ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรหาร ศิลปอาชา (ปลาไหลใส่สเก็ต)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
==ชาตะ==
==ชาตะ==


นายบรรหาร ศิลปอาชา เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ปัจจุบันอายุ ๗๗ ปี เกิดที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อเดิมคือ “เต็กเซียง แซ่เบ๊” (马德祥) เป็นบุตรคนที่ ของนายเซ่งกิมและนางสายเอ็ง ศิลปอาชา แซ่เดิมคือ “แซ่เบ๊”[] มีพี่น้องทั้งหมด คน เป็นชาย คน หญิง คน คือ
นายบรรหาร ศิลปอาชา เกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ปัจจุบันอายุ 77 ปี เกิดที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อเดิมคือ “เต็กเซียง แซ่เบ๊” (马德祥) เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายเซ่งกิมและนางสายเอ็ง ศิลปอาชา แซ่เดิมคือ “แซ่เบ๊”<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''“บรรหาร ศิลปอาชา”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref> มีพี่น้องทั้งหมด 6 คน เป็นชาย 4 คน หญิง 2 คน คือ


. นายสมบูรณ์ ศิลปอาชา
1. นายสมบูรณ์ ศิลปอาชา


. นายอุดม เกิดสินชัย (ถึงแก่กรรม)
2. นายอุดม เกิดสินชัย (ถึงแก่กรรม)


. นางสายใจ ศิลปอาชา
3. นางสายใจ ศิลปอาชา


. นายบรรหาร ศิลปอาชา
4. นายบรรหาร ศิลปอาชา


. นางดรุณี วายากูล
5. นางดรุณี วายากูล


. นายชุมพล ศิลปอาชา[๒]
6. นายชุมพล ศิลปอาชา<ref>ธนากิต, '''ประวัตินายกรัฐมนตรีไทย''' (กรุงเทพฯ : ปิระมิด, 2545) หน้า 1.</ref>


==การสมรส==
==การสมรส==


นายบรรหาร ศิลปอาชา สมรสกับคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอาชา (เลขวัต) เมื่อวันที่ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๕ มีบุตรธิดารวม คน เป็นชาย หญิง คือ
นายบรรหาร ศิลปอาชา สมรสกับคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอาชา (เลขวัต) เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 มีบุตรธิดารวม 3 คน เป็นชาย 1 หญิง 2 คือ


. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
1. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา


. นางสาวปาริชาต ศิลปอาชา (ปัจจุบันสมรสแล้ว)
2. นางสาวปาริชาต ศิลปอาชา (ปัจจุบันสมรสแล้ว)


. นายวราวุธ ศิลปอาชา (ปัจจุบันสมรสกับคุณสุวรรณา ไรวินท์ (เก๋) ทายาทตระกูลไรวินท์ เจ้าของธุรกิจซุปไก่ก้อนรีวอง)[]
3. นายวราวุธ ศิลปอาชา (ปัจจุบันสมรสกับคุณสุวรรณา ไรวินท์ (เก๋) ทายาทตระกูลไรวินท์ เจ้าของธุรกิจซุปไก่ก้อนรีวอง)<ref>ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย, '''“บรรหาร ศิลปอาชา”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://politicalbase.in.th/index.php (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref>


ปัจจุบันนางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายวราวุธ ศิลปอาชาต่างดำเนินรอยตามผู้เป็นบิดาโดยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี[๔]
ปัจจุบันนางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายวราวุธ ศิลปอาชาต่างดำเนินรอยตามผู้เป็นบิดาโดยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี<ref>ธนากิต, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


==การศึกษา==
==การศึกษา==


นายบรรหาร ศิลปอาชา เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จากโรงเรียนประทีปวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องจากเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ จึงพักการเรียนไปชั่วขณะหนึ่ง โดยหันไปทำกิจการของตนเอง และได้เรียนภาษาจีนไปด้วย จากนั้นได้ไปศึกษาต่อที่กรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย และฝึกงานด้านส่งสินค้าและการก่อสร้างกับ นายสมบูรณ์ ศิลปอาชา ผู้เป็นพี่ชาย[๕] และเปิดบริษัทรับเหมาก่อสร้างเป็นของตัวเอง อีกทั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายคลอรีนให้กับการประปาส่วนภูมิภาค จนมีฐานะร่ำรวย[๖] ภายหลังเมื่อเป็นนักการเมืองได้เข้าศึกษาต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ต่อมาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๑
นายบรรหาร ศิลปอาชา เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จากโรงเรียนประทีปวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องจากเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงพักการเรียนไปชั่วขณะหนึ่ง โดยหันไปทำกิจการของตนเอง และได้เรียนภาษาจีนไปด้วย จากนั้นได้ไปศึกษาต่อที่กรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย และฝึกงานด้านส่งสินค้าและการก่อสร้างกับ นายสมบูรณ์ ศิลปอาชา ผู้เป็นพี่ชาย<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้าเดียวกัน.</ref> และเปิดบริษัทรับเหมาก่อสร้างเป็นของตัวเอง อีกทั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายคลอรีนให้กับการประปาส่วนภูมิภาค จนมีฐานะร่ำรวย<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref> ภายหลังเมื่อเป็นนักการเมืองได้เข้าศึกษาต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในปี พ.ศ. 2529 ต่อมาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อปี พ.ศ. 2531 และศึกษาต่อจนสำเร็จนิติศาสตร์มหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง<ref>ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย, เรื่องเดิม.</ref> รวมทั้งได้รับปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>
และศึกษาต่อจนสำเร็จนิติศาสตร์มหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง[๗] รวมทั้งได้รับปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา[๘]


==ประวัติการทำงาน==
==ประวัติการทำงาน==


• พ.ศ. ๒๕๑๗ นายบรรหาร ศิลปอาชา เข้าสู่วงการเมืองจากการชักชวนของนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ตั้งแต่มีการก่อตั้งพรรคชาติไทย เมื่อ ปีพ.ศ. ๒๕๑๗ และต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[]
• พ.ศ. 2517 นายบรรหาร ศิลปอาชา เข้าสู่วงการเมืองจากการชักชวนของนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ตั้งแต่มีการก่อตั้งพรรคชาติไทย เมื่อ ปีพ.ศ. 2517 และต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ<ref>ศูนย์ติดตามประชาธิปไตยไทย, '''“บรรหาร ศิลปอาชา”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (26 ตุลาคม 2552)</ref>


• พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นสมาชิกวุฒิสภา  
• พ.ศ. 2518 เป็นสมาชิกวุฒิสภา  


• พ.ศ. ๒๕๑๙ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรีครั้งแรก
• พ.ศ. 2519 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรีครั้งแรก


• พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๒๑ เมษายน ๒๕๑๙ ๒๕ กันยายน ๒๕๑๙ และ ตุลาคม ๒๕๑๙ ตุลาคม ๒๕๑๙)[๑๐]
• พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 21 เมษายน 2519 25 กันยายน 2519 และ 5 ตุลาคม 2519 6 ตุลาคม 2519)<ref>นิพัทธ์  สระฉันทพงษ์, '''เอกสารวงงานรัฐสภา “รวมรายชื่อคณะรัฐมนตรีตั้งแต่คณะแรกจนถึงคณะปัจจุบัน''' (กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2544) หน้า 326.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
• พ.ศ. 2521 เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ


• พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นเลขาธิการพรรคชาติไทย[๑๑]
• พ.ศ. 2523 เป็นเลขาธิการพรรคชาติไทย<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๒๓ ๒๕๒๔ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมัยรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๒ มีนาคม ๒๕๒๓ ๑๑ มีนาคม ๒๕๒๔)[๑๒]
• พ.ศ. 2523 2524 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมัยรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 12 มีนาคม 2521 11 มีนาคม 2524)<ref>นิพัทธ์  สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๒๖ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี  
• พ.ศ. 2526 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี  


• พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี[๑๓]
• พ.ศ. 2529 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๒๙ ๒๕๓๑ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๙ สิงหาคม ๒๕๓๑)[๑๔]
• พ.ศ. 2529 2531 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 11 สิงหาคม 2529 4 สิงหาคม 2531)<ref>นิพัทธ์  สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี[๑๕]
• พ.ศ. 2531 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๑ ๒๕๓๓ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง สิงหาคม ๒๕๓๑ – ๙ มกราคม ๒๕๓๓)
• พ.ศ. 2531 2533 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 9 สิงหาคม ๒๕๓๑ – ๙ มกราคม ๒๕๓๓)


• พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สมัยรัฐบาล พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๙ มกราคม ๒๕๓๓ – ๙ ธันวาคม ๒๕๓๓)
• พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สมัยรัฐบาล พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๙ มกราคม ๒๕๓๓ – ๙ ธันวาคม ๒๕๓๓)


• พ.ศ. ๒๕๓๓ – ๒๕๓๔ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง สมัยรัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๔ ธันวาคม ๒๕๓๓ – ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔)[๑๖]
• พ.ศ. ๒๕๓๓ – ๒๕๓๔ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง สมัยรัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๔ ธันวาคม ๒๕๓๓ – ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔)<ref>นิพัทธ์  สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี[๑๗]
• พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยรัฐบาล พลเอก สุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๗ เมษายน ๒๕๓๕ – ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕)[๑๘]
• พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยรัฐบาล พลเอก สุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๗ เมษายน ๒๕๓๕ – ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕)<ref>นิพัทธ์  สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี  
• พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี  


• พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย และเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี และเมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฏร เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ และมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ นายบรรหาร ศิลปอาชา ในฐานะที่เป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกของพรรคได้รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นจำนวนมากที่สุด ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล[๑๙]
• พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย และเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี และเมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฏร เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ และมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ นายบรรหาร ศิลปอาชา ในฐานะที่เป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกของพรรคได้รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นจำนวนมากที่สุด ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ของประเทศไทย และควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘) โดยมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ - วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ (คณะรัฐมนตรีคณะที่ ๕๑) และมีการยุบสภา เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรักษาการในตำแหน่งถึงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ อันเป็นวันแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ รวมระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑ ปี ๔ เดือน[๒๐]
• พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ของประเทศไทย และควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘) โดยมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ - วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ (คณะรัฐมนตรีคณะที่ ๕๑) และมีการยุบสภา เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรักษาการในตำแหน่งถึงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ อันเป็นวันแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ รวมระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑ ปี ๔ เดือน<ref>ธนากิต, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


• พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี  
• พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี  


• พ.ศ. ๒๕๔๐ ประธานที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  
• พ.ศ. ๒๕๔๐ ประธานที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  


• พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ  
• พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ  


• พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมอาหารกลางวันให้เด็กนักเรียนอิ่มทุกคนทุกวัน  
• พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมอาหารกลางวันให้เด็กนักเรียนอิ่มทุกคนทุกวัน  


• พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นนายกสภาประจำสถาบันราชภัฎสวนสุนันทา
• พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นนายกสภาประจำสถาบันราชภัฎสวนสุนันทา


• พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เขต ๔  
• พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เขต ๔  


• พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เขต ๔
• พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เขต ๔


• พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยคะแนนสูงที่สุดในประเทศ[๒๑]
• พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยคะแนนสูงที่สุดในประเทศ<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


==สมญานามที่ได้รับ==
==สมญานามที่ได้รับ==


นายบรรหาร ศิลปอาชา มีสมญานามมากมาย จากลักษณะเด่นหลายประการ เช่น มีฐานเสียงหนาแน่นที่สุดในจังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานะเป็นเจ้าถิ่นจนได้สมญาว่า “มังกรสุพรรณ” หรือ “มังกรการเมือง” และเนื่องจากมีลักษณะคล้าย “เติ้งเสี่ยวผิง” อดีตผู้นำจีน สื่อมวลชนจึงนิยมเรียก นายบรรหาร ศิลปอาชา สั้น ๆ ว่า “เติ้ง” หรือ “เติ้งเสี่ยวหาร”[๒๒]
นายบรรหาร ศิลปอาชา มีสมญานามมากมาย จากลักษณะเด่นหลายประการ เช่น มีฐานเสียงหนาแน่นที่สุดในจังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานะเป็นเจ้าถิ่นจนได้สมญาว่า “มังกรสุพรรณ” หรือ “มังกรการเมือง” และเนื่องจากมีลักษณะคล้าย “เติ้งเสี่ยวผิง” อดีตผู้นำจีน สื่อมวลชนจึงนิยมเรียก นายบรรหาร ศิลปอาชา สั้น ๆ ว่า “เติ้ง” หรือ “เติ้งเสี่ยวหาร”<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้าเดียวกัน.</ref>


==การพ้นสภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากคดียุบพรรคชาติไทย==
==การพ้นสภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากคดียุบพรรคชาติไทย==
บรรทัดที่ 105: บรรทัดที่ 104:
สงฆ์ประชา และนายสุนทร วิลาวัลย์ แต่การที่ทั้งสองคนต่างก็เป็นกรรมการบริหารพรรค กกต. จึงพิจารณาตามมาตรา ๒๓๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และมาตรา ๑๐๓ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งบัญญัติไว้ตรงกันว่า ถ้าการกระทำดังกล่าวปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าหัวหน้าพรรคหรือกรรมการบริหารพรรคมีส่วนรู้เห็น หรือปล่อยปละละเลย หรือทราบแล้วไม่ได้ยับยั้งหรือแก้ไข เพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้ถือว่าพรรคการเมืองนั้นกระทำการซึ่งให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
สงฆ์ประชา และนายสุนทร วิลาวัลย์ แต่การที่ทั้งสองคนต่างก็เป็นกรรมการบริหารพรรค กกต. จึงพิจารณาตามมาตรา ๒๓๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และมาตรา ๑๐๓ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งบัญญัติไว้ตรงกันว่า ถ้าการกระทำดังกล่าวปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าหัวหน้าพรรคหรือกรรมการบริหารพรรคมีส่วนรู้เห็น หรือปล่อยปละละเลย หรือทราบแล้วไม่ได้ยับยั้งหรือแก้ไข เพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้ถือว่าพรรคการเมืองนั้นกระทำการซึ่งให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ


ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้นายทะเบียนพรรคการเมือง (ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง) ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรา ๙๕ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๐ ไม่อาจใช้ดุลยพินิจในการเลือกที่จะแจ้งหรือไม่แจ้งต่ออัยการสูงสุด[๒๓]
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้นายทะเบียนพรรคการเมือง (ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง) ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรา ๙๕ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๐ ไม่อาจใช้ดุลยพินิจในการเลือกที่จะแจ้งหรือไม่แจ้งต่ออัยการสูงสุด<ref>วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''“คำร้องให้ยุบพรรคชาติไทยและพรรคมัชฌิมาธิปไตย”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref>


ต่อมาเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ ศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยคดียุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ด้วยมติเป็นเอกฉันท์ ๘ ต่อ ๑ สั่งยุบพรรคชาติไทย โดยศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่าพรรคมีความผิดตามมาตรา ๒๓๗ วรรค ๒ และมาตรา ๖๘ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ถือว่าเป็นข้อเท็จจริงที่ปฏิเสธไม่ได้ และกฎหมายได้บัญญัติไว้เป็นเด็ดขาด แม้จะมีการโต้แย้งว่าหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรคคนอื่นไม่มีส่วนรู้เห็นจึงฟังไม่ขึ้น จากการยุบพรรคในครั้งนี้ทำให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคชาติไทยและกรรมการบริหารพรรคชาติไทย จำนวน ๔๓ คน เป็นเวลา ๕ ปี[๒๔] โดยนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย รวมทั้งนายวราวุธ ศิลปอาชาและนางสาวกัญจนา ศิลปอาชากรรมการบริหารพรรคถูกเพิกถอนสิทธิในครั้งนี้ด้วย[๒๕]
ต่อมาเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ ศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยคดียุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ด้วยมติเป็นเอกฉันท์ ๘ ต่อ ๑ สั่งยุบพรรคชาติไทย โดยศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่าพรรคมีความผิดตามมาตรา ๒๓๗ วรรค ๒ และมาตรา ๖๘ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ถือว่าเป็นข้อเท็จจริงที่ปฏิเสธไม่ได้ และกฎหมายได้บัญญัติไว้เป็นเด็ดขาด แม้จะมีการโต้แย้งว่าหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรคคนอื่นไม่มีส่วนรู้เห็นจึงฟังไม่ขึ้น จากการยุบพรรคในครั้งนี้ทำให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคชาติไทยและกรรมการบริหารพรรคชาติไทย จำนวน ๔๓ คน เป็นเวลา ๕ ปี<ref>เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคชาติไทย, '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๖ ก (๑๙ มีนาคม ๒๕๕๒) : หน้า ๗๙.</ref> โดยนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย รวมทั้งนายวราวุธ ศิลปอาชาและนางสาวกัญจนา ศิลปอาชากรรมการบริหารพรรคถูกเพิกถอนสิทธิในครั้งนี้ด้วย<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, “บรรหาร ศิลปอาชา”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref>


==ผลงานที่สำคัญ==
==ผลงานที่สำคัญ==


นายบรรหาร ศิลปอาชา มีความตั้งใจในการอุทิศตัวและอุทิศเวลา เพื่อทำงานให้แก่ประเทศชาติบ้านเมือง เป็นนักบริหารที่รับฟังข้อเสนอแนะทั้งจากบุคคลรอบข้างและทีมนักวิชาการ นอกจากนั้นยังรู้จักประสานงานและติดตามงานตรวจสอบอยู่เสมอ ผลงานที่โดดเด่นเป็นการส่วนตัวคือ การสร้างสิ่งต่างๆ ภายในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ โรงเรียนต่างๆ อาทิ โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา รวมถึงการให้ทุนการศึกษา และโรงเรียนสารพัดช่างบรรหารแจ่มใส ตึกคนไข้ตามโรงพยาบาลต่างๆ วัด สวนดอกไม้ตามถนนต่างๆ หอนาฬิกา อาคารสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ซึ่งได้ดำเนินการมาตั้งแต่ก่อนเล่นการเมืองระดับประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ จนถึงปัจจุบัน จังหวัดสุพรรณบุรีจึงมีนามเรียกกันอย่าง
นายบรรหาร ศิลปอาชา มีความตั้งใจในการอุทิศตัวและอุทิศเวลา เพื่อทำงานให้แก่ประเทศชาติบ้านเมือง เป็นนักบริหารที่รับฟังข้อเสนอแนะทั้งจากบุคคลรอบข้างและทีมนักวิชาการ นอกจากนั้นยังรู้จักประสานงานและติดตามงานตรวจสอบอยู่เสมอ ผลงานที่โดดเด่นเป็นการส่วนตัวคือ การสร้างสิ่งต่างๆ ภายในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ โรงเรียนต่างๆ อาทิ โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา รวมถึงการให้ทุนการศึกษา และโรงเรียนสารพัดช่างบรรหารแจ่มใส ตึกคนไข้ตามโรงพยาบาลต่างๆ วัด สวนดอกไม้ตามถนนต่างๆ หอนาฬิกา อาคารสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ซึ่งได้ดำเนินการมาตั้งแต่ก่อนเล่นการเมืองระดับประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ จนถึงปัจจุบัน จังหวัดสุพรรณบุรีจึงมีนามเรียกกันอย่าง
ไม่เป็นทางการอีกชื่อหนึ่ง “จังหวัดบรรหารบุรี”[๒๖]
ไม่เป็นทางการอีกชื่อหนึ่ง “จังหวัดบรรหารบุรี”<ref>ธนากิต, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.</ref>


รวมทั้งการสร้างหอเกียรติยศ ที่กำเนิดขึ้นจากความร่วมแรงร่วมใจของพี่น้องประชาชนชาวสุพรรณบุรีร่วมกันบริจาคเงินในการก่อสร้าง โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ ดำเนินการออกแบบโดยกรมศิลปากร ภายในจัดแสดงประวัติและผลงานของนายบรรหาร ศิลปอาชา ตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พร้อมผลงานด้านต่างๆ หอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ประกาศจัดตั้งเป็นหน่วยงานหนึ่งของหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี กรมศิลปากร มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาด้านประวัติศาสตร์การเมืองไทย และเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตแก่เยาวชน โดยเฉพาะคุณธรรมที่ นายบรรหาร ศิลปอาชา ยึดถือ ได้แก่ สัจจะ และกตัญญู[๒๗]
รวมทั้งการสร้างหอเกียรติยศ ที่กำเนิดขึ้นจากความร่วมแรงร่วมใจของพี่น้องประชาชนชาวสุพรรณบุรีร่วมกันบริจาคเงินในการก่อสร้าง โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ ดำเนินการออกแบบโดยกรมศิลปากร ภายในจัดแสดงประวัติและผลงานของนายบรรหาร ศิลปอาชา ตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พร้อมผลงานด้านต่างๆ หอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ประกาศจัดตั้งเป็นหน่วยงานหนึ่งของหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี กรมศิลปากร มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาด้านประวัติศาสตร์การเมืองไทย และเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตแก่เยาวชน โดยเฉพาะคุณธรรมที่ นายบรรหาร ศิลปอาชา ยึดถือ ได้แก่ สัจจะ และกตัญญู<ref>ศูนย์วัฒนธรรมสุพรรณบุรี, '''“การจัดแสดงภายในหอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา :  http://www.thai-culture.net/suphanburi/ (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref>


การดำเนินงานที่สำคัญสมัยที่นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ได้แก่
การดำเนินงานที่สำคัญสมัยที่นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ได้แก่
บรรทัดที่ 128: บรรทัดที่ 127:
• นอกจากนี้ยังมีการจัดงานแสดงเกษตรและอุตสาหกรรมโลก พ.ศ. ๒๕๓๘ (WORLDTECH’ 95 THAILAND)  
• นอกจากนี้ยังมีการจัดงานแสดงเกษตรและอุตสาหกรรมโลก พ.ศ. ๒๕๓๘ (WORLDTECH’ 95 THAILAND)  


• การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๑๘ ที่จังหวัดเชียงใหม่[๒๘]
• การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๑๘ ที่จังหวัดเชียงใหม่<ref>สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, '''“นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.cabinet.thaigov.go.th/pm21htm (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref>


==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
บรรทัดที่ 142: บรรทัดที่ 141:
• เหรียญกาชาดชั้น ๑  
• เหรียญกาชาดชั้น ๑  


• เหรียญราชการชายแดน[๒๙]
• เหรียญราชการชายแดน<ref>พรรคชาติไทย, '''“ผู้บริหารพรรคชาติไทย : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร”,''' [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.chartthai.or.th/index.php?option=com_ctpmember&task=view&id=1  (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:22, 12 พฤศจิกายน 2552

ผู้เรียบเรียง นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


ชาตะ

นายบรรหาร ศิลปอาชา เกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ปัจจุบันอายุ 77 ปี เกิดที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อเดิมคือ “เต็กเซียง แซ่เบ๊” (马德祥) เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายเซ่งกิมและนางสายเอ็ง ศิลปอาชา แซ่เดิมคือ “แซ่เบ๊”[1] มีพี่น้องทั้งหมด 6 คน เป็นชาย 4 คน หญิง 2 คน คือ

1. นายสมบูรณ์ ศิลปอาชา

2. นายอุดม เกิดสินชัย (ถึงแก่กรรม)

3. นางสายใจ ศิลปอาชา

4. นายบรรหาร ศิลปอาชา

5. นางดรุณี วายากูล

6. นายชุมพล ศิลปอาชา[2]

การสมรส

นายบรรหาร ศิลปอาชา สมรสกับคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอาชา (เลขวัต) เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 มีบุตรธิดารวม 3 คน เป็นชาย 1 หญิง 2 คือ

1. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา

2. นางสาวปาริชาต ศิลปอาชา (ปัจจุบันสมรสแล้ว)

3. นายวราวุธ ศิลปอาชา (ปัจจุบันสมรสกับคุณสุวรรณา ไรวินท์ (เก๋) ทายาทตระกูลไรวินท์ เจ้าของธุรกิจซุปไก่ก้อนรีวอง)[3]

ปัจจุบันนางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายวราวุธ ศิลปอาชาต่างดำเนินรอยตามผู้เป็นบิดาโดยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี[4]

การศึกษา

นายบรรหาร ศิลปอาชา เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จากโรงเรียนประทีปวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องจากเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงพักการเรียนไปชั่วขณะหนึ่ง โดยหันไปทำกิจการของตนเอง และได้เรียนภาษาจีนไปด้วย จากนั้นได้ไปศึกษาต่อที่กรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย และฝึกงานด้านส่งสินค้าและการก่อสร้างกับ นายสมบูรณ์ ศิลปอาชา ผู้เป็นพี่ชาย[5] และเปิดบริษัทรับเหมาก่อสร้างเป็นของตัวเอง อีกทั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายคลอรีนให้กับการประปาส่วนภูมิภาค จนมีฐานะร่ำรวย[6] ภายหลังเมื่อเป็นนักการเมืองได้เข้าศึกษาต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในปี พ.ศ. 2529 ต่อมาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อปี พ.ศ. 2531 และศึกษาต่อจนสำเร็จนิติศาสตร์มหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง[7] รวมทั้งได้รับปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา[8]

ประวัติการทำงาน

• พ.ศ. 2517 นายบรรหาร ศิลปอาชา เข้าสู่วงการเมืองจากการชักชวนของนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ตั้งแต่มีการก่อตั้งพรรคชาติไทย เมื่อ ปีพ.ศ. 2517 และต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[9]

• พ.ศ. 2518 เป็นสมาชิกวุฒิสภา

• พ.ศ. 2519 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรีครั้งแรก

• พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 21 เมษายน 2519 – 25 กันยายน 2519 และ 5 ตุลาคม 2519 – 6 ตุลาคม 2519)[10]

• พ.ศ. 2521 เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

• พ.ศ. 2523 เป็นเลขาธิการพรรคชาติไทย[11]

• พ.ศ. 2523 – 2524 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมัยรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 12 มีนาคม 2521 – 11 มีนาคม 2524)[12]

• พ.ศ. 2526 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

• พ.ศ. 2529 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี[13]

• พ.ศ. 2529 – 2531 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 11 สิงหาคม 2529 – 4 สิงหาคม 2531)[14]

• พ.ศ. 2531 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี[15]

• พ.ศ. 2531 – 2533 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 9 สิงหาคม ๒๕๓๑ – ๙ มกราคม ๒๕๓๓)

• พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สมัยรัฐบาล พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๙ มกราคม ๒๕๓๓ – ๙ ธันวาคม ๒๕๓๓)

• พ.ศ. ๒๕๓๓ – ๒๕๓๔ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง สมัยรัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๔ ธันวาคม ๒๕๓๓ – ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔)[16]

• พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี[17]

• พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยรัฐบาล พลเอก สุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี (ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑๗ เมษายน ๒๕๓๕ – ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕)[18]

• พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

• พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย และเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี และเมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฏร เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘ และมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ นายบรรหาร ศิลปอาชา ในฐานะที่เป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกของพรรคได้รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นจำนวนมากที่สุด ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล[19]

• พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ของประเทศไทย และควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘) โดยมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ - วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ (คณะรัฐมนตรีคณะที่ ๕๑) และมีการยุบสภา เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรักษาการในตำแหน่งถึงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ อันเป็นวันแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ รวมระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ๑ ปี ๔ เดือน[20]

• พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

• พ.ศ. ๒๕๔๐ ประธานที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

• พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมอาหารกลางวันให้เด็กนักเรียนอิ่มทุกคนทุกวัน

• พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นนายกสภาประจำสถาบันราชภัฎสวนสุนันทา

• พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เขต ๔

• พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เขต ๔

• พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยคะแนนสูงที่สุดในประเทศ[21]

สมญานามที่ได้รับ

นายบรรหาร ศิลปอาชา มีสมญานามมากมาย จากลักษณะเด่นหลายประการ เช่น มีฐานเสียงหนาแน่นที่สุดในจังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานะเป็นเจ้าถิ่นจนได้สมญาว่า “มังกรสุพรรณ” หรือ “มังกรการเมือง” และเนื่องจากมีลักษณะคล้าย “เติ้งเสี่ยวผิง” อดีตผู้นำจีน สื่อมวลชนจึงนิยมเรียก นายบรรหาร ศิลปอาชา สั้น ๆ ว่า “เติ้ง” หรือ “เติ้งเสี่ยวหาร”[22]

การพ้นสภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากคดียุบพรรคชาติไทย

หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะกรรมการการเลือกตั้งพบว่ามีการทุจริตการเลือกตั้ง โดยมีการให้ใบแดงและพิจารณาเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของนายมณเฑียร สงฆ์ประชา ผู้สมัครรับเลือกตั้งและรองเลขาธิการพรรคชาติไทย กับนายสุนทร วิลาวัลย์ ผู้สมัครรับเลือกตั้งและรองหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๑ โดยคณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติด้วยคะแนนเสียง ๔ ต่อ ๑ (มติเสียงข้างน้อย ๑ เสียงในทั้งสองกรณี คือ นายสมชัย จึงประเสริฐ กกต. ฝ่ายกิจการสืบสวนสอบสวน) เห็นชอบตามที่นายอภิชาต สุขัคคานนท์ ประธาน กกต. ในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมือง เสนอความเห็นให้ส่งสำนวนเรื่องการยุบพรรคชาติไทยและพรรคมัชฌิมาธิปไตยให้อัยการสูงสุดพิจารณา

แม้ว่าคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงได้สรุปก่อนหน้านั้นว่าหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรคคนอื่นทั้งสองพรรค ไม่มีส่วนรู้เห็นต่อการกระทำผิดของนายมณเฑียร สงฆ์ประชา และนายสุนทร วิลาวัลย์ แต่การที่ทั้งสองคนต่างก็เป็นกรรมการบริหารพรรค กกต. จึงพิจารณาตามมาตรา ๒๓๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และมาตรา ๑๐๓ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งบัญญัติไว้ตรงกันว่า ถ้าการกระทำดังกล่าวปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าหัวหน้าพรรคหรือกรรมการบริหารพรรคมีส่วนรู้เห็น หรือปล่อยปละละเลย หรือทราบแล้วไม่ได้ยับยั้งหรือแก้ไข เพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้ถือว่าพรรคการเมืองนั้นกระทำการซึ่งให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ

ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้นายทะเบียนพรรคการเมือง (ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง) ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรา ๙๕ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๐ ไม่อาจใช้ดุลยพินิจในการเลือกที่จะแจ้งหรือไม่แจ้งต่ออัยการสูงสุด[23]

ต่อมาเมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ ศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยคดียุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ด้วยมติเป็นเอกฉันท์ ๘ ต่อ ๑ สั่งยุบพรรคชาติไทย โดยศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่าพรรคมีความผิดตามมาตรา ๒๓๗ วรรค ๒ และมาตรา ๖๘ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ถือว่าเป็นข้อเท็จจริงที่ปฏิเสธไม่ได้ และกฎหมายได้บัญญัติไว้เป็นเด็ดขาด แม้จะมีการโต้แย้งว่าหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรคคนอื่นไม่มีส่วนรู้เห็นจึงฟังไม่ขึ้น จากการยุบพรรคในครั้งนี้ทำให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคชาติไทยและกรรมการบริหารพรรคชาติไทย จำนวน ๔๓ คน เป็นเวลา ๕ ปี[24] โดยนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย รวมทั้งนายวราวุธ ศิลปอาชาและนางสาวกัญจนา ศิลปอาชากรรมการบริหารพรรคถูกเพิกถอนสิทธิในครั้งนี้ด้วย[25]

ผลงานที่สำคัญ

นายบรรหาร ศิลปอาชา มีความตั้งใจในการอุทิศตัวและอุทิศเวลา เพื่อทำงานให้แก่ประเทศชาติบ้านเมือง เป็นนักบริหารที่รับฟังข้อเสนอแนะทั้งจากบุคคลรอบข้างและทีมนักวิชาการ นอกจากนั้นยังรู้จักประสานงานและติดตามงานตรวจสอบอยู่เสมอ ผลงานที่โดดเด่นเป็นการส่วนตัวคือ การสร้างสิ่งต่างๆ ภายในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ โรงเรียนต่างๆ อาทิ โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา รวมถึงการให้ทุนการศึกษา และโรงเรียนสารพัดช่างบรรหารแจ่มใส ตึกคนไข้ตามโรงพยาบาลต่างๆ วัด สวนดอกไม้ตามถนนต่างๆ หอนาฬิกา อาคารสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ซึ่งได้ดำเนินการมาตั้งแต่ก่อนเล่นการเมืองระดับประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ จนถึงปัจจุบัน จังหวัดสุพรรณบุรีจึงมีนามเรียกกันอย่าง ไม่เป็นทางการอีกชื่อหนึ่ง “จังหวัดบรรหารบุรี”[26]

รวมทั้งการสร้างหอเกียรติยศ ที่กำเนิดขึ้นจากความร่วมแรงร่วมใจของพี่น้องประชาชนชาวสุพรรณบุรีร่วมกันบริจาคเงินในการก่อสร้าง โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ ดำเนินการออกแบบโดยกรมศิลปากร ภายในจัดแสดงประวัติและผลงานของนายบรรหาร ศิลปอาชา ตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พร้อมผลงานด้านต่างๆ หอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ประกาศจัดตั้งเป็นหน่วยงานหนึ่งของหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี กรมศิลปากร มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาด้านประวัติศาสตร์การเมืองไทย และเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตแก่เยาวชน โดยเฉพาะคุณธรรมที่ นายบรรหาร ศิลปอาชา ยึดถือ ได้แก่ สัจจะ และกตัญญู[27]

การดำเนินงานที่สำคัญสมัยที่นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ได้แก่

• การจัดพระราชพิธีกาญจนาภิเษก

• การนำประเทศเข้าสู่เวทีประชาคมโลก ในโอกาสสำคัญต่างๆ เช่น การเข้าร่วมประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษ ในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปีสหประชาชาติ

• การที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๕

• การเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (ASEM)

• นอกจากนี้ยังมีการจัดงานแสดงเกษตรและอุตสาหกรรมโลก พ.ศ. ๒๕๓๘ (WORLDTECH’ 95 THAILAND)

• การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ ๑๘ ที่จังหวัดเชียงใหม่[28]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

• เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพายมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)

• เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นมหาวชิรมงกุฏไทย

• เครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.)

• เครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า

• เหรียญกาชาดชั้น ๑

• เหรียญราชการชายแดน[29]

อ้างอิง

  1. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, “บรรหาร ศิลปอาชา”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)
  2. ธนากิต, ประวัตินายกรัฐมนตรีไทย (กรุงเทพฯ : ปิระมิด, 2545) หน้า 1.
  3. ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย, “บรรหาร ศิลปอาชา”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://politicalbase.in.th/index.php (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)
  4. ธนากิต, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  5. เรื่องเดียวกัน, หน้าเดียวกัน.
  6. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  7. ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย, เรื่องเดิม.
  8. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  9. ศูนย์ติดตามประชาธิปไตยไทย, “บรรหาร ศิลปอาชา”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (26 ตุลาคม 2552)
  10. นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์, เอกสารวงงานรัฐสภา “รวมรายชื่อคณะรัฐมนตรีตั้งแต่คณะแรกจนถึงคณะปัจจุบัน (กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2544) หน้า 326.
  11. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  12. นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  13. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  14. นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  15. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  16. นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  17. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  18. นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  19. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  20. ธนากิต, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  21. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  22. เรื่องเดียวกัน, หน้าเดียวกัน.
  23. วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี, “คำร้องให้ยุบพรรคชาติไทยและพรรคมัชฌิมาธิปไตย”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)
  24. เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคชาติไทย, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๖ ก (๑๙ มีนาคม ๒๕๕๒) : หน้า ๗๙.
  25. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, “บรรหาร ศิลปอาชา”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)
  26. ธนากิต, เรื่องเดิม, หน้าเดียวกัน.
  27. ศูนย์วัฒนธรรมสุพรรณบุรี, “การจัดแสดงภายในหอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.thai-culture.net/suphanburi/ (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)
  28. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, “นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.cabinet.thaigov.go.th/pm21htm (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)
  29. พรรคชาติไทย, “ผู้บริหารพรรคชาติไทย : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.chartthai.or.th/index.php?option=com_ctpmember&task=view&id=1 (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

บรรณานุกรม

ธนากิต. ประวัตินายกรัฐมนตรีไทย. กรุงเทพฯ : ปิระมิด, ๒๕๔๕. หน้า ๑.

พรรคชาติไทย, “ผู้บริหารพรรคชาติไทย : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.chartthai.or.th/index.php?option=com_ctpmember&task=view&id=1 (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี “คำร้องให้ยุบพรรคชาติไทยและพรรคมัชฌิมาธิปไตย” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี “บรรหาร ศิลปอาชา” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคชาติไทย, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๖ ก ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๒.

ศูนย์ติดตามประชาธิปไตยไทย “บรรหาร ศิลปะอาชา” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

ศูนย์วัฒนธรรมสุพรรณบุรี “การจัดแสดงภายในหอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี คนที่ ๒๑” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.thai-culture.net/suphanburi/ (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี “นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.cabinet.thaigov.go.th/pm21htm (๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒)

ดูเพิ่มเติม

จิรวัฒน์ รจนาวรรณ “ยอดนักการเมือง”, กรุงเทพฯ : วรรณสาส์น. ๒๕๔๗

ธนพล จาดใจดี “เรื่องราวง่ายๆ ของ ๒๓ นายกรัฐมนตรีไทย”, กรุงเทพฯ : ธนพลวิทยาการ. ๒๕๔๔

รุจน์ มัณฑิรา “เส้นทางสู่นายกฯ ของเติ้งเสี่ยวหาร บรรหาร ศิลปอาชา”, กรุงเทพฯ : น้ำฝน. ๒๕๓๘

สัญลักษณ์ เทียมถนอม “บรรหาร ศิลปอาชา”, กรุงเทพฯ : มิติใหม่. ๒๕๔๗

อ.อัครพร “เส้นทางสู่ทำเนียบของเติ้งเสี่ยวหาร”, กรุงเทพฯ : น้ำฝน. ๒๕๓๘