ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาลพรรคเดียว"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข | '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' เอกวีร์ มีสุข | ||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ''' | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
| | ||
'''รัฐบาลพรรคเดียว''' | <span style="font-size:x-large;">'''รัฐบาลพรรคเดียว'''</span> | ||
การทำความเข้าใจความหมายของรัฐบาลพรรคเดียวแบ่งการอธิบายออกเป็นสามส่วน คือ หนึ่ง การนิยามความหมายทั่วไปของรัฐบาลพรรคเดียว สอง รัฐบาลพรรคเดียวในการปกครองระบบรัฐสภา และ สามระบบพรรคการเมืองในการเกิดรัฐบาลพรรคเดียว | การทำความเข้าใจความหมายของรัฐบาลพรรคเดียวแบ่งการอธิบายออกเป็นสามส่วน คือ หนึ่ง การนิยามความหมายทั่วไปของรัฐบาลพรรคเดียว สอง รัฐบาลพรรคเดียวในการปกครองระบบรัฐสภา และ สามระบบพรรคการเมืองในการเกิดรัฐบาลพรรคเดียว | ||
= <span style="font-size:x-large;">'''นิยามทั่วไปของรัฐบาลพรรคเดียว'''</span> = | |||
'''นิยามทั่วไปของรัฐบาลพรรคเดียว''' | |||
| รัฐบาลพรรคเดียวหรือรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมาก (Single-Party Majoritarian Government) หมายถึง รูปแบบรัฐบาลที่จัดตั้งโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา (หรือในกรณีของประเทศที่ใช้ระบบสภาคู่จะต้องมีเสียงข้างมากในสภาล่างหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร)[[#_ftn1|[1]]] การเกิดรัฐบาลพรรคเดียวในกรณีนี้พบในประเทศที่ปกครองระบบรัฐสภา (parliamentary government) ตัวอย่างเช่น รัฐบาลพรรคเดียวของพรรคไทยรักไทยภายหลังการชนะการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2548 การสลับกันเป็นรัฐบาลพรรคเดียวระหว่างพรรคอนุรักษ์นิยม (Conservative Party) และพรรคแรงงาน (Labour Party) ในประเทศอังกฤษหลัง[[สงครามโลกครั้งที่_2]] จนถึงปัจจุบัน หรือการจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวของพรรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party: LDP) ในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น โดยความหมายของรัฐบาลพรรคเดียวที่ในที่นี้จะแตกต่างจาก[[ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว]] (Single-Party System หรือ One-party state) ที่ประเทศกำหนดให้พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวมีอำนาจทางการเมืองในการปกครองประเทศภายใต้ระบอบปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism) | ||
'''รัฐบาลพรรคเดียวในการปกครองระบบรัฐสภา''' | = <span style="font-size:x-large;">'''รัฐบาลพรรคเดียวในการปกครองระบบรัฐสภา'''</span> = | ||
การปกครองระบบรัฐสภา (parliamentary government) ในระบอบประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองของประเทศประชาธิปไตยที่นิยมใช้กันมากที่สุด การปกครองระบบรัฐสภาจะมีรัฐบาล (government) ที่ประกอบด้วยหัวหน้ารัฐบาล (head of government) ที่เรียกว่านายกรัฐมนตรี (prime minister) | การปกครองระบบรัฐสภา (parliamentary government) ในระบอบประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองของประเทศประชาธิปไตยที่นิยมใช้กันมากที่สุด การปกครองระบบรัฐสภาจะมีรัฐบาล (government) ที่ประกอบด้วยหัวหน้ารัฐบาล (head of government) ที่เรียกว่านายกรัฐมนตรี (prime minister) เป็นผู้นำของรัฐบาลและมีคณะรัฐมนตรี (cabinet) ทำหน้าที่ในการตัดสินใจในการบริหารงานรัฐและกำกับการทำงานของระบบราชการ โดยกระบวนการเลือกรัฐบาลในระบบรัฐสภาดำเนินการในสองขั้นตอนหลัก คือ หนึ่ง ประชาชนจะเป็นผู้เลือกสมาชิกรัฐสภา และ สอง สมาชิกรัฐสภาจะเป็นผู้เลือกหรือรับรองหัวหน้ารัฐบาลรัฐบาล[[#_ftn2|[2]]] การจัดตั้งรัฐบาลจะทำได้ก็ต่อเมื่อรัฐบาลได้รับการเลือกหรือรับรองโดยเสียงส่วนใหญ่ของสมาชิกรัฐสภา โดยผู้นำของพรรคการเมืองที่ได้เสียงข้างมากในรัฐสภาจะได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรีและนายกรัฐมนตรีจะเลือกสมาชิกพรรคหรือบุคคลที่เห็นว่าสมควรเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรี[[#_ftn3|[3]]] แต่พรรคการเมืองคู่แข่งที่มีจำนวนที่นั่งในรัฐสภาน้อยกว่าพรรคการเมืองที่ได้เสียงข้างมากมีความยากลำบากในการจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคการเมืองอื่นแข่งขันกับพรรคเสียงข้างมาก[[#_ftn4|[4]]] | ||
สำหรับรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมาก (Single-Party Majoritarian Government) '' | สำหรับรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมาก (Single-Party Majoritarian Government) จะเกิดขึ้นได้เมื่อ ''พรรคการเมืองพรรคเดียวที่ชนะการเลือกตั้งโดยได้เสียงข้างมากเด็ดขาดหรือได้จำนวนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่ง (หรือมากกว่า ร้อยละ 50) ของจำนวนที่นั่งในรัฐสภา (หรือจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร) จนสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้''[[#_ftn5|[5]]] ตัวอย่างเช่น หากมีพรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งและได้ที่นั่งในรัฐสภาจำนวน 4 พรรค ประกอบด้วยพรรคกอไก่ พรรคขอไข่ พรรคคอควาย และพรรคงองู พบว่าพรรคกอไก่ได้จำนวนที่นั่งมากกว่ากึ่งหนึ่งในรัฐสภา ดังตารางประกอบที่ 1 โดยเกณฑ์การเป็นรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมากขึ้นอยู่กับจำนวนที่นั่งในรัฐสภา โดยเฉพาะในระบบสภาคู่ที่ต้องได้เสียงข้างมากในสภาล่างหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ด้วยเหตุนี้ พรรคการเมืองที่แม้ว่าจะได้จำนวนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งรวมได้ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด แต่ถ้าได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาเกินกึ่งหนึ่งก็จะสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ดังตารางประกอบที่ 2 พรรคเพนนีแม้จะได้คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งมากที่สุดและเกินกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด แต่ได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาน้อยกว่าพรรคบอมเบย์จึงทำให้พรรคบอมเบย์เป็นพรรคที่มีสิทธิจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียว | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 1 : พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งพรรคเดียว'''</p> | |||
'''ตารางที่ 1 | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 171px; text-align: center;" | | ||
'''พรรคการเมือง''' | '''พรรคการเมือง''' | ||
| style="width: | | style="width: 200px; text-align: center;" | | ||
'''จำนวนที่นั่งในรัฐสภา ( | '''จำนวนที่นั่งในรัฐสภา (100 ที่นั่ง)''' | ||
| style="width:200px;" | | | style="width: 200px; text-align: center;" | | ||
'''ร้อยละของจำนวนที่นั่งในรัฐสภา''' | '''ร้อยละของจำนวนที่นั่งในรัฐสภา''' | ||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 171px;" | <p style="text-align: center;">'''พรรค ก.'''</p> | ||
''' | | style="width: 229px;" | <p style="text-align: center;">'''55'''</p> | ||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">'''55%'''</p> | |||
| style="width: | |||
'''55''' | |||
| style="width:200px;" | | |||
'''55%''' | |||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 171px;" | <p style="text-align: center;">พรรค ข.</p> | ||
| style="width: 229px;" | <p style="text-align: center;">25</p> | |||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">25%</p> | |||
| style="width: | |||
25 | |||
| style="width:200px;" | | |||
25% | |||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 171px;" | <p style="text-align: center;">พรรค ค.</p> | ||
| style="width: 229px;" | <p style="text-align: center;">15</p> | |||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">15%</p> | |||
| style="width: | |||
15 | |||
| style="width:200px;" | | |||
15% | |||
|- | |- | ||
| style="width: | | style="width: 171px;" | <p style="text-align: center;">พรรค ง.</p> | ||
| style="width: 229px;" | <p style="text-align: center;">5</p> | |||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">5%</p> | |||
| style="width: | |||
5 | |||
| style="width:200px;" | | |||
5% | |||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน'''</p> | |||
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน''' | |||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ตารางที่ 2 : พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งพรรคเดียว'''</p> | |||
'''ตารางที่ | {| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | ||
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" | |||
|- | |- | ||
| style="width:122px;" | | | style="width: 122px; text-align: center;" | | ||
'''พรรคการเมือง''' | '''พรรคการเมือง''' | ||
| style="width: | | style="width: 200px; text-align: center;" | | ||
'''จำนวน/ร้อยละที่นั่งในรัฐสภา ( | '''จำนวน/ร้อยละที่นั่งในรัฐสภา (200 ที่นั่ง)''' | ||
| style="width: | | style="width: 150px; text-align: center;" | | ||
'''ร้อยละของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง''' | '''ร้อยละของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง''' | ||
|- | |- | ||
| style="width:122px;" | | | style="width:122px;" | <p style="text-align: center;">พรรคบอมเบย์</p> | ||
| style="width:278px;" | <p style="text-align: center;">110 (55%)</p> | |||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">40</p> | |||
| style="width:278px;" | | |||
| style="width:200px;" | | |||
|- | |- | ||
| style="width:122px;" | | | style="width:122px;" | <p style="text-align: center;">พรรคเพนนี</p> | ||
พรรคเพนนี | | style="width:278px;" | <p style="text-align: center;">80 (40%)</p> | ||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">52</p> | |||
| style="width:278px;" | | |||
80 (40%) | |||
| style="width:200px;" | | |||
52 | |||
|- | |- | ||
| style="width:122px;" | | | style="width:122px;" | <p style="text-align: center;">พรรคบีน่า</p> | ||
พรรคบีน่า | | style="width:278px;" | <p style="text-align: center;">5 (2.5%)</p> | ||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">6</p> | |||
| style="width:278px;" | | |||
5 (2.5%) | |||
| style="width:200px;" | | |||
6 | |||
|- | |- | ||
| style="width:122px;" | | | style="width:122px;" | <p style="text-align: center;">พรรคบูเก้</p> | ||
พรรคบูเก้ | | style="width:278px;" | <p style="text-align: center;">5 (2.5%)</p> | ||
| style="width:200px;" | <p style="text-align: center;">2</p> | |||
| style="width:278px;" | | |||
5 (2.5%) | |||
| style="width:200px;" | | |||
2 | |||
|} | |} | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน'''</p> | |||
'''ที่มา: จำลองโดยผู้เขียน''' | |||
| | ||
อย่างไรก็ตาม การเป็นรัฐบาลพรรคเดียวต้องขึ้นอยู่กับจำนวนที่นั่งในรัฐสภา หากสมาชิกรัฐสภาที่สังกัดพรรคเดียวกับพรรคร่วมรัฐบาลไม่เชื่อฟังหรือมีความคิดเห็นที่แตกต่างจากพรรคก็อาจส่งผลต่อเสถียรภาพของรัฐบาล พรรคการเมืองจึงจำเป็นต้องควบคุมการทำงานและทิศทางของสมาชิกรัฐสภาพรรคของตนเอง | อย่างไรก็ตาม การเป็นรัฐบาลพรรคเดียวต้องขึ้นอยู่กับจำนวนที่นั่งในรัฐสภา หากสมาชิกรัฐสภาที่สังกัดพรรคเดียวกับพรรคร่วมรัฐบาลไม่เชื่อฟังหรือมีความคิดเห็นที่แตกต่างจากพรรคก็อาจส่งผลต่อเสถียรภาพของรัฐบาล พรรคการเมืองจึงจำเป็นต้องควบคุมการทำงานและทิศทางของสมาชิกรัฐสภาพรรคของตนเอง ด้วยเหตุนี้พรรคการเมืองต้องสร้างวินัยพรรค (Party Discipline) เพือให้สมาชิกรัฐสภาลงคะแนนเสียงในสภาไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นเอกฉันท์[[#_ftn6|[6]]] มีน้อยครั้งมากที่จะมีการลงคะแนนเสียงขัดแย้งกับทิศทางของพรรค เว้นแต่ว่าผู้นำพรรคจะเปิดโอกาสให้สมาชิกสามารถตัดสินใจลงคะแนนเสียงได้อย่างอิสระตามจิตสำนึกของตัวสมาชิกเองหรือตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่[[#_ftn7|[7]]] นอกจากนี้พรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภาสามารถกำกับทิศทางการทำงานในกระบวนการนิติบัญญัติ อาทิ การกำหนดวาระการประชุมและการกำหนดช่วงเวลาในการบรรจุวาระ[[#_ftn8|[8]]] ถ้าหากพรรคการเมืองในระบบรัฐสภาไม่สามารถรักษาวินัยพรรคได้ก็ส่งผลกระทบต่อการรักษาเสถียรภาพของรัฐบาลหรือไม่สามารถควบคุมคะแนนเสียงเพื่อไว้วางใจ (vote of confidence) จากสภาได้[[#_ftn9|[9]]] อีกทั้งยังก่อให้เกิดความเสี่ยงที่สมาชิกผู้ลงคะแนนจัดแย้งกับทิศทางของพรรคจะย้ายขั้วทางการเมืองไปสังกัดกับพรรคฝ่ายตรงข้ามหรือประกาศตนเป็นอิสระ (independent)[[#_ftn10|[10]]] | ||
| |||
'''ระบบพรรคการเมืองในการเกิดรัฐบาลพรรคเดียว''' | = <span style="font-size:x-large;">'''ระบบพรรคการเมืองในการเกิดรัฐบาลพรรคเดียว'''</span> = | ||
ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการเกิดรัฐบาลพรรคเดียวที่สำคัญคือระบบพรรคการเมืองที่ก่อร่างและมีพัฒนาการตามลักษณะเฉพาะในแต่ละประเทศ จนกล่าวได้ว่าสิ่งที่กำหนดว่าพรรคการเมืองจะสามารถควบคุมและได้รับเสียงส่วนใหญ่ในการจัดตั้งรัฐบาลคือระบบพรรคการเมือง | ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการเกิดรัฐบาลพรรคเดียวที่สำคัญคือระบบพรรคการเมืองที่ก่อร่างและมีพัฒนาการตามลักษณะเฉพาะในแต่ละประเทศ จนกล่าวได้ว่าสิ่งที่กำหนดว่าพรรคการเมืองจะสามารถควบคุมและได้รับเสียงส่วนใหญ่ในการจัดตั้งรัฐบาลคือระบบพรรคการเมือง ว่าจะส่งผลให้เกิดการตั้ง[[รัฐบาลพรรคเดียว]] [[รัฐบาลผสม]] (coalition cabinet) หรือรัฐบาลเสียงข้างน้อย (minority cabinet) จากแผนภาพที่ 1 แสดงให้เห็นว่าความเป็นไปได้ที่จะเกิดปรากฎการณ์รัฐบาลพรรคเดียวสามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศที่ระบบการแข่งขันของพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) และแบบหลายพรรค (multiparty system)[[#_ftn11|[11]]] | ||
โดยในส่วนของระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) จะเกิดในประเทศที่ระบบพรรคการเมืองก่อให้เกิดระบบพรรคใหญ่สองพรรคที่สามารถแข่งขันกันเพื่อได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในการจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียว แม้ว่าในระบบสองพรรคอาจมีพรรคการเมืองขนาดเล็กสามารถสมัครรับเลือกตั้งและได้ที่นั่งในรัฐสภาบ้าง แต่จะมีเพียงพรรคการเมืองสองพรรคใหญ่ที่จะได้คะแนนเสียงและที่นั่งในรัฐสภาเกือบทั้งหมดในการเลือกตั้ง พรรคการเมืองขนาดใหญ่สองพรรคมักจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนการชนะการเลือกตั้งและจัดตั้งรัฐบาล โดยคะแนนเสียงที่ได้จะช่วยให้พรรคการเมืองที่ชนะเลือกตั้งสามารถควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารได้[[#_ftn12|[12]]] ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคที่เกิดในประเทศที่ใช้ระบบรัฐสภาที่สำคัญ ได้แก่ อังกฤษที่ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคได้ครอบงำระบบการเมืองของอังกฤษมาเป็นเวลายาวนานและได้แพร่กระจายไปยังประเทศในเครือจักรภพของอังกฤษและประเทศอื่น ๆ[[#_ftn13|[13]]] ขณะที่ระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค (multiparty system) จะเกิดในประเทศที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคตั้งแต่ 3 พรรคขึ้นไปแต่ไม่มีพรรคใดที่สามารถได้เสียงข้างมากเด็ดขาดในการจัดตั้งรัฐบาล ทำให้พรรคการเมืองต้องแข่งขันกันเพื่อรวบรวมเสียงจากพรรคการเมืองต่าง ๆ ที่ได้เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม[[#_ftn14|[14]]] อย่างไรก็ตาม อาจมีบางกรณีที่ประเทศที่มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรคอาจมีพรรคการเมืองที่สามารถชนะการเลือกตั้งจนได้คะแนนเสียงข้างมากแบบเด็ดขาด แต่ความเป็นไปได้ในการเกิดกรณีดังกล่าวย่อมน้อยกว่าประเทศที่ใช้ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค | โดยในส่วนของระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) จะเกิดในประเทศที่ระบบพรรคการเมืองก่อให้เกิดระบบพรรคใหญ่สองพรรคที่สามารถแข่งขันกันเพื่อได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในการจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียว แม้ว่าในระบบสองพรรคอาจมีพรรคการเมืองขนาดเล็กสามารถสมัครรับเลือกตั้งและได้ที่นั่งในรัฐสภาบ้าง แต่จะมีเพียงพรรคการเมืองสองพรรคใหญ่ที่จะได้คะแนนเสียงและที่นั่งในรัฐสภาเกือบทั้งหมดในการเลือกตั้ง พรรคการเมืองขนาดใหญ่สองพรรคมักจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนการชนะการเลือกตั้งและจัดตั้งรัฐบาล โดยคะแนนเสียงที่ได้จะช่วยให้พรรคการเมืองที่ชนะเลือกตั้งสามารถควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารได้[[#_ftn12|[12]]] ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคที่เกิดในประเทศที่ใช้ระบบรัฐสภาที่สำคัญ ได้แก่ อังกฤษที่ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคได้ครอบงำระบบการเมืองของอังกฤษมาเป็นเวลายาวนานและได้แพร่กระจายไปยังประเทศในเครือจักรภพของอังกฤษและประเทศอื่น ๆ[[#_ftn13|[13]]] ขณะที่ระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค (multiparty system) จะเกิดในประเทศที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคตั้งแต่ 3 พรรคขึ้นไปแต่ไม่มีพรรคใดที่สามารถได้เสียงข้างมากเด็ดขาดในการจัดตั้งรัฐบาล ทำให้พรรคการเมืองต้องแข่งขันกันเพื่อรวบรวมเสียงจากพรรคการเมืองต่าง ๆ ที่ได้เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม[[#_ftn14|[14]]] อย่างไรก็ตาม อาจมีบางกรณีที่ประเทศที่มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรคอาจมีพรรคการเมืองที่สามารถชนะการเลือกตั้งจนได้คะแนนเสียงข้างมากแบบเด็ดขาด แต่ความเป็นไปได้ในการเกิดกรณีดังกล่าวย่อมน้อยกว่าประเทศที่ใช้ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''แผนภาพที่ 1 : พรรคการเมืองในการจัดตั้งรัฐบาลในระบบรัฐสภา'''</p> | |||
'''แผนภาพที่ | [[File:GOV-1.jpg|center|RTENOTITLE]] | ||
<p style="text-align: center;">'''ที่มา :''' แปลจาก Gabriel A. Almond et al., "Government and Policymaking," in ''Comparative Politics Today: A World View'', ed. Gabriel A. Almond et al. (New York: Pearson, 2006), 121.</p> | |||
[[File:GOV-1.jpg]] | |||
'''ที่มา: แปลจาก | |||
| | ||
อนึ่ง มีข้อสังเกตว่าการเกิดขึ้นของรัฐบาลพรรคเดียวที่ครองอำนาจมาเป็นเวลายาวนานมีความสัมพันธ์กับการมีระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system) อันเป็นระบบที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียวได้คะแนนเสียงส่วนใหญ่แบบเด็ดขาดจนสามารถครอบครองที่นั่งในรัฐสภามาอย่างยาวนานในทุกการเลือกตั้งทำให้พรรคการเมืองสามารถจัดตั้งรัฐบาลได้อย่างต่อเนื่องมั่นคง โดยที่ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวสามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศประชาธิปไตยที่มีระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคที่มีการแข่งขันผ่านการเลือกตั้ง แต่อาจมีเพียงพรรคการเมืองเดียวที่มีความเข้มแข็งและสามารถครองอำนาจในฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมายาวนาน[[#_ftn15|[15]]] โจวันนี ซาร์โตรี (Giovanni Sartori) มองว่าการเกิดระบบพรรคเด่นพรรคเดียวก็ต่อเมื่อมีพรรคการเมืองที่สามารถครองอำนาจในการจัดตั้งรัฐบาลอย่างต่อเนื่องประมาณ 3-5 รัฐบาล[[#_ftn16|[16]]] โดยมีคุณสมบัติของการเป็นรัฐบาลพรรคเดียวประกอบด้วย 3 มิติ คือ หนึ่ง พรรคการเมืองต้องได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาที่มากกว่าพรรคการเมืองคู่แข่ง (dominant in number) ส่งผลให้พรรคการเมืองคู่แข่งมีจำนวนที่นั่งน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สอง พรรคการเมืองต้องมีความสามารถสูงในการต่อรองอำนาจ (dominant bargaining position) | อนึ่ง มีข้อสังเกตว่าการเกิดขึ้นของรัฐบาลพรรคเดียวที่ครองอำนาจมาเป็นเวลายาวนานมีความสัมพันธ์กับการมีระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system) อันเป็นระบบที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียวได้คะแนนเสียงส่วนใหญ่แบบเด็ดขาดจนสามารถครอบครองที่นั่งในรัฐสภามาอย่างยาวนานในทุกการเลือกตั้งทำให้พรรคการเมืองสามารถจัดตั้งรัฐบาลได้อย่างต่อเนื่องมั่นคง โดยที่ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวสามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศประชาธิปไตยที่มีระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคที่มีการแข่งขันผ่านการเลือกตั้ง แต่อาจมีเพียงพรรคการเมืองเดียวที่มีความเข้มแข็งและสามารถครองอำนาจในฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมายาวนาน[[#_ftn15|[15]]] โจวันนี ซาร์โตรี (Giovanni Sartori) มองว่าการเกิดระบบพรรคเด่นพรรคเดียวก็ต่อเมื่อมีพรรคการเมืองที่สามารถครองอำนาจในการจัดตั้งรัฐบาลอย่างต่อเนื่องประมาณ 3-5 รัฐบาล[[#_ftn16|[16]]] โดยมีคุณสมบัติของการเป็นรัฐบาลพรรคเดียวประกอบด้วย 3 มิติ คือ หนึ่ง พรรคการเมืองต้องได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาที่มากกว่าพรรคการเมืองคู่แข่ง (dominant in number) ส่งผลให้พรรคการเมืองคู่แข่งมีจำนวนที่นั่งน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สอง พรรคการเมืองต้องมีความสามารถสูงในการต่อรองอำนาจ (dominant bargaining position) อย่างมีประสิทธิภาพกับกลุ่มการเมืองหรือพรรคการเมืองที่มีความสามารถด้อยกว่าอื่น ๆ พรรคการเมืองต้องมีอำนาจต่อรองในสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและในตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ (strategic position) สูงกว่ากลุ่มอื่น และ สาม พรรคการเมืองสามารถครอบงำรัฐบาลจนกลายเป็นเนื้อเดียวกัน (dominant governmentally) นโยบายของพรรคการเมืองถูกแปลงเป็นวาระนโยบายการเมืองแห่งชาติ (National Political Agenda) จนสามารถครอบงำผู้เลือกตั้งและพรรคการเมืองอื่น[[#_ftn17|[17]]] ประเทศที่มีรัฐบาลพรรคเดียวจากระบบพรรคเด่นพรรคเดียวที่สำคัญ อาทิ พรรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party: LDP) ของประเทศญี่ปุ่นที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลมายาวนานระหว่าง ค.ศ. 1955-1993 และพรรคกิจประชาชน (People's Action Party: PAP) ของประเทศสิงคโปร์ที่เป็นรัฐบาลพรรคเดียวยาวนานตั้งแต่การเลือกตั้งใน ค.ศ. 1959 จนถึงปัจจุบัน เป็นต้น | ||
'''บรรณานุกรม''' | = <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> = | ||
Almond, Gabriel A., G. Bingham Powell, Kaare Strom, and Russell J. Dalton. "Government and Policymaking." In ''Comparative Politics Today: A World View'', edited by Gabriel A. Almond, Russell J. Dalton, G. Bingham Powell, and Kaare Strom, 101-28. New York: Pearson, 2006. | Almond, Gabriel A., G. Bingham Powell, Kaare Strom, and Russell J. Dalton. "Government and Policymaking." In ''Comparative Politics Today: A World View'', edited by Gabriel A. Almond, Russell J. Dalton, G. Bingham Powell, and Kaare Strom, 101-28. New York: Pearson, 2006. | ||
บรรทัดที่ 187: | บรรทัดที่ 115: | ||
วรวลัญจ์ โรจนพล. "รัฐบาลในการเมืองไทย." ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, ฐปนรรต พรหมอินทร์ (บรรณาธิการ), 6-1 - 6-70. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561. | วรวลัญจ์ โรจนพล. "รัฐบาลในการเมืองไทย." ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, ฐปนรรต พรหมอินทร์ (บรรณาธิการ), 6-1 - 6-70. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561. | ||
<div> | |||
= '''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>''' = | |||
[[#_ftnref1|[1]]] วรวลัญจ์ โรจนพล, "รัฐบาลในการเมืองไทย," ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, ฐปนรรต พรหมอินทร์ (บรรณาธิการ) (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561), 17. | [[#_ftnref1|[1]]] วรวลัญจ์ โรจนพล, "รัฐบาลในการเมืองไทย," ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, ฐปนรรต พรหมอินทร์ (บรรณาธิการ) (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561), 17. | ||
<div id="ftn2"> | |||
[[#_ftnref2|[2]]] Joseph L. Klesner, ''Comparative Politica: A Introduction'' (New York: McGraw-Hill, 2014), 115-16. | [[#_ftnref2|[2]]] Joseph L. Klesner, ''Comparative Politica: A Introduction'' (New York: McGraw-Hill, 2014), 115-16. | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
บรรทัดที่ 227: | บรรทัดที่ 153: | ||
</div> </div> <div><div id="ftn17"><!--![endif]----></div> </div> | </div> </div> <div><div id="ftn17"><!--![endif]----></div> </div> | ||
<!--![endif]----> | <!--![endif]----> | ||
[[Category:พรรคการเมือง]][[Category:ว่าด้วยพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:55, 7 มีนาคม 2566
ผู้เรียบเรียง : เอกวีร์ มีสุข
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
รัฐบาลพรรคเดียว
การทำความเข้าใจความหมายของรัฐบาลพรรคเดียวแบ่งการอธิบายออกเป็นสามส่วน คือ หนึ่ง การนิยามความหมายทั่วไปของรัฐบาลพรรคเดียว สอง รัฐบาลพรรคเดียวในการปกครองระบบรัฐสภา และ สามระบบพรรคการเมืองในการเกิดรัฐบาลพรรคเดียว
นิยามทั่วไปของรัฐบาลพรรคเดียว
รัฐบาลพรรคเดียวหรือรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมาก (Single-Party Majoritarian Government) หมายถึง รูปแบบรัฐบาลที่จัดตั้งโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา (หรือในกรณีของประเทศที่ใช้ระบบสภาคู่จะต้องมีเสียงข้างมากในสภาล่างหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร)[1] การเกิดรัฐบาลพรรคเดียวในกรณีนี้พบในประเทศที่ปกครองระบบรัฐสภา (parliamentary government) ตัวอย่างเช่น รัฐบาลพรรคเดียวของพรรคไทยรักไทยภายหลังการชนะการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2548 การสลับกันเป็นรัฐบาลพรรคเดียวระหว่างพรรคอนุรักษ์นิยม (Conservative Party) และพรรคแรงงาน (Labour Party) ในประเทศอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่_2 จนถึงปัจจุบัน หรือการจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวของพรรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party: LDP) ในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น โดยความหมายของรัฐบาลพรรคเดียวที่ในที่นี้จะแตกต่างจากระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System หรือ One-party state) ที่ประเทศกำหนดให้พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวมีอำนาจทางการเมืองในการปกครองประเทศภายใต้ระบอบปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism)
รัฐบาลพรรคเดียวในการปกครองระบบรัฐสภา
การปกครองระบบรัฐสภา (parliamentary government) ในระบอบประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองของประเทศประชาธิปไตยที่นิยมใช้กันมากที่สุด การปกครองระบบรัฐสภาจะมีรัฐบาล (government) ที่ประกอบด้วยหัวหน้ารัฐบาล (head of government) ที่เรียกว่านายกรัฐมนตรี (prime minister) เป็นผู้นำของรัฐบาลและมีคณะรัฐมนตรี (cabinet) ทำหน้าที่ในการตัดสินใจในการบริหารงานรัฐและกำกับการทำงานของระบบราชการ โดยกระบวนการเลือกรัฐบาลในระบบรัฐสภาดำเนินการในสองขั้นตอนหลัก คือ หนึ่ง ประชาชนจะเป็นผู้เลือกสมาชิกรัฐสภา และ สอง สมาชิกรัฐสภาจะเป็นผู้เลือกหรือรับรองหัวหน้ารัฐบาลรัฐบาล[2] การจัดตั้งรัฐบาลจะทำได้ก็ต่อเมื่อรัฐบาลได้รับการเลือกหรือรับรองโดยเสียงส่วนใหญ่ของสมาชิกรัฐสภา โดยผู้นำของพรรคการเมืองที่ได้เสียงข้างมากในรัฐสภาจะได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรีและนายกรัฐมนตรีจะเลือกสมาชิกพรรคหรือบุคคลที่เห็นว่าสมควรเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรี[3] แต่พรรคการเมืองคู่แข่งที่มีจำนวนที่นั่งในรัฐสภาน้อยกว่าพรรคการเมืองที่ได้เสียงข้างมากมีความยากลำบากในการจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคการเมืองอื่นแข่งขันกับพรรคเสียงข้างมาก[4]
สำหรับรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมาก (Single-Party Majoritarian Government) จะเกิดขึ้นได้เมื่อ พรรคการเมืองพรรคเดียวที่ชนะการเลือกตั้งโดยได้เสียงข้างมากเด็ดขาดหรือได้จำนวนเสียงข้างมากกว่ากึ่งหนึ่ง (หรือมากกว่า ร้อยละ 50) ของจำนวนที่นั่งในรัฐสภา (หรือจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร) จนสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้[5] ตัวอย่างเช่น หากมีพรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งและได้ที่นั่งในรัฐสภาจำนวน 4 พรรค ประกอบด้วยพรรคกอไก่ พรรคขอไข่ พรรคคอควาย และพรรคงองู พบว่าพรรคกอไก่ได้จำนวนที่นั่งมากกว่ากึ่งหนึ่งในรัฐสภา ดังตารางประกอบที่ 1 โดยเกณฑ์การเป็นรัฐบาลพรรคเดียวที่มาจากการเลือกตั้งด้วยเสียงข้างมากขึ้นอยู่กับจำนวนที่นั่งในรัฐสภา โดยเฉพาะในระบบสภาคู่ที่ต้องได้เสียงข้างมากในสภาล่างหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ด้วยเหตุนี้ พรรคการเมืองที่แม้ว่าจะได้จำนวนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งรวมได้ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด แต่ถ้าได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาเกินกึ่งหนึ่งก็จะสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ดังตารางประกอบที่ 2 พรรคเพนนีแม้จะได้คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งมากที่สุดและเกินกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด แต่ได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาน้อยกว่าพรรคบอมเบย์จึงทำให้พรรคบอมเบย์เป็นพรรคที่มีสิทธิจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียว
ตารางที่ 1 : พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งพรรคเดียว
พรรคการเมือง |
จำนวนที่นั่งในรัฐสภา (100 ที่นั่ง) |
ร้อยละของจำนวนที่นั่งในรัฐสภา |
พรรค ก. |
55 |
55% |
พรรค ข. |
25 |
25% |
พรรค ค. |
15 |
15% |
พรรค ง. |
5 |
5% |
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
ตารางที่ 2 : พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งพรรคเดียว
พรรคการเมือง |
จำนวน/ร้อยละที่นั่งในรัฐสภา (200 ที่นั่ง) |
ร้อยละของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
พรรคบอมเบย์ |
110 (55%) |
40 |
พรรคเพนนี |
80 (40%) |
52 |
พรรคบีน่า |
5 (2.5%) |
6 |
พรรคบูเก้ |
5 (2.5%) |
2 |
ที่มา : จำลองโดยผู้เขียน
อย่างไรก็ตาม การเป็นรัฐบาลพรรคเดียวต้องขึ้นอยู่กับจำนวนที่นั่งในรัฐสภา หากสมาชิกรัฐสภาที่สังกัดพรรคเดียวกับพรรคร่วมรัฐบาลไม่เชื่อฟังหรือมีความคิดเห็นที่แตกต่างจากพรรคก็อาจส่งผลต่อเสถียรภาพของรัฐบาล พรรคการเมืองจึงจำเป็นต้องควบคุมการทำงานและทิศทางของสมาชิกรัฐสภาพรรคของตนเอง ด้วยเหตุนี้พรรคการเมืองต้องสร้างวินัยพรรค (Party Discipline) เพือให้สมาชิกรัฐสภาลงคะแนนเสียงในสภาไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นเอกฉันท์[6] มีน้อยครั้งมากที่จะมีการลงคะแนนเสียงขัดแย้งกับทิศทางของพรรค เว้นแต่ว่าผู้นำพรรคจะเปิดโอกาสให้สมาชิกสามารถตัดสินใจลงคะแนนเสียงได้อย่างอิสระตามจิตสำนึกของตัวสมาชิกเองหรือตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่[7] นอกจากนี้พรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภาสามารถกำกับทิศทางการทำงานในกระบวนการนิติบัญญัติ อาทิ การกำหนดวาระการประชุมและการกำหนดช่วงเวลาในการบรรจุวาระ[8] ถ้าหากพรรคการเมืองในระบบรัฐสภาไม่สามารถรักษาวินัยพรรคได้ก็ส่งผลกระทบต่อการรักษาเสถียรภาพของรัฐบาลหรือไม่สามารถควบคุมคะแนนเสียงเพื่อไว้วางใจ (vote of confidence) จากสภาได้[9] อีกทั้งยังก่อให้เกิดความเสี่ยงที่สมาชิกผู้ลงคะแนนจัดแย้งกับทิศทางของพรรคจะย้ายขั้วทางการเมืองไปสังกัดกับพรรคฝ่ายตรงข้ามหรือประกาศตนเป็นอิสระ (independent)[10]
ระบบพรรคการเมืองในการเกิดรัฐบาลพรรคเดียว
ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการเกิดรัฐบาลพรรคเดียวที่สำคัญคือระบบพรรคการเมืองที่ก่อร่างและมีพัฒนาการตามลักษณะเฉพาะในแต่ละประเทศ จนกล่าวได้ว่าสิ่งที่กำหนดว่าพรรคการเมืองจะสามารถควบคุมและได้รับเสียงส่วนใหญ่ในการจัดตั้งรัฐบาลคือระบบพรรคการเมือง ว่าจะส่งผลให้เกิดการตั้งรัฐบาลพรรคเดียว รัฐบาลผสม (coalition cabinet) หรือรัฐบาลเสียงข้างน้อย (minority cabinet) จากแผนภาพที่ 1 แสดงให้เห็นว่าความเป็นไปได้ที่จะเกิดปรากฎการณ์รัฐบาลพรรคเดียวสามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศที่ระบบการแข่งขันของพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) และแบบหลายพรรค (multiparty system)[11]
โดยในส่วนของระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (two-party system) จะเกิดในประเทศที่ระบบพรรคการเมืองก่อให้เกิดระบบพรรคใหญ่สองพรรคที่สามารถแข่งขันกันเพื่อได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในการจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียว แม้ว่าในระบบสองพรรคอาจมีพรรคการเมืองขนาดเล็กสามารถสมัครรับเลือกตั้งและได้ที่นั่งในรัฐสภาบ้าง แต่จะมีเพียงพรรคการเมืองสองพรรคใหญ่ที่จะได้คะแนนเสียงและที่นั่งในรัฐสภาเกือบทั้งหมดในการเลือกตั้ง พรรคการเมืองขนาดใหญ่สองพรรคมักจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนการชนะการเลือกตั้งและจัดตั้งรัฐบาล โดยคะแนนเสียงที่ได้จะช่วยให้พรรคการเมืองที่ชนะเลือกตั้งสามารถควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารได้[12] ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคที่เกิดในประเทศที่ใช้ระบบรัฐสภาที่สำคัญ ได้แก่ อังกฤษที่ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคได้ครอบงำระบบการเมืองของอังกฤษมาเป็นเวลายาวนานและได้แพร่กระจายไปยังประเทศในเครือจักรภพของอังกฤษและประเทศอื่น ๆ[13] ขณะที่ระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค (multiparty system) จะเกิดในประเทศที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคตั้งแต่ 3 พรรคขึ้นไปแต่ไม่มีพรรคใดที่สามารถได้เสียงข้างมากเด็ดขาดในการจัดตั้งรัฐบาล ทำให้พรรคการเมืองต้องแข่งขันกันเพื่อรวบรวมเสียงจากพรรคการเมืองต่าง ๆ ที่ได้เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม[14] อย่างไรก็ตาม อาจมีบางกรณีที่ประเทศที่มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรคอาจมีพรรคการเมืองที่สามารถชนะการเลือกตั้งจนได้คะแนนเสียงข้างมากแบบเด็ดขาด แต่ความเป็นไปได้ในการเกิดกรณีดังกล่าวย่อมน้อยกว่าประเทศที่ใช้ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค
แผนภาพที่ 1 : พรรคการเมืองในการจัดตั้งรัฐบาลในระบบรัฐสภา

ที่มา : แปลจาก Gabriel A. Almond et al., "Government and Policymaking," in Comparative Politics Today: A World View, ed. Gabriel A. Almond et al. (New York: Pearson, 2006), 121.
อนึ่ง มีข้อสังเกตว่าการเกิดขึ้นของรัฐบาลพรรคเดียวที่ครองอำนาจมาเป็นเวลายาวนานมีความสัมพันธ์กับการมีระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system) อันเป็นระบบที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียวได้คะแนนเสียงส่วนใหญ่แบบเด็ดขาดจนสามารถครอบครองที่นั่งในรัฐสภามาอย่างยาวนานในทุกการเลือกตั้งทำให้พรรคการเมืองสามารถจัดตั้งรัฐบาลได้อย่างต่อเนื่องมั่นคง โดยที่ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวสามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศประชาธิปไตยที่มีระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคที่มีการแข่งขันผ่านการเลือกตั้ง แต่อาจมีเพียงพรรคการเมืองเดียวที่มีความเข้มแข็งและสามารถครองอำนาจในฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมายาวนาน[15] โจวันนี ซาร์โตรี (Giovanni Sartori) มองว่าการเกิดระบบพรรคเด่นพรรคเดียวก็ต่อเมื่อมีพรรคการเมืองที่สามารถครองอำนาจในการจัดตั้งรัฐบาลอย่างต่อเนื่องประมาณ 3-5 รัฐบาล[16] โดยมีคุณสมบัติของการเป็นรัฐบาลพรรคเดียวประกอบด้วย 3 มิติ คือ หนึ่ง พรรคการเมืองต้องได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาที่มากกว่าพรรคการเมืองคู่แข่ง (dominant in number) ส่งผลให้พรรคการเมืองคู่แข่งมีจำนวนที่นั่งน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สอง พรรคการเมืองต้องมีความสามารถสูงในการต่อรองอำนาจ (dominant bargaining position) อย่างมีประสิทธิภาพกับกลุ่มการเมืองหรือพรรคการเมืองที่มีความสามารถด้อยกว่าอื่น ๆ พรรคการเมืองต้องมีอำนาจต่อรองในสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและในตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ (strategic position) สูงกว่ากลุ่มอื่น และ สาม พรรคการเมืองสามารถครอบงำรัฐบาลจนกลายเป็นเนื้อเดียวกัน (dominant governmentally) นโยบายของพรรคการเมืองถูกแปลงเป็นวาระนโยบายการเมืองแห่งชาติ (National Political Agenda) จนสามารถครอบงำผู้เลือกตั้งและพรรคการเมืองอื่น[17] ประเทศที่มีรัฐบาลพรรคเดียวจากระบบพรรคเด่นพรรคเดียวที่สำคัญ อาทิ พรรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party: LDP) ของประเทศญี่ปุ่นที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลมายาวนานระหว่าง ค.ศ. 1955-1993 และพรรคกิจประชาชน (People's Action Party: PAP) ของประเทศสิงคโปร์ที่เป็นรัฐบาลพรรคเดียวยาวนานตั้งแต่การเลือกตั้งใน ค.ศ. 1959 จนถึงปัจจุบัน เป็นต้น
บรรณานุกรม
Almond, Gabriel A., G. Bingham Powell, Kaare Strom, and Russell J. Dalton. "Government and Policymaking." In Comparative Politics Today: A World View, edited by Gabriel A. Almond, Russell J. Dalton, G. Bingham Powell, and Kaare Strom, 101-28. New York: Pearson, 2006.
Dimock, S. "Parliamentary Ethics." In Encyclopedia of Applied Ethics (Second Edition), edited by Ruth Chadwick, 338-48. San Diego: Academic Press, 2012.
Encyclopedia.com. "Majoritarian Party Systems." Last modified Accessed 17 June, 2021. https://www.encyclopedia.com/international/legal-and-political-magazines/majoritarian-party-systems.
Klesner, Joseph L. Comparative Politica: A Introduction. New York: McGraw-Hill, 2014.
นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์. "การก่อเกิดรัฐบาลพรรคเดียวในการเมืองไทย: ศึกษากรณีพรรคไทยรักไทย." มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์. "วิวัฒนาการพรรคการเมืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน." วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ 19, เล่ม 2 (2557): 4-12.
วรวลัญจ์ โรจนพล. "รัฐบาลในการเมืองไทย." ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, ฐปนรรต พรหมอินทร์ (บรรณาธิการ), 6-1 - 6-70. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561.
อ้างอิง
[1] วรวลัญจ์ โรจนพล, "รัฐบาลในการเมืองไทย," ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, ฐปนรรต พรหมอินทร์ (บรรณาธิการ) (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561), 17.
[2] Joseph L. Klesner, Comparative Politica: A Introduction (New York: McGraw-Hill, 2014), 115-16.
[3] วรวลัญจ์ โรจนพล, ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, 17.
[4] นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์, “การก่อเกิดรัฐบาลพรรคเดียวในการเมืองไทย: ศึกษากรณีพรรคไทยรักไทย” (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550), 31.
[5] Klesner, 116.
[6] Ibid., 117.
[7] S. Dimock, "Parliamentary Ethics," in Encyclopedia of Applied Ethics (Second Edition), ed. Ruth Chadwick (San Diego: Academic Press, 2012).
[8] วรวลัญจ์ โรจนพล, ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, 18.
[9] Klesner, 117.
[10] Dimock, in Encyclopedia of Applied Ethics (Second Edition).
[11] Gabriel A. Almond et al., "Government and Policymaking," in Comparative Politics Today: A World View, ed. Gabriel A. Almond et al. (New York: Pearson, 2006), 101-28.
[12] พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์, "วิวัฒนาการพรรคการเมืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน," วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ 19, เล่ม 2 (2557): 9.
[13] Encyclopedia.com, "Majoritarian Party Systems," accessed 17 June, 2021. https://www.encyclopedia.com/international/legal-and-political-magazines/majoritarian-party-systems.
[14] พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์, 10.
[15] นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์, 22-23.
[16] Ibid., 24.
[17] Ibid., 31-32.