทยทุกคนต้องมีหน้าที่ในการปกป้องประเทศไม่ว่าด้านใดๆ รวมทั้งต้องรักษาผลประโยชน์ของชาติ และมีหน้าที่เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อให้ประเทศและประชาชนมีความผาสุก ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของชาติด้วย นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นครั้งแรกอีกด้วย[11],[12]

๓. บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง (มาตรา ๗๒)[13]

บุคคลซึ่งไปใช้สิทธิหรือไม่ไปใช้สิทธิโดยไม่แจ้งเหตุอันสมควรที่ทำให้ไม่อาจไปใช้สิทธิได้ ย่อมได้รับสิทธิหรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ

การแจ้งเหตุที่ทำให้ไม่อาจไปเลือกตั้งและการอำนวยความสะดวกในการไปเลือกตั้งให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีส่วนร่วมในการเลือกตัวแทนของตนเข้าสู่ระบบการปกครอง กำหนดให้บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งมีหน้าที่ต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ดังนั้น รัฐต้องมีหน้าที่โดยตรงในการอำนวยความสะดวกและจัดให้สามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้โดยง่าย การไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควรย่อมเสียสิทธิบางประการตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ในทางตรงกันข้ามหากไปใช้สิทธิเลือกตั้งย่อมได้สิทธิบางประการตามที่กฎหมายบัญญัติเช่นกัน เพื่อเป็นการจูงใจให้บุคคลไปใช้สิทธิเลือกตั้งควบคู่กับการตัดสิทธิของผู้ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการซื้อสิทธิขายเสียงอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มให้ผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งอาจได้รับสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ เป็นครั้งแรกอีกด้วย[14],[15]

๔. บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา ๗๓)[16] โดยมีเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่เสียสละ และมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม บทบัญญัตินี้จึงกำหนดให้ประชาชนชาวไทยทุกคนต้องมีหน้าที่เสียสละเพื่อส่วนรวมในการรับราชการทหาร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ ตลอดจนมีหน้าที่อื่นๆ เช่น รับการศึกษาอบรม ปกป้องศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของชาติและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ แต่เพิ่มหน้าที่ของประชาชนในการช่วยเหลือป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ นอกจากนี้หลักการดังกล่าวยังได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นครั้งแรกอีกด้วย[17],[18]

๕. บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง

ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งละเลยหรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง บุคคลผู้มีส่วนได้เสียย่อมมีสิทธิขอให้บุคคลตามวรรคหนึ่งหรือผู้บังคับบัญชาของบุคคลดังกล่าวชี้แจง แสดงเหตุผลและขอให้ดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได้ (มาตรา ๗๔)[19]

โดยเจตนารมณ์ เพื่อกำหนดให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐต้องปฏิบัติหน้าที่เพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวกและบริการแก่ ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล และต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง หลักธรรมาภิบาล ได้แก่ ๑) เกิดผลประโยชน์สุขของประชาชน ๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ๓) มีประสิทธิภาพและมีความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ๔) ไม่มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น ๕) ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ ๖) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ ๗) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ผู้สมัครรับการเลือกตั้งหรือพรรคการเมืองไม่ว่าระดับใดมีส่วนได้เปรียบหรือเสียเปรียบทางการเมือง และเพื่อกำกับตลอดจนปรับปรุงการดำเนินงานของข้าราชการ และพนักงานของรัฐเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นกลางทางการเมือง ซึ่งหลักการดังกล่าวเป็นหลักการเดิมตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และเป็นหลักการที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นครั้งแรกอีกด้วย[20],[21]

จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นจะเห็นได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ของชนชาวไทยทุกคนนั้น ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับทุกคนเลย และถึงเวลาแล้วที่คนไทยทุกคน ทุกฝ่ายจะต้องหันหน้ามาดำเนินการตามหน้าที่ของชนชาวไทย เพื่อแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหาที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ด้วยสันติวิธี เนื่องจากวิกฤติของประเทศไทยในวันนี้มีทั้งวิกฤติเศรษฐกิจการเงินโลก วิกฤติทางการเมือง และวิกฤติความแตกแยกของคนในสังคม อันส่งผลต่อวิกฤติสถาบันชาติ สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชน ดังนั้น คนไทยทุกคนต้องยืนหยัด ปกป้องและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวมทั้งปฎิบัติตามกฎหมายและประพฤติตนเป็นพลเมืองดีตามรัฐธรรมนูญอย่างเข้มแข็ง.

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๖ หน้า ๑๒๔๗.
  2. คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๑๐๑๒-๑๐๑๓.
  3. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. หน้าที่ของชนชาวไทย [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://www.senate.go.th/web-senate/leftmenu/roles-thai.htm สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
  4. มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖, หน้า ๑.
  5. อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑, หน้า ๗๓-๗๕.
  6. คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๑๐๑๒-๑๐๑๓.
  7. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.
  8. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.
  9. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
  10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.
  11. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.
  12. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
  13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.
  14. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.
  15. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
  16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.
  17. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.
  18. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.
  19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ หน้า ๒๐.
  20. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐, หน้า ๖๔-๖๗.
  21. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

๑. คณิน บุญสุวรรณ. คู่มือการใช้สิทธิของประชาชน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.

๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.

๓. มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.

๔. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๔๘.

๕. อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.

๖. สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับพุทธศักราช ๒๕๕๐ พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.

บรรณานุกรม

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.

คณิน บุญสุวรรณ. คู่มือการใช้สิทธิของประชาชน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.

คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สำนักกรรมาธิการ ๓, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.

มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.

รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๐ วันจันทร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๐. [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ giventake/content_ca/r061850.pdf สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐.

สำนักกรรมาธิการ ๓ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ตารางความแตกต่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับพุทธศักราช ๒๕๕๐ พร้อมเหตุผลโดยสังเขป. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สรรสาระรัฐธรรมนูญไทย, กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๔๘.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. หน้าที่ของชนชาวไทย [ข้อมูลออนไลน์] สืบค้นได้จาก http://www.senate.go.th/web-senate/leftmenu/roles-thai.htm สืบค้นวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒.

อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.