ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การก่อการร้ายสากล(บทคัดย่อ)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
Rapeephan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ประภัสร์ เทพชาตรี, 2550. '''การก่อการร้ายสากล.''' นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.
ประภัสร์ เทพชาตรี, 2550. '''การก่อการร้ายสากล.''' นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.


'''บทคัดย่อ'''
'''บทคัดย่อ'''
----


ปัญหาในระดับสากลที่สำคัญที่สุดในยุคหลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ คือปัญหาการก่อการร้ายสากล งานวิจัยนี้ได้สร้างองค์แห่งความรู้เกี่ยวกับการก่อการร้ายสากล และได้ประเมินผลในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และได้ประเมินผลในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และได้ชี้ให้เห็นว่า สงครามต่อต้านการก่อการร้ายของสหรัฐฯ และยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ไม่ประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาการก่อการร้ายสากล งานวิจัยนี้ จึงได้เสนอแนะว่า จะต้องมีการทบทวนยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการ้ายใหม่ โดยได้เสนอการแก้ปัญหาแบบบูรณาการ โดยจะต้องเน้นไปที่การแก้ที่รากเหง้าของปัญหาอย่างแท้จริงและจะเป็นการบูรณาการการแก้ปัญหาทั้งในลักษณะการแก้ปัญหาในเชิงลบที่เน้นการแก้ปัญหาโดยการใช้กำลังและการบังคับใช้กฎหมาย และการแก้ปัญหาในเชิงบวกโดยเน้นการแก้ที่รากเหง้าของปัญหา การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ การทำสงครามอุดมการณ์เพื่อเอาชนะจิตวิญญาณของประชาชน การแก้ปัญหาลัทธิครองความเป็นเจ้าของสหรัฐฯ การปรับนโยบายของสหรัฐฯ ใหม่ โดยเฉพาะนโยบายตะวันออกกลาง การแก้ปัญหาการปะทะกันระหว่างอารยธรรม และการแก้ปัญหาภายในโลกมุสลิม
ปัญหาในระดับสากลที่สำคัญที่สุดในยุคหลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ คือปัญหาการก่อการร้ายสากล งานวิจัยนี้ได้สร้างองค์แห่งความรู้เกี่ยวกับการก่อการร้ายสากล และได้ประเมินผลในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และได้ประเมินผลในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และได้ชี้ให้เห็นว่า สงครามต่อต้านการก่อการร้ายของสหรัฐฯ และยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ไม่ประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาการก่อการร้ายสากล งานวิจัยนี้ จึงได้เสนอแนะว่า จะต้องมีการทบทวนยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการ้ายใหม่ โดยได้เสนอการแก้ปัญหาแบบบูรณาการ โดยจะต้องเน้นไปที่การแก้ที่รากเหง้าของปัญหาอย่างแท้จริงและจะเป็นการบูรณาการการแก้ปัญหาทั้งในลักษณะการแก้ปัญหาในเชิงลบที่เน้นการแก้ปัญหาโดยการใช้กำลังและการบังคับใช้กฎหมาย และการแก้ปัญหาในเชิงบวกโดยเน้นการแก้ที่รากเหง้าของปัญหา การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ การทำสงครามอุดมการณ์เพื่อเอาชนะจิตวิญญาณของประชาชน การแก้ปัญหาลัทธิครองความเป็นเจ้าของสหรัฐฯ การปรับนโยบายของสหรัฐฯ ใหม่ โดยเฉพาะนโยบายตะวันออกกลาง การแก้ปัญหาการปะทะกันระหว่างอารยธรรม และการแก้ปัญหาภายในโลกมุสลิม

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:14, 20 สิงหาคม 2552

ประภัสร์ เทพชาตรี, 2550. การก่อการร้ายสากล. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.


บทคัดย่อ



ปัญหาในระดับสากลที่สำคัญที่สุดในยุคหลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ คือปัญหาการก่อการร้ายสากล งานวิจัยนี้ได้สร้างองค์แห่งความรู้เกี่ยวกับการก่อการร้ายสากล และได้ประเมินผลในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และได้ประเมินผลในการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และได้ชี้ให้เห็นว่า สงครามต่อต้านการก่อการร้ายของสหรัฐฯ และยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ไม่ประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาการก่อการร้ายสากล งานวิจัยนี้ จึงได้เสนอแนะว่า จะต้องมีการทบทวนยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการ้ายใหม่ โดยได้เสนอการแก้ปัญหาแบบบูรณาการ โดยจะต้องเน้นไปที่การแก้ที่รากเหง้าของปัญหาอย่างแท้จริงและจะเป็นการบูรณาการการแก้ปัญหาทั้งในลักษณะการแก้ปัญหาในเชิงลบที่เน้นการแก้ปัญหาโดยการใช้กำลังและการบังคับใช้กฎหมาย และการแก้ปัญหาในเชิงบวกโดยเน้นการแก้ที่รากเหง้าของปัญหา การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ การทำสงครามอุดมการณ์เพื่อเอาชนะจิตวิญญาณของประชาชน การแก้ปัญหาลัทธิครองความเป็นเจ้าของสหรัฐฯ การปรับนโยบายของสหรัฐฯ ใหม่ โดยเฉพาะนโยบายตะวันออกกลาง การแก้ปัญหาการปะทะกันระหว่างอารยธรรม และการแก้ปัญหาภายในโลกมุสลิม

Abstract

One of the most important global issues in the period after September accident is the issue of international terrorism. This research builds up the body knowledge on international terrorism by analyzing the historical developments of international terrorism. The research also analyzes the “War on terrorism”. It demonstrates that the global strategy to manage this issue is mainly the US-led strategy. The evaluation is that the US strategy is not successful. Therefore, it is imperative that the US-led global strategy against terrorism must be review and revised.

The new comprehensive and integrated strategy is purposed. The main components of the proposed strategy are as follows: the emphasis on understanding and solving the “root causes” of the problem; international cooperation; strategy to win hearts and minds or to win the war ideas; the change in US foreign policy by decreasing American hegemonism, the emphasis on soft power, and the fundamental change of American policy in the Middle East and the broader Isamic world; the strategy to lessen the rise of ‘Clash of Civilization’ ; and the internal reform of Islamic world.

บทสรุปผู้บริหาร