ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทค..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง '''เอกวีร์ มีสุข
'''ผู้เรียบเรียง : '''เอกวีร์ มีสุข


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ '''รศ. ดร. นิยม รัฐอมฤต  
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : '''รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต  


 
 


'''ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''
= <span style="font-size:x-large;">'''ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''</span> =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การทำความเข้าใจระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวแบ่งการอธิบายออกเป็นสี่ส่วน คือ หนึ่ง นิยามทั่วไปของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเพื่อเป็นนิยามพื้นฐาน สอง การจำแนกความแตกต่างของคำว่า''ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว''และ''ระบบพรรคเด่นพรรคเดียว''ที่เป็นคำใกล้เคียงกันและอาจสร้างความสับสน&nbsp; สาม การนำเสนอตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว และสี่ การอธิบายประเทศที่ปกครองโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การทำความเข้าใจระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวแบ่งการอธิบายออกเป็นสี่ส่วน คือ


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1)&nbsp;นิยามทั่วไปของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเพื่อเป็นนิยามพื้นฐาน
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) การจำแนกความแตกต่างของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวและระบบพรรคเด่นพรรคเดียวที่เป็นคำใกล้เคียงกันและอาจสร้างความสับสน
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3)&nbsp;การนำเสนอตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว และ


'''นิยามทั่วไปของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4)&nbsp;การอธิบายประเทศที่ปกครองโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) หรือรัฐพรรคการเมืองเดียว (One-party state) คือ ระบบพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในรัฐที่กำหนดให้พรรคการเมืองเพียงหนึ่งพรรคมีอำนาจทั้งในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ (de facto) ที่ผูกขาดการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของประเทศ ทั้งการกำหนดให้พรรคการเมืองพรรคเดียวมีอำนาจสูงสุดในทางการเมืองและการปกครองตามรัฐธรรมนูญและการปฏิเสธกีดกันมิให้มีพรรคการเมืองคู่แข่งเข้ามามีส่วนร่วมในระบบการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งของประเทศที่มีระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวมิได้มีลักษระที่เปิดโอกาศให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรมตามนิยามของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย แต่การเลือกตั้งจะถูกควบคุมเพื่อสร้างเสถียรภาพในการรักษาอำนาจการปกครองของพรรคการเมืองพรรคเดียวไว้[[#_ftn1|[1]]] ระบบพรรคการเมืองแบบพรรคเดียวตามความหมายในที่นี้จึงเป็นขั้วตรงข้ามกับระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค (Multi-party system) ในระบอบประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองจำนวนมากและมีการแข่งขันกันในระบบการเลือกตั้งที่อิสระและเปิดโอกาสให้เกิดการแข่งขันได้อย่างแท้จริง แม้ว่าในบางประเทศอาจมีพรรคการเมืองขนาดใหญ่พรรคเดียวหรือไม่กี่พรรคที่ได้รับความนิยมและมีอิทธิพลในทางการเมือง แตกต่างจากระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวตามนิยามนี้ที่ไม่อาจยอมรับได้ในการถกเถียงด้านมิติทางกฎหมายและกระบวนการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย[[#_ftn2|[2]]] ส่วนขอบข่ายของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวมักใช้เรียกในประเทศที่มีการปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism) ดังปรากฎในประเทศที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ (communism) หรือประเทศโลกที่สาม (third world) ที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียวปกครองแบบเบ็ดเสร็จมาเป็นเวลายาวนาน[[#_ftn3|[3]]]
= <span style="font-size:x-large;">'''นิยามทั่วไปของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''</span> =


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System)''' หรือ&nbsp;'''รัฐพรรคการเมืองเดียว (One-party state)''' คือ ระบบพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในรัฐที่กำหนดให้พรรคการเมืองเพียงหนึ่งพรรคมีอำนาจทั้งในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ (de facto) ที่ผูกขาดการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของประเทศ ทั้งการกำหนดให้พรรคการเมืองพรรคเดียวมีอำนาจสูงสุดในทางการเมืองและการปกครองตามรัฐธรรมนูญและการปฏิเสธกีดกันมิให้มีพรรคการเมืองคู่แข่งเข้ามามีส่วนร่วมในระบบการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งของประเทศที่มีระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวมิได้มีลักษระที่เปิดโอกาศให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรมตามนิยามของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย แต่การเลือกตั้งจะถูกควบคุมเพื่อสร้างเสถียรภาพในการรักษาอำนาจการปกครองของพรรคการเมืองพรรคเดียวไว้[[#_ftn1|[1]]] ระบบพรรคการเมืองแบบพรรคเดียวตามความหมายในที่นี้จึงเป็นขั้วตรงข้ามกับระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค (Multi-party system) ในระบอบประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองจำนวนมากและมีการแข่งขันกันในระบบการเลือกตั้งที่อิสระและเปิดโอกาสให้เกิดการแข่งขันได้อย่างแท้จริง แม้ว่าในบางประเทศอาจมีพรรคการเมืองขนาดใหญ่พรรคเดียวหรือไม่กี่พรรคที่ได้รับความนิยมและมีอิทธิพลในทางการเมือง แตกต่างจากระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวตามนิยามนี้ที่ไม่อาจยอมรับได้ในการถกเถียงด้านมิติทางกฎหมายและกระบวนการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย[[#_ftn2|[2]]] ส่วนขอบข่ายของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวมักใช้เรียกในประเทศที่มีการปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism) ดังปรากฎในประเทศที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ (communism) หรือประเทศโลกที่สาม (third world) ที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียวปกครองแบบเบ็ดเสร็จมาเป็นเวลายาวนาน[[#_ftn3|[3]]]


'''ความแตกต่างของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวและระบบพรรคเด่นพรรคเดียว'''
= <span style="font-size:x-large;">'''ความแตกต่างของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวและระบบพรรคเด่นพรรคเดียว'''</span> =


ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเป็นคำที่ใช้ในการเรียกระบบพรรคการเมือง (party system) ที่มุ่งวิเคราะห์ระบบพรรคการเมืองจากจำนวนของพรรคการเมืองและแบบแผนความสัมพันธ์ของพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศ[[#_ftn4|[4]]] อย่างไรก็ตามการเรียกว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวอาจสร้างความสับสนเนื่องจากมี''นักวิชาการจำนวนมากที่ให้นิยามความหมายระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวไว้แตกต่างกัน หรือได้สร้างคำนิยามที่มีชื่อเรียกใกล้เคียงกันไว้ ''โดยเฉพาะอย่างยิ่งความแตกต่างระหว่างคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) และระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเป็นคำที่ใช้ในการเรียก[[ระบบพรรคการเมือง]] (party system) ที่มุ่งวิเคราะห์ระบบพรรคการเมืองจากจำนวนของพรรคการเมืองและแบบแผนความสัมพันธ์ของพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศ[[#_ftn4|[4]]] อย่างไรก็ตามการเรียกว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวอาจสร้างความสับสนเนื่องจากมีนักวิชาการจำนวนมากที่ให้นิยามความหมายระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวไว้แตกต่างกันหรือได้สร้างคำนิยามที่มีชื่อเรียกใกล้เคียงกันไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความแตกต่างระหว่างคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) และระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system)


จากการจัดแบ่งระบบพรรคการเมืองโดยนักรัฐศาสตร์ชาวฝรั่งเศสนามว่ามูริช ดูเวอร์แยร์ (Maurice Duverger) ได้แบ่งระบบพรรคการเมืองตามจำนวนพรรคออกเป็น 3 ประเภท คือ ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (Two-Party System) และระบบหลายพรรค (Multi-Party System)[[#_ftn5|[5]]] โดยในความหมายของดูเวอร์แยร์มองว่า''ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว''หมายถึงระบบพรรคการเมืองที่มีเพียงพรรคการเมืองเดียวมีอำนาจครอบงำพรรคการเมืองอื่นได้โดยเบ็ดเสร็จและเป็นระบบพรรคการเมืองในประเทศที่ปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism)[[#_ftn6|[6]]] แตกต่างจากการแบ่งประเภทของพรรคการเมืองของโจวันนี ซาร์โตรี (Giovanni Sartori) ที่แบ่งตามอุดมการณ์ของพรรคการเมืองและจำนวนของพรรคการเมืองได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ ระบบสองพรรค (two-party system) ระบบพหุนิยมแบบปานกลาง (moderate pluralism) ระบบพหุนิยมแบบแบ่งขั้ว (polarized pluralism) และระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system) โดยการให้ความหมายของซาร์โตรีมองว่า''ระบบพรรคเด่นพรรคเดียว''เป็นระบบที่มีพรรคการเมืองมากกว่าหนึ่งพรรคแต่มีเพียงพรรคเดียวที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่โดดเด่นเพียงพรรคเดียวและพรรคการเมืองดังกล่าวสามารถจัดตั้งรัฐบาลและครองอำนาจในการปกครองประเทศเป็นเวลายาวนาน[[#_ftn7|[7]]] โดยที่''ระบบพรรคเด่นพรรคเดียว''ยังสามารถเกิดขึ้นในระบอบประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้งได้และกลไกการปกครองในระบอบประชาธิปไตยยังสามารถทำงานเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลได้เป็นปกติและยังมีการแข่งขันทางการเมืองผ่านการเลือกตั้งได้อย่างเสรี เพียงแต่ว่าในประเทศดังกล่าวอาจมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวที่สามารถชนะการเลือกตั้งมาเป็นเวลายาวนาน อย่างไรก็ตาม ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวอาจส่งผลให้ระบอบการปกครองของประเทศเกิดการเปลี่ยนรูปแบบไปสู่การปกครองแบบอำนาจนิยม (authoritarianism) มากขึ้นและมีการใช้อิทธิพลของตนในการปกครองประเทศมายาวนานเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างและกลไกทางปกครองต่าง ๆ เพื่อเอื้อต่อการรักษาอำนาจของพรรคไว้ หรือการครอบงำของพรรคเด่นพรรคเดียวจะส่งผลให้เกิดการขาดการแข่งขันทางการเมืองในระบอบการเมืองจนส่งผลกระทบต่อสมรรถนะของระบอบประชาธิปไตยทั้งในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่[[#_ftn8|[8]]]&nbsp;&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากการจัดแบ่งระบบพรรคการเมืองโดยนักรัฐศาสตร์ชาวฝรั่งเศสนามว่า มูริช ดูเวอร์แยร์ (Maurice Duverger) ได้แบ่งระบบพรรคการเมืองตามจำนวนพรรคออกเป็น 3 ประเภท คือ ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (Two-Party System) และระบบหลายพรรค (Multi-Party System)[[#_ftn5|[5]]] โดยในความหมายของดูเวอร์แยร์มองว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว หมายถึง ระบบพรรคการเมืองที่มีเพียงพรรคการเมืองเดียวมีอำนาจครอบงำพรรคการเมืองอื่นได้โดยเบ็ดเสร็จและเป็นระบบพรรคการเมืองในประเทศที่ปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism)[[#_ftn6|[6]]] แตกต่างจากการแบ่งประเภทของพรรคการเมืองของ โจวันนี ซาร์โตรี (Giovanni Sartori) ที่แบ่งตามอุดมการณ์ของพรรคการเมืองและจำนวนของพรรคการเมืองได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ ระบบสองพรรค (two-party system) ระบบพหุนิยมแบบปานกลาง (moderate pluralism) ระบบพหุนิยมแบบแบ่งขั้ว (polarized pluralism) และระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system) โดยการให้ความหมายของซาร์โตรีมองว่าระบบพรรคเด่นพรรคเดียวเป็นระบบที่มีพรรคการเมืองมากกว่าหนึ่งพรรคแต่มีเพียงพรรคเดียวที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่โดดเด่นเพียงพรรคเดียวและพรรคการเมืองดังกล่าวสามารถจัดตั้งรัฐบาลและครองอำนาจในการปกครองประเทศเป็นเวลายาวนาน[[#_ftn7|[7]]] โดยที่ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวยังสามารถเกิดขึ้นในระบอบประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้งได้และกลไกการปกครองในระบอบประชาธิปไตยยังสามารถทำงานเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลได้เป็นปกติและยังมีการแข่งขันทางการเมืองผ่านการเลือกตั้งได้อย่างเสรี เพียงแต่ว่าในประเทศดังกล่าวอาจมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวที่สามารถชนะการเลือกตั้งมาเป็นเวลายาวนาน อย่างไรก็ตาม ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวอาจส่งผลให้ระบอบการปกครองของประเทศเกิดการเปลี่ยนรูปแบบไปสู่การปกครองแบบอำนาจนิยม (authoritarianism) มากขึ้นและมีการใช้อิทธิพลของตนในการปกครองประเทศมายาวนานเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างและกลไกทางปกครองต่าง ๆ เพื่อเอื้อต่อการรักษาอำนาจของพรรคไว้ หรือการครอบงำของพรรคเด่นพรรคเดียวจะส่งผลให้เกิดการขาดการแข่งขันทางการเมืองในระบอบการเมืองจนส่งผลกระทบต่อสมรรถนะของระบอบประชาธิปไตยทั้งในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่[[#_ftn8|[8]]]&nbsp;&nbsp;


'''ตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''
= <span style="font-size:x-large;">'''ตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''</span> =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อพิจารณาถึงตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวภายใต้การปกครองแบบเบ็ดเสร็จนิยม พบว่าสามารถจำแนกได้เป็น 2 ตัวแบบ ดังนี้[[#_ftn9|[9]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อพิจารณาถึงตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวภายใต้การปกครองแบบเบ็ดเสร็จนิยม พบว่าสามารถจำแนกได้เป็น 2 ตัวแบบ ดังนี้[[#_ftn9|[9]]]


'''1) ตัวแบบคอมมิวนิสต์ (The communist model)''' ตัวแบบคอมมิวนิสต์เกิดขึ้นจากการที่พรรคการเมืองที่นิยมในแนวคิดคอมมิวนิสต์มองว่าพรรคเป็นแกนนำสำคัญของชนชั้นกรรมาชีพในเมืองและชนชั้นอื่น ๆ (อาทิ ชาวนาและปัญญาชน) พรรคการเมืองจึงมีความต้องการสร้างระบอบสังคมรูปแบบใหม่เพื่อเปลี่ยนผ่านจากสังคมทุนนิยมสู่สังคมคอมมิวนิสต์ผ่านการสร้างระบบเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพขึ้นมาเพื่อล้มล้างระบบทุนนิยมที่อิงกับการสิทธิในการถือครองทรัพย์สินของเอกชน การปฏิวัติเพื่อล้มล้างสังคมทุนนิยมให้สำเร็จจึงต้องอาศัยการการควบคุมอำนาจของรัฐด้วยเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพเพื่อป้องกันการต่อต้านการปฏิวัติและเพื่อช่วยอำนวยความสะวกในการเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ก่อนที่จะทำให้รัฐสูญสลายไป พรรคการเมืองที่นิยมแนวคิดคอมมิวนิสต์ที่ขึ้นครองอำนาจรัฐจะต้องทำหน้าที่แบบเผด็จการในนามของชนขั้นกรรมาชีพภายใต้การนำของพรรค[[#_ftn10|[10]]] เลนิน (Lenin) ผู้นำการปฏิวัติชาวรัสเซียเป็นบุคคลหนึ่งที่เสนอให้ใช้ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวในการปกครอง เลนินมองว่าความชอบธรรมจะถูกตัดสินจากการผูกขาดอำนาจโดยพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เลนินเชื่อว่าประชาชนธรรมดาไม่สามารถเข้าใจผลประโยชน์ของตนและผลประโยชน์โดยรวมของสังคมไม่จำเป็นต้องมาจากการรวบรวมผลประโยชน์ที่แตกต่างหลากหลายของคนแต่ละคน อีกทั้งเลนินมองว่าประชาชนธรรมดามิได้มีจิตสำนึกของการปฏิวัติและความรู้ในแนวคิดคอมมิวนิสต์ พวกเขาขาดความสามารถในการตัดสินใจที่ถูกต้องในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนผ่านสังคมแบบทุนนิยมสู่สังคมคอมมิวนิสต์ได้ ดังนั้น การแก้ปัญหาโดยให้พรรคการเมืองและระบบการเมืองที่สร้างขึ้นเพื่อบนหลักการของการเป็นผู้พิทักษ์ (guardianship)และการจัดลำดับช่วงชั้นมาทำหน้าที่แทนเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ให้สำเร็จ[[#_ftn11|[11]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''1.&nbsp;ตัวแบบคอมมิวนิสต์ (The communist model)''' ตัวแบบคอมมิวนิสต์เกิดขึ้นจากการที่พรรคการเมืองที่นิยมในแนวคิดคอมมิวนิสต์มองว่าพรรคเป็นแกนนำสำคัญของชนชั้นกรรมาชีพในเมืองและชนชั้นอื่น ๆ (อาทิ ชาวนาและปัญญาชน) พรรคการเมืองจึงมีความต้องการสร้างระบอบสังคมรูปแบบใหม่เพื่อเปลี่ยนผ่านจากสังคมทุนนิยมสู่สังคมคอมมิวนิสต์ผ่านการสร้างระบบเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพขึ้นมาเพื่อล้มล้างระบบทุนนิยมที่อิงกับการสิทธิในการถือครองทรัพย์สินของเอกชน การปฏิวัติเพื่อล้มล้างสังคมทุนนิยมให้สำเร็จจึงต้องอาศัยการการควบคุมอำนาจของรัฐด้วยเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพเพื่อป้องกันการต่อต้านการปฏิวัติและเพื่อช่วยอำนวยความสะวกในการเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ก่อนที่จะทำให้รัฐสูญสลายไป พรรคการเมืองที่นิยมแนวคิดคอมมิวนิสต์ที่ขึ้นครองอำนาจรัฐจะต้องทำหน้าที่แบบเผด็จการในนามของชนขั้นกรรมาชีพภายใต้การนำของพรรค[[#_ftn10|[10]]] เลนิน (Lenin) ผู้นำการปฏิวัติชาวรัสเซียเป็นบุคคลหนึ่งที่เสนอให้ใช้ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวในการปกครอง เลนินมองว่าความชอบธรรมจะถูกตัดสินจากการผูกขาดอำนาจโดยพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เลนินเชื่อว่าประชาชนธรรมดาไม่สามารถเข้าใจผลประโยชน์ของตนและผลประโยชน์โดยรวมของสังคมไม่จำเป็นต้องมาจากการรวบรวมผลประโยชน์ที่แตกต่างหลากหลายของคนแต่ละคน อีกทั้งเลนินมองว่าประชาชนธรรมดามิได้มีจิตสำนึกของการปฏิวัติและความรู้ในแนวคิดคอมมิวนิสต์ พวกเขาขาดความสามารถในการตัดสินใจที่ถูกต้องในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนผ่านสังคมแบบทุนนิยมสู่สังคมคอมมิวนิสต์ได้ ดังนั้น การแก้ปัญหาโดยให้พรรคการเมืองและระบบการเมืองที่สร้างขึ้นเพื่อบนหลักการของการเป็นผู้พิทักษ์ (guardianship)และการจัดลำดับช่วงชั้นมาทำหน้าที่แทนเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ให้สำเร็จ[[#_ftn11|[11]]]


ด้วยเหตุนี้ ประเทศคอมมิวนิสต์จึงถูกปกครองและมีโครงสร้างการบริหารภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์เพียงพรรคเดียว โครงสร้างของพรรคคอมมิวนิสต์จึงจัดวางอย่างแนบแน่นกับโครงสร้างการปกครองประเทศไปพร้อมกับการสร้างการยึดโยงกับมวลชน สมาชิกพรรคจะต้องมีความกระตือรือร้นและเป็นคนที่มีจิตสำนึกทางการเมืองสูงและสอดรับกับแนวทางของพรรค โดยผู้นำพรรคและสมาชิกพรรคจะมีการยึดโยงและพัฒนาช่องทางการสื่อสารระหว่างกัน ขณะเดียวกันกลไกของพรรคคอมมิวนิสต์ยังเป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อให้ผู้คนเชื่อและอุทิศตนให้กับพรรคผ่านการปลูกฝังความคิดอย่างเข้มข้นและการเซนเซอร์ข้อมูลข่าวสารที่ส่งผลเชิงลบต่อพรรค[[#_ftn12|[12]]] รวมถึงสร้างระบบการรวมศูนย์อำนาจของพรรคผ่านการจัดลำดับช่วงชั้นภายในพรรคและยกระดับให้พรรคเป็นกลไกทางอำนาจของรัฐแทนที่กลไกระบบราชการ อาทิ การรวมศูนย์อำนาจที่เลขาธิการพรรคในฐานะผู้นำทางการเมืองของพรรคและเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองและการปกครองของประเทศ[[#_ftn13|[13]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้วยเหตุนี้ ประเทศคอมมิวนิสต์จึงถูกปกครองและมีโครงสร้างการบริหารภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์เพียงพรรคเดียว โครงสร้างของพรรคคอมมิวนิสต์จึงจัดวางอย่างแนบแน่นกับโครงสร้างการปกครองประเทศไปพร้อมกับการสร้างการยึดโยงกับมวลชน สมาชิกพรรคจะต้องมีความกระตือรือร้นและเป็นคนที่มีจิตสำนึกทางการเมืองสูงและสอดรับกับแนวทางของพรรค โดยผู้นำพรรคและสมาชิกพรรคจะมีการยึดโยงและพัฒนาช่องทางการสื่อสารระหว่างกัน ขณะเดียวกันกลไกของพรรคคอมมิวนิสต์ยังเป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อให้ผู้คนเชื่อและอุทิศตนให้กับพรรคผ่านการปลูกฝังความคิดอย่างเข้มข้นและการเซนเซอร์ข้อมูลข่าวสารที่ส่งผลเชิงลบต่อพรรค[[#_ftn12|[12]]] รวมถึงสร้างระบบการรวมศูนย์อำนาจของพรรคผ่านการจัดลำดับช่วงชั้นภายในพรรคและยกระดับให้พรรคเป็นกลไกทางอำนาจของรัฐแทนที่กลไกระบบราชการ อาทิ การรวมศูนย์อำนาจที่เลขาธิการพรรคในฐานะผู้นำทางการเมืองของพรรคและเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองและการปกครองของประเทศ[[#_ftn13|[13]]]


ประเทศที่มีการปกครองในตัวแบบคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์พรรคเดียว เช่น อดีตสหภาพโซเวียต จีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา คิวบา และเกาหลีเหนือ อย่างไรก็ตาม ประเทศที่เคยปกครองด้วยตัวแบบดังกล่าวได้ล้มล้างรอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ลงเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย มีการแก้ไขระบอบการปกครองและรัฐธรรมนูญเพื่อขจัดอำนาจของพรรคและสมาชิกพรรคเพื่อสร้างระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคขึ้นมาทดแทน[[#_ftn14|[14]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศที่มีการปกครองในตัวแบบคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์พรรคเดียว เช่น อดีตสหภาพโซเวียต จีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา คิวบา และเกาหลีเหนือ อย่างไรก็ตาม ประเทศที่เคยปกครองด้วยตัวแบบดังกล่าวได้ล้มล้างรอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ลงเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย มีการแก้ไขระบอบการปกครองและรัฐธรรมนูญเพื่อขจัดอำนาจของพรรคและสมาชิกพรรคเพื่อสร้างระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคขึ้นมาทดแทน[[#_ftn14|[14]]]


'''2) ตัวแบบฟาสซิสต์ (The fascist model)''' ตัวแบบฟาสซิสต์เป็นรูปแบบการปกครองโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวที่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศเยอรมนีและอิตาลีช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พรรคการเมืองแบบฟาสซิสต์ที่เข้าครองอำนาจรัฐได้พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและรัฐบาลที่ควบคุมโดยพรรคอย่างเข้มงวด พรรคฟาสซิสต์จะพยายามปราบปรามประชาชนหรือสมาชิกที่ไม่เชื่อฟังหรือออกนอกแนวทางของพรรค การดำเนินงานของพรรคจะจัดการผ่านโครงสร้างและช่วงชั้นอย่างเข้มงวดตั้งแต่การคัดสรรคนมาเป็นสมาชิกผ่านองค์กรเยาวชนที่มีการปลูกฝังความคิดสุดโต่งของพรรคไปจนถึงการสร้างลำดับชั้นความสัมพันธ์ตามความใกล้ชิด ขณะเดียวกัน การปกครองแบบพรรคเดียวที่ให้ความสำคัญกับกลไกของตำรวจและทหารในการควบคุมประชาชนมากกว่าการยึดมั่นในอุดมการณ์ที่ตายตัวแบบตัวแบบคอมมิวนิสต์[[#_ftn15|[15]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''2.&nbsp;ตัวแบบฟาสซิสต์ (The fascist model)''' ตัวแบบฟาสซิสต์เป็นรูปแบบการปกครองโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวที่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศเยอรมนีและอิตาลีช่วง[[สงครามโลกครั้งที่_2]] พรรคการเมืองแบบฟาสซิสต์ที่เข้าครองอำนาจรัฐได้พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและรัฐบาลที่ควบคุมโดยพรรคอย่างเข้มงวด พรรคฟาสซิสต์จะพยายามปราบปรามประชาชนหรือสมาชิกที่ไม่เชื่อฟังหรือออกนอกแนวทางของพรรค การดำเนินงานของพรรคจะจัดการผ่านโครงสร้างและช่วงชั้นอย่างเข้มงวดตั้งแต่การคัดสรรคนมาเป็นสมาชิกผ่านองค์กรเยาวชนที่มีการปลูกฝังความคิดสุดโต่งของพรรคไปจนถึงการสร้างลำดับชั้นความสัมพันธ์ตามความใกล้ชิด ขณะเดียวกัน การปกครองแบบพรรคเดียวที่ให้ความสำคัญกับกลไกของตำรวจและทหารในการควบคุมประชาชนมากกว่าการยึดมั่นในอุดมการณ์ที่ตายตัวแบบตัวแบบคอมมิวนิสต์[[#_ftn15|[15]]]


ประเทศที่เคยใช้มีการปกครองในตัวแบบฟาสซิสต์ อาทิ พรรคสหภาพชาตินิยม (National Union) ในประเทศโปรตุเกส พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (National Socialist Party) หรือพรรคนาซี (Nazi Party) ในประเทศเยอรมนี พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์ (National Fascist Party) &nbsp;ในอิตาลี เป็นต้น แต่ในปัจจุบันการปกครองพรรคการเมืองพรรคเดียวตามตัวแบบฟาสซิสต์ยังไม่เกิดขึ้นชัดเจนนัก เนื่องจากพรรคการเมืองที่อ้างว่าเป็นพรรคฟาสซิสต์กลับมีบทบาทน้อยลงหรือถูกยกเลิกไปเมื่อประเทศเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศที่เคยใช้มีการปกครองในตัวแบบฟาสซิสต์ อาทิ พรรคสหภาพชาตินิยม (National Union) ในประเทศโปรตุเกส พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (National Socialist Party) หรือพรรคนาซี (Nazi Party) ในประเทศเยอรมนี พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์ (National Fascist Party) ในอิตาลี เป็นต้น แต่ในปัจจุบันการปกครองพรรคการเมืองพรรคเดียวตามตัวแบบฟาสซิสต์ยังไม่เกิดขึ้นชัดเจนนัก เนื่องจากพรรคการเมืองที่อ้างว่าเป็นพรรคฟาสซิสต์กลับมีบทบาทน้อยลงหรือถูกยกเลิกไปเมื่อประเทศเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''ประเทศที่ปกครองโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''</span> =
 
'''ประเทศที่ปกครองโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศที่ปกครองด้วยระบบพรรคเดียว ได้แก่ กลุ่มประเทศที่ปกครองตามตัวแบบคอมมิวนิสต์ (เช่น จีน เกาหลีเหนือ ลาว เวียดนาม และคิวบา) และประเทศที่ปกครองด้วยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวภายใต้อุดมการณ์แบบอื่น (เช่น ประเทศเอริเทรีย) โดยเรียงลำดับตามปีที่ประเทศเริ่มสถาปนาระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว ดังนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศที่ปกครองด้วยระบบพรรคเดียว ได้แก่ กลุ่มประเทศที่ปกครองตามตัวแบบคอมมิวนิสต์ (เช่น จีน เกาหลีเหนือ ลาว เวียดนาม และคิวบา) และประเทศที่ปกครองด้วยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวภายใต้อุดมการณ์แบบอื่น (เช่น ประเทศเอริเทรีย) โดยเรียงลำดับตามปีที่ประเทศเริ่มสถาปนาระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว ดังนี้


&nbsp;
{| align="center" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
 
{| border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"
|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width: 200px; text-align: center;" |  
'''ประเทศ'''
'''ประเทศ'''


| style="width:179px;" |  
| style="width: 400px; text-align: center;" |  
'''พรรค'''
'''พรรค'''


| style="width:123px;" |  
| style="width: 150px; text-align: center;" |  
'''วันเดือนปีที่ก่อตั้ง (ค.ศ.)'''
'''วันเดือนปีที่ก่อตั้ง (ค.ศ.)'''


| style="width:195px;" |  
| style="width: 195px; text-align: center;" |  
'''อุดมการณ์'''
'''อุดมการณ์'''


|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width:104px;" | <p style="text-align: center;">'''เกาหลีเหนือ'''</p>
'''เกาหลีเหนือ'''
 
| style="width:179px;" |  
| style="width:179px;" |  
พรรคแรงงานแห่งเกาหลี (Workers' Party of Korea: WPK)
พรรคแรงงานแห่งเกาหลี (Workers' Party of Korea: WPK)


| style="width:123px;" |  
| style="width:123px;" | <p style="text-align: center;">10 ตุลาคม 1945</p>
10 ตุลาคม 1945
| style="width:195px;" | <p style="text-align: center;">ชูเช (Juche)</p>
 
| style="width:195px;" |  
ชูเช (Juche)
 
|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width:104px;" | <p style="text-align: center;">'''เวียดนาม'''</p>
'''เวียดนาม'''
 
| style="width:179px;" |  
| style="width:179px;" |  
พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Communist Party of Vietnam: CPV)
พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Communist Party of Vietnam: CPV)


| style="width:123px;" |  
| style="width:123px;" | <p style="text-align: center;">2 กันยายน 1945</p>
2 กันยายน 1945
| style="width:195px;" | <p style="text-align: center;">แนวคิดโฮจิมินห์(Ho Chi Minh Thought)</p>
 
| style="width:195px;" |  
แนวคิดโฮจิมินห์(Ho Chi Minh Thought)
 
|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width:104px;" | <p style="text-align: center;">'''จีน (สาธารณรัฐประชาชนจีน)'''</p>
'''จีน (สาธารณรัฐประชาชนจีน)'''
 
| style="width:179px;" |  
| style="width:179px;" |  
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน (Communist Party of China: CPC)
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน (Communist Party of China: CPC)


| style="width:123px;" |  
| style="width:123px;" | <p style="text-align: center;">1 ตุลาคม 1949</p>
1 ตุลาคม 1949
| style="width:195px;" | <p style="text-align: center;">สังคมนิยมที่มีลักษณะเฉพาะของจีน (Socialism with Chinese characteristics)</p>
 
| style="width:195px;" |  
สังคมนิยมที่มีลักษณะเฉพาะของจีน (Socialism with Chinese characteristics)
 
|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width:104px;" | <p style="text-align: center;">'''คิวบา'''</p>
'''คิวบา'''
 
| style="width:179px;" |  
| style="width:179px;" |  
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศคิวบา (Communist Party of Cuba: PCC)
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศคิวบา (Communist Party of Cuba: PCC)


| style="width:123px;" |  
| style="width:123px;" | <p style="text-align: center;">1 มกราคม 1959</p>
1 มกราคม 1959
| style="width:195px;" | <p style="text-align: center;">มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์ และคาสโตนิสต์ (Marxism–Leninism, Castroism)</p>
 
| style="width:195px;" |  
มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์ และคาสโตนิสต์ (Marxism–Leninism, Castroism)
 
|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width:104px;" | <p style="text-align: center;">'''ลาว'''</p>
'''ลาว'''
 
| style="width:179px;" |  
| style="width:179px;" |  
พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (Lao People's Revolutionary Party: LPRP)
พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (Lao People's Revolutionary Party: LPRP)


| style="width:123px;" |  
| style="width:123px;" | <p style="text-align: center;">2 ธันวาคม 1975</p>
2 ธันวาคม 1975
| style="width:195px;" | <p style="text-align: center;">แนวคิดไกสอน พมวิหาน (Kaysone Phomvihane Thought)</p>
 
| style="width:195px;" |  
แนวคิดไกสอน พมวิหาน (Kaysone Phomvihane Thought)
 
|-
|-
| style="width:104px;" |  
| style="width:104px;" | <p style="text-align: center;">'''เอริเทรีย'''</p>
'''เอริเทรีย'''
 
| style="width:179px;" |  
| style="width:179px;" |  
พรรคแนวร่วมประชาชนเพื่อประชาธิปไคนและความยุติธรรม (People's Front for Democracy and Justice: PFDJ)
พรรคแนวร่วมประชาชนเพื่อประชาธิปไคนและความยุติธรรม (People's Front for Democracy and Justice: PFDJ)


| style="width:123px;" |  
| style="width:123px;" | <p style="text-align: center;">24 พฤษภาคม 1993</p>
24 พฤษภาคม 1993
| style="width:195px;" | <p style="text-align: center;">ชาตินิยมเอริเทรีย สังคมนิยม (Eritrean nationalism, socialism)</p>
 
| style="width:195px;" |  
ชาตินิยมเอริเทรีย สังคมนิยม (Eritrean nationalism, socialism)
 
|}
|}


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> =
 
&nbsp;
 
&nbsp;
 
'''บรรณานุกรม'''


ACE Encyclopaedia. "Multi- or One-Partuy System." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm.
ACE Encyclopaedia. "Multi- or One-Partuy System." Last modified Accessed 10 July, 2021. [https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm].


Bogaards, Matthijs and Françoise Boucek. "Dominant Parties and Democracy." Last modified 2005. Accessed 18 July, 2021. https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf.
Bogaards, Matthijs and Françoise Boucek. "Dominant Parties and Democracy." Last modified 2005. Accessed 18 July, 2021. [https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf].


Britannica. "Single-Party Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems.
Britannica. "Single-Party Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. [https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems].


Klesner, Joseph L. ''Comparative Politica: A Introduction''. New York: McGraw-Hill, 2014.
Klesner, Joseph L. ''Comparative Politica: A Introduction''. New York: McGraw-Hill, 2014.
บรรทัดที่ 158: บรรทัดที่ 116:
Manion, Melanie. "Politics in China." In ''Comparative Politics Today: A World View'', edited by Gabriel A. Almond, Russell J. Dalton, G. Bingham Powell, and Kaare Strom, 413-59. New York: Pearson, 2006.
Manion, Melanie. "Politics in China." In ''Comparative Politics Today: A World View'', edited by Gabriel A. Almond, Russell J. Dalton, G. Bingham Powell, and Kaare Strom, 413-59. New York: Pearson, 2006.


Oxford Reference. "One-Party State." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211.
Oxford Reference. "One-Party State." Last modified Accessed 10 July, 2021. [https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211 https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211].


พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์. "วิวัฒนาการพรรคการเมืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน." วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ 19, เล่ม 2 (2557): 4-12.
พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์. "วิวัฒนาการพรรคการเมืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน." วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ 19, เล่ม 2 (2557): 4-12.


อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.
<div>
= '''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง&nbsp;</span>''' =


&nbsp;
[[#_ftnref1|[1]]] Oxford Reference, "One-Party State," accessed 10 July, 2021. [https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211 https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211].
<div>อ้างอิง&nbsp;
<div id="ftn2">
----
[[#_ftnref2|[2]]] ACE Encyclopaedia, "Multi- or One-Partuy System," accessed 10 July, 2021. [https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm].
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] Oxford Reference, "One-Party State," accessed 10 July, 2021. https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211.
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] ACE Encyclopaedia, "Multi- or One-Partuy System," accessed 10 July, 2021. https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] Oxford Reference, ibid.
[[#_ftnref3|[3]]] Oxford Reference, ibid.
บรรทัดที่ 182: บรรทัดที่ 138:
[[#_ftnref7|[7]]] Klesner, 167. และ อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 286.
[[#_ftnref7|[7]]] Klesner, 167. และ อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 286.
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] Matthijs Bogaards and Françoise Boucek, "Dominant Parties and Democracy," accessed 18 July, 2021. https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf.
[[#_ftnref8|[8]]] Matthijs Bogaards and Françoise Boucek, "Dominant Parties and Democracy," accessed 18 July, 2021. [https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf].
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] Britannica, "Single-Party Systems," accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems.
[[#_ftnref9|[9]]] Britannica, "Single-Party Systems," accessed 10 July, 2021. [https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems].
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] Ibid.
[[#_ftnref10|[10]]] Ibid.
บรรทัดที่ 197: บรรทัดที่ 153:
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] Ibid.
[[#_ftnref15|[15]]] Ibid.
</div> </div>
</div> </div>  
[[Category:พรรคการเมือง]][[Category:ว่าด้วยพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:29, 7 มีนาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : เอกวีร์ มีสุข

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต  

 

ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว

          การทำความเข้าใจระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวแบ่งการอธิบายออกเป็นสี่ส่วน คือ

          1) นิยามทั่วไปของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเพื่อเป็นนิยามพื้นฐาน

          2) การจำแนกความแตกต่างของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวและระบบพรรคเด่นพรรคเดียวที่เป็นคำใกล้เคียงกันและอาจสร้างความสับสน

          3) การนำเสนอตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว และ

          4) การอธิบายประเทศที่ปกครองโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว

นิยามทั่วไปของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว

          ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) หรือ รัฐพรรคการเมืองเดียว (One-party state) คือ ระบบพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในรัฐที่กำหนดให้พรรคการเมืองเพียงหนึ่งพรรคมีอำนาจทั้งในทางกฎหมายและในทางปฏิบัติ (de facto) ที่ผูกขาดการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของประเทศ ทั้งการกำหนดให้พรรคการเมืองพรรคเดียวมีอำนาจสูงสุดในทางการเมืองและการปกครองตามรัฐธรรมนูญและการปฏิเสธกีดกันมิให้มีพรรคการเมืองคู่แข่งเข้ามามีส่วนร่วมในระบบการเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งของประเทศที่มีระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวมิได้มีลักษระที่เปิดโอกาศให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรมตามนิยามของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย แต่การเลือกตั้งจะถูกควบคุมเพื่อสร้างเสถียรภาพในการรักษาอำนาจการปกครองของพรรคการเมืองพรรคเดียวไว้[1] ระบบพรรคการเมืองแบบพรรคเดียวตามความหมายในที่นี้จึงเป็นขั้วตรงข้ามกับระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค (Multi-party system) ในระบอบประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองจำนวนมากและมีการแข่งขันกันในระบบการเลือกตั้งที่อิสระและเปิดโอกาสให้เกิดการแข่งขันได้อย่างแท้จริง แม้ว่าในบางประเทศอาจมีพรรคการเมืองขนาดใหญ่พรรคเดียวหรือไม่กี่พรรคที่ได้รับความนิยมและมีอิทธิพลในทางการเมือง แตกต่างจากระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวตามนิยามนี้ที่ไม่อาจยอมรับได้ในการถกเถียงด้านมิติทางกฎหมายและกระบวนการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย[2] ส่วนขอบข่ายของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวมักใช้เรียกในประเทศที่มีการปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism) ดังปรากฎในประเทศที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ (communism) หรือประเทศโลกที่สาม (third world) ที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียวปกครองแบบเบ็ดเสร็จมาเป็นเวลายาวนาน[3]

ความแตกต่างของคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวและระบบพรรคเด่นพรรคเดียว

          ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเป็นคำที่ใช้ในการเรียกระบบพรรคการเมือง (party system) ที่มุ่งวิเคราะห์ระบบพรรคการเมืองจากจำนวนของพรรคการเมืองและแบบแผนความสัมพันธ์ของพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศ[4] อย่างไรก็ตามการเรียกว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวอาจสร้างความสับสนเนื่องจากมีนักวิชาการจำนวนมากที่ให้นิยามความหมายระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวไว้แตกต่างกันหรือได้สร้างคำนิยามที่มีชื่อเรียกใกล้เคียงกันไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความแตกต่างระหว่างคำว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) และระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system)

          จากการจัดแบ่งระบบพรรคการเมืองโดยนักรัฐศาสตร์ชาวฝรั่งเศสนามว่า มูริช ดูเวอร์แยร์ (Maurice Duverger) ได้แบ่งระบบพรรคการเมืองตามจำนวนพรรคออกเป็น 3 ประเภท คือ ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single-Party System) ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค (Two-Party System) และระบบหลายพรรค (Multi-Party System)[5] โดยในความหมายของดูเวอร์แยร์มองว่าระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว หมายถึง ระบบพรรคการเมืองที่มีเพียงพรรคการเมืองเดียวมีอำนาจครอบงำพรรคการเมืองอื่นได้โดยเบ็ดเสร็จและเป็นระบบพรรคการเมืองในประเทศที่ปกครองแบบเบ็ดเสร็จ (totalitarianism)[6] แตกต่างจากการแบ่งประเภทของพรรคการเมืองของ โจวันนี ซาร์โตรี (Giovanni Sartori) ที่แบ่งตามอุดมการณ์ของพรรคการเมืองและจำนวนของพรรคการเมืองได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ ระบบสองพรรค (two-party system) ระบบพหุนิยมแบบปานกลาง (moderate pluralism) ระบบพหุนิยมแบบแบ่งขั้ว (polarized pluralism) และระบบพรรคเด่นพรรคเดียว (predominant-party system) โดยการให้ความหมายของซาร์โตรีมองว่าระบบพรรคเด่นพรรคเดียวเป็นระบบที่มีพรรคการเมืองมากกว่าหนึ่งพรรคแต่มีเพียงพรรคเดียวที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่โดดเด่นเพียงพรรคเดียวและพรรคการเมืองดังกล่าวสามารถจัดตั้งรัฐบาลและครองอำนาจในการปกครองประเทศเป็นเวลายาวนาน[7] โดยที่ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวยังสามารถเกิดขึ้นในระบอบประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้งได้และกลไกการปกครองในระบอบประชาธิปไตยยังสามารถทำงานเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลได้เป็นปกติและยังมีการแข่งขันทางการเมืองผ่านการเลือกตั้งได้อย่างเสรี เพียงแต่ว่าในประเทศดังกล่าวอาจมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวที่สามารถชนะการเลือกตั้งมาเป็นเวลายาวนาน อย่างไรก็ตาม ระบบพรรคเด่นพรรคเดียวอาจส่งผลให้ระบอบการปกครองของประเทศเกิดการเปลี่ยนรูปแบบไปสู่การปกครองแบบอำนาจนิยม (authoritarianism) มากขึ้นและมีการใช้อิทธิพลของตนในการปกครองประเทศมายาวนานเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างและกลไกทางปกครองต่าง ๆ เพื่อเอื้อต่อการรักษาอำนาจของพรรคไว้ หรือการครอบงำของพรรคเด่นพรรคเดียวจะส่งผลให้เกิดการขาดการแข่งขันทางการเมืองในระบอบการเมืองจนส่งผลกระทบต่อสมรรถนะของระบอบประชาธิปไตยทั้งในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่[8]  

ตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว

          เมื่อพิจารณาถึงตัวแบบของระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวภายใต้การปกครองแบบเบ็ดเสร็จนิยม พบว่าสามารถจำแนกได้เป็น 2 ตัวแบบ ดังนี้[9]

          1. ตัวแบบคอมมิวนิสต์ (The communist model) ตัวแบบคอมมิวนิสต์เกิดขึ้นจากการที่พรรคการเมืองที่นิยมในแนวคิดคอมมิวนิสต์มองว่าพรรคเป็นแกนนำสำคัญของชนชั้นกรรมาชีพในเมืองและชนชั้นอื่น ๆ (อาทิ ชาวนาและปัญญาชน) พรรคการเมืองจึงมีความต้องการสร้างระบอบสังคมรูปแบบใหม่เพื่อเปลี่ยนผ่านจากสังคมทุนนิยมสู่สังคมคอมมิวนิสต์ผ่านการสร้างระบบเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพขึ้นมาเพื่อล้มล้างระบบทุนนิยมที่อิงกับการสิทธิในการถือครองทรัพย์สินของเอกชน การปฏิวัติเพื่อล้มล้างสังคมทุนนิยมให้สำเร็จจึงต้องอาศัยการการควบคุมอำนาจของรัฐด้วยเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพเพื่อป้องกันการต่อต้านการปฏิวัติและเพื่อช่วยอำนวยความสะวกในการเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ก่อนที่จะทำให้รัฐสูญสลายไป พรรคการเมืองที่นิยมแนวคิดคอมมิวนิสต์ที่ขึ้นครองอำนาจรัฐจะต้องทำหน้าที่แบบเผด็จการในนามของชนขั้นกรรมาชีพภายใต้การนำของพรรค[10] เลนิน (Lenin) ผู้นำการปฏิวัติชาวรัสเซียเป็นบุคคลหนึ่งที่เสนอให้ใช้ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวในการปกครอง เลนินมองว่าความชอบธรรมจะถูกตัดสินจากการผูกขาดอำนาจโดยพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เลนินเชื่อว่าประชาชนธรรมดาไม่สามารถเข้าใจผลประโยชน์ของตนและผลประโยชน์โดยรวมของสังคมไม่จำเป็นต้องมาจากการรวบรวมผลประโยชน์ที่แตกต่างหลากหลายของคนแต่ละคน อีกทั้งเลนินมองว่าประชาชนธรรมดามิได้มีจิตสำนึกของการปฏิวัติและความรู้ในแนวคิดคอมมิวนิสต์ พวกเขาขาดความสามารถในการตัดสินใจที่ถูกต้องในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนผ่านสังคมแบบทุนนิยมสู่สังคมคอมมิวนิสต์ได้ ดังนั้น การแก้ปัญหาโดยให้พรรคการเมืองและระบบการเมืองที่สร้างขึ้นเพื่อบนหลักการของการเป็นผู้พิทักษ์ (guardianship)และการจัดลำดับช่วงชั้นมาทำหน้าที่แทนเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ให้สำเร็จ[11]

          ด้วยเหตุนี้ ประเทศคอมมิวนิสต์จึงถูกปกครองและมีโครงสร้างการบริหารภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์เพียงพรรคเดียว โครงสร้างของพรรคคอมมิวนิสต์จึงจัดวางอย่างแนบแน่นกับโครงสร้างการปกครองประเทศไปพร้อมกับการสร้างการยึดโยงกับมวลชน สมาชิกพรรคจะต้องมีความกระตือรือร้นและเป็นคนที่มีจิตสำนึกทางการเมืองสูงและสอดรับกับแนวทางของพรรค โดยผู้นำพรรคและสมาชิกพรรคจะมีการยึดโยงและพัฒนาช่องทางการสื่อสารระหว่างกัน ขณะเดียวกันกลไกของพรรคคอมมิวนิสต์ยังเป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อให้ผู้คนเชื่อและอุทิศตนให้กับพรรคผ่านการปลูกฝังความคิดอย่างเข้มข้นและการเซนเซอร์ข้อมูลข่าวสารที่ส่งผลเชิงลบต่อพรรค[12] รวมถึงสร้างระบบการรวมศูนย์อำนาจของพรรคผ่านการจัดลำดับช่วงชั้นภายในพรรคและยกระดับให้พรรคเป็นกลไกทางอำนาจของรัฐแทนที่กลไกระบบราชการ อาทิ การรวมศูนย์อำนาจที่เลขาธิการพรรคในฐานะผู้นำทางการเมืองของพรรคและเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองและการปกครองของประเทศ[13]

          ประเทศที่มีการปกครองในตัวแบบคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์พรรคเดียว เช่น อดีตสหภาพโซเวียต จีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา คิวบา และเกาหลีเหนือ อย่างไรก็ตาม ประเทศที่เคยปกครองด้วยตัวแบบดังกล่าวได้ล้มล้างรอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ลงเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย มีการแก้ไขระบอบการปกครองและรัฐธรรมนูญเพื่อขจัดอำนาจของพรรคและสมาชิกพรรคเพื่อสร้างระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคขึ้นมาทดแทน[14]

          2. ตัวแบบฟาสซิสต์ (The fascist model) ตัวแบบฟาสซิสต์เป็นรูปแบบการปกครองโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวที่เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศเยอรมนีและอิตาลีช่วงสงครามโลกครั้งที่_2 พรรคการเมืองแบบฟาสซิสต์ที่เข้าครองอำนาจรัฐได้พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและรัฐบาลที่ควบคุมโดยพรรคอย่างเข้มงวด พรรคฟาสซิสต์จะพยายามปราบปรามประชาชนหรือสมาชิกที่ไม่เชื่อฟังหรือออกนอกแนวทางของพรรค การดำเนินงานของพรรคจะจัดการผ่านโครงสร้างและช่วงชั้นอย่างเข้มงวดตั้งแต่การคัดสรรคนมาเป็นสมาชิกผ่านองค์กรเยาวชนที่มีการปลูกฝังความคิดสุดโต่งของพรรคไปจนถึงการสร้างลำดับชั้นความสัมพันธ์ตามความใกล้ชิด ขณะเดียวกัน การปกครองแบบพรรคเดียวที่ให้ความสำคัญกับกลไกของตำรวจและทหารในการควบคุมประชาชนมากกว่าการยึดมั่นในอุดมการณ์ที่ตายตัวแบบตัวแบบคอมมิวนิสต์[15]

          ประเทศที่เคยใช้มีการปกครองในตัวแบบฟาสซิสต์ อาทิ พรรคสหภาพชาตินิยม (National Union) ในประเทศโปรตุเกส พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (National Socialist Party) หรือพรรคนาซี (Nazi Party) ในประเทศเยอรมนี พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์ (National Fascist Party) ในอิตาลี เป็นต้น แต่ในปัจจุบันการปกครองพรรคการเมืองพรรคเดียวตามตัวแบบฟาสซิสต์ยังไม่เกิดขึ้นชัดเจนนัก เนื่องจากพรรคการเมืองที่อ้างว่าเป็นพรรคฟาสซิสต์กลับมีบทบาทน้อยลงหรือถูกยกเลิกไปเมื่อประเทศเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น

ประเทศที่ปกครองโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว

          ประเทศที่ปกครองด้วยระบบพรรคเดียว ได้แก่ กลุ่มประเทศที่ปกครองตามตัวแบบคอมมิวนิสต์ (เช่น จีน เกาหลีเหนือ ลาว เวียดนาม และคิวบา) และประเทศที่ปกครองด้วยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวภายใต้อุดมการณ์แบบอื่น (เช่น ประเทศเอริเทรีย) โดยเรียงลำดับตามปีที่ประเทศเริ่มสถาปนาระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว ดังนี้

ประเทศ

พรรค

วันเดือนปีที่ก่อตั้ง (ค.ศ.)

อุดมการณ์

เกาหลีเหนือ

พรรคแรงงานแห่งเกาหลี (Workers' Party of Korea: WPK)

10 ตุลาคม 1945

ชูเช (Juche)

เวียดนาม

พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Communist Party of Vietnam: CPV)

2 กันยายน 1945

แนวคิดโฮจิมินห์(Ho Chi Minh Thought)

จีน (สาธารณรัฐประชาชนจีน)

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน (Communist Party of China: CPC)

1 ตุลาคม 1949

สังคมนิยมที่มีลักษณะเฉพาะของจีน (Socialism with Chinese characteristics)

คิวบา

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศคิวบา (Communist Party of Cuba: PCC)

1 มกราคม 1959

มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์ และคาสโตนิสต์ (Marxism–Leninism, Castroism)

ลาว

พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (Lao People's Revolutionary Party: LPRP)

2 ธันวาคม 1975

แนวคิดไกสอน พมวิหาน (Kaysone Phomvihane Thought)

เอริเทรีย

พรรคแนวร่วมประชาชนเพื่อประชาธิปไคนและความยุติธรรม (People's Front for Democracy and Justice: PFDJ)

24 พฤษภาคม 1993

ชาตินิยมเอริเทรีย สังคมนิยม (Eritrean nationalism, socialism)

บรรณานุกรม

ACE Encyclopaedia. "Multi- or One-Partuy System." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm.

Bogaards, Matthijs and Françoise Boucek. "Dominant Parties and Democracy." Last modified 2005. Accessed 18 July, 2021. https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf.

Britannica. "Single-Party Systems." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems.

Klesner, Joseph L. Comparative Politica: A Introduction. New York: McGraw-Hill, 2014.

Manion, Melanie. "Politics in China." In Comparative Politics Today: A World View, edited by Gabriel A. Almond, Russell J. Dalton, G. Bingham Powell, and Kaare Strom, 413-59. New York: Pearson, 2006.

Oxford Reference. "One-Party State." Last modified Accessed 10 July, 2021. https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211.

พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์. "วิวัฒนาการพรรคการเมืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน." วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ 19, เล่ม 2 (2557): 4-12.

อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง." ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), 273-306. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564.

อ้างอิง 

[1] Oxford Reference, "One-Party State," accessed 10 July, 2021. https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803100250211.

[2] ACE Encyclopaedia, "Multi- or One-Partuy System," accessed 10 July, 2021. https://aceproject.org/main/english/lf/lfa05.htm.

[3] Oxford Reference, ibid.

[4] พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์, "วิวัฒนาการพรรคการเมืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน," วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ 19, เล่ม 2 (2557): 9.

[5] Ibid. และ Joseph L. Klesner, Comparative Politica: A Introduction (New York: McGraw-Hill, 2014), 133.

[6] พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์, อ้างแล้ว, 9.

[7] Klesner, 167. และ อรรถสิทธิ์ พานแก้ว, "พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง," ใน การเมือง อำนาจ ความรู้: หลักรัฐศาสตร์เบื้องต้นสำนักธรรมศาสตร์, ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ) (กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์, 2564), 286.

[8] Matthijs Bogaards and Françoise Boucek, "Dominant Parties and Democracy," accessed 18 July, 2021. https://ecpr.eu/Filestore/WorkshopOutline/8bed1ad8-a1e2-4fdc-8bdd-5213675091c2.pdf.

[9] Britannica, "Single-Party Systems," accessed 10 July, 2021. https://www.britannica.com/topic/political-party/Single-party-systems.

[10] Ibid.

[11] Melanie Manion, "Politics in China," in Comparative Politics Today: A World View, ed. Gabriel A. Almond et al. (New York: Pearson, 2006), 421.

[12] Britannica, ibid.

[13] Ibid.

[14] Ibid.

[15] Ibid.