ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครือข่าย We Watch"
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ศุทธิกานต์ มีจั่น '''ผู้ทรงคุณวุฒิปร..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 5: | ||
---- | ---- | ||
[[File:Wewatch.jpg]] | |||
We Watch เป็นเครือข่ายประชาชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2556 โดยความร่วมมือของเหล่าอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ มีบทบาทในการหนุนเสริมความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตยที่วางอยู่บนฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน แนวคิดเบื้องหลังของการก่อตั้ง คือ การเคารพในสิทธิทางการเมืองของประชาชน บนพื้นฐานความเชื่อว่าประชาชนคือเจ้าของอำนาจอธิปไตย ซึ่งมีสิทธิในการกำหนดกฎกติกาทางการเมือง การเลือกผู้แทนทางการเมือง การตรวจสอบทางการเมือง และการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจทางการเมืองที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของพวกเขา ภายใต้ค่านิยมของเครือข่ายที่ว่า “ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้” และ “ทุกคนจับตา” โดยมีพันธกิจหลักในการเปิดพื้นที่การมีส่วนร่วมทางการเมืองและผลักดันให้เกิดการเลือกตั้งที่เป็นอิสระและยุติธรรม นอกจากนี้ยังเน้นการส่งเสริมบทบาทและขยายอาสาสมัครทางการเมืองเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันกระบวนการทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้ ข้อมูลเกี่ยวกับการติดตามทางการเมืองและกิจกรรมของเครือข่าย | We Watch เป็นเครือข่ายประชาชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2556 โดยความร่วมมือของเหล่าอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ มีบทบาทในการหนุนเสริมความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตยที่วางอยู่บนฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน แนวคิดเบื้องหลังของการก่อตั้ง คือ การเคารพในสิทธิทางการเมืองของประชาชน บนพื้นฐานความเชื่อว่าประชาชนคือเจ้าของอำนาจอธิปไตย ซึ่งมีสิทธิในการกำหนดกฎกติกาทางการเมือง การเลือกผู้แทนทางการเมือง การตรวจสอบทางการเมือง และการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจทางการเมืองที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของพวกเขา ภายใต้ค่านิยมของเครือข่ายที่ว่า “ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้” และ “ทุกคนจับตา” โดยมีพันธกิจหลักในการเปิดพื้นที่การมีส่วนร่วมทางการเมืองและผลักดันให้เกิดการเลือกตั้งที่เป็นอิสระและยุติธรรม นอกจากนี้ยังเน้นการส่งเสริมบทบาทและขยายอาสาสมัครทางการเมืองเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันกระบวนการทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้ ข้อมูลเกี่ยวกับการติดตามทางการเมืองและกิจกรรมของเครือข่าย | ||
การดำเนินกิจกรรมของเครือข่าย We Watch เป็นการดำเนินโครงการในรูปแบบเครือข่ายภาคประชาชาชนเพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็งของประชาธิปไตยและสิทธิทางการเมืองของประชาชน ที่มุ่งไปที่การสร้างเครือข่ายเยาวชนคนรุ่นใหม่ในทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยโดยเน้นที่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆในแต่ละภูมิภาค ซึ่งมีกิจกรรมหลัก ได้แก่ การสร้างความเป็นพลเมืองการสร้างเครือข่ายอาสาสมัครหนุนเสริมการเคารพสิทธิทางการเมืองของประชาชน เช่น เครือข่ายอาสาสมัครเยาวชน ประชาชนทั่วไป นักพัฒนา | การดำเนินกิจกรรมของเครือข่าย We Watch เป็นการดำเนินโครงการในรูปแบบเครือข่ายภาคประชาชาชนเพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็งของประชาธิปไตยและสิทธิทางการเมืองของประชาชน ที่มุ่งไปที่การสร้างเครือข่ายเยาวชนคนรุ่นใหม่ในทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยโดยเน้นที่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆในแต่ละภูมิภาค ซึ่งมีกิจกรรมหลัก ได้แก่ การสร้างความเป็นพลเมืองการสร้างเครือข่ายอาสาสมัครหนุนเสริมการเคารพสิทธิทางการเมืองของประชาชน เช่น เครือข่ายอาสาสมัครเยาวชน ประชาชนทั่วไป นักพัฒนา และนักวิชาการ ตลอดจนการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้ง | ||
ด้านการจัดโครงสร้างขององค์กรนั้น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่ | ด้านการจัดโครงสร้างขององค์กรนั้น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่ | ||
บรรทัดที่ 23: | บรรทัดที่ 25: | ||
'''รายการอ้างอิง''' | '''รายการอ้างอิง''' | ||
We Watch Thailand สืบค้นจาก https://wewatchthailand.org/ | We Watch Thailand สืบค้นจาก [https://wewatchthailand.org/ https://wewatchthailand.org/] | ||
“We Watch อีสาน ส่งอาสาสมัครจับตาเลือกตั้งซ่อมขอนแก่น”.สืบค้นจาก [https://isaanrecord.com/ https://isaanrecord.com/] 2019/12/20/we-watch-thai-election-2019/(17 กรกฎาคม 2563). | “We Watch อีสาน ส่งอาสาสมัครจับตาเลือกตั้งซ่อมขอนแก่น”.สืบค้นจาก [https://isaanrecord.com/ https://isaanrecord.com/] 2019/12/20/we-watch-thai-election-2019/(17 กรกฎาคม 2563). | ||
“กลุ่มนศ.เปิดตัว We Watch จับตาเลือกตั้ง จี้คสช.แทรกแซงกกต.” สืบค้นจาก https://www.Bangkok biznews.com/news/detail/821334 (17 กรกฎาคม 2563). | “กลุ่มนศ.เปิดตัว We Watch จับตาเลือกตั้ง จี้คสช.แทรกแซงกกต.” สืบค้นจาก [https://www.Bangkok https://www.Bangkok] biznews.com/news/detail/821334 (17 กรกฎาคม 2563). | ||
“สรุปผลการประชุม คณะกรรมาธิการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 7 วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน 2562”. สืบค้นจาก https://www.parliament.go.th/ ewtcommittee/ewt/25_politic/ewt_dl_link.php?nid=309&filename=index(17 กรกฎาคม 2563). | “สรุปผลการประชุม คณะกรรมาธิการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 7 วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน 2562”. สืบค้นจาก [https://www.parliament.go.th/ https://www.parliament.go.th/] ewtcommittee/ewt/25_politic/ewt_dl_link.php?nid=309&filename=index(17 กรกฎาคม 2563). | ||
[[Category:พรรคการเมือง]] | [[Category:พรรคการเมือง]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:23, 15 พฤศจิกายน 2565
ผู้เรียบเรียง ศุทธิกานต์ มีจั่น
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
We Watch เป็นเครือข่ายประชาชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2556 โดยความร่วมมือของเหล่าอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ มีบทบาทในการหนุนเสริมความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตยที่วางอยู่บนฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน แนวคิดเบื้องหลังของการก่อตั้ง คือ การเคารพในสิทธิทางการเมืองของประชาชน บนพื้นฐานความเชื่อว่าประชาชนคือเจ้าของอำนาจอธิปไตย ซึ่งมีสิทธิในการกำหนดกฎกติกาทางการเมือง การเลือกผู้แทนทางการเมือง การตรวจสอบทางการเมือง และการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจทางการเมืองที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของพวกเขา ภายใต้ค่านิยมของเครือข่ายที่ว่า “ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้” และ “ทุกคนจับตา” โดยมีพันธกิจหลักในการเปิดพื้นที่การมีส่วนร่วมทางการเมืองและผลักดันให้เกิดการเลือกตั้งที่เป็นอิสระและยุติธรรม นอกจากนี้ยังเน้นการส่งเสริมบทบาทและขยายอาสาสมัครทางการเมืองเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันกระบวนการทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้ ข้อมูลเกี่ยวกับการติดตามทางการเมืองและกิจกรรมของเครือข่าย
การดำเนินกิจกรรมของเครือข่าย We Watch เป็นการดำเนินโครงการในรูปแบบเครือข่ายภาคประชาชาชนเพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็งของประชาธิปไตยและสิทธิทางการเมืองของประชาชน ที่มุ่งไปที่การสร้างเครือข่ายเยาวชนคนรุ่นใหม่ในทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยโดยเน้นที่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆในแต่ละภูมิภาค ซึ่งมีกิจกรรมหลัก ได้แก่ การสร้างความเป็นพลเมืองการสร้างเครือข่ายอาสาสมัครหนุนเสริมการเคารพสิทธิทางการเมืองของประชาชน เช่น เครือข่ายอาสาสมัครเยาวชน ประชาชนทั่วไป นักพัฒนา และนักวิชาการ ตลอดจนการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
ด้านการจัดโครงสร้างขององค์กรนั้น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่
- ฝ่ายสนับสนุน ประกอบด้วย กองเลขานุการและที่ปรึกษา ได้แก่ นักวิชาการและนักพัฒนาเอกชน
- ฝ่ายปฏิบัติการ ประกอบด้วย ผู้ประสานงานในแต่ละภูมิภาค (เหนือ อีสาน กลาง ตะวันออกและใต้) ร่วมกับสมาชิกและอาสาสมัคร
ด้านกระบวนการตัดสินใจของเครือข่าย มีการดำเนินการใน 3 รูปแบบ ได้แก่ การประชุมคณะกรรมการ ประกอบด้วยฝ่ายสนับสนุนและผู้ประสานงานภาค การประชุมสมัชชาประจำปีจากทั้งฝ่ายสนับสนุน และฝ่ายปฏิบัติการ รวมทั้งการประชุมประจำเดือนระหว่างกองเลขานุการและผู้ประสานงานภาค
ทั้งนี้ บทบาทที่โดดเด่นของเครือข่าย We Watch ในช่วงของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2562 ก็คือ การสังเกตการณ์การเลือกตั้งในแต่ละหน่วยเลือกตั้ง โดยได้มีการอบรมและการดำเนินงานของเครือข่ายอาสาสมัครในการสังเกตการณ์การเลือกตั้งทั้งก่อนและหลังในทุกระดับ และการจัดทำข้อเสนอในเชิงนโยบายในการพัฒนาการเลือกตั้ง รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ทัศนคติ และการตัดสินใจในการเลือกตั้งของประชาชน และการระดมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนต่อระบบการเลือกตั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแจ้งเหตุหรือปัญหาเกี่ยวกับการเลือกตั้ง การรายงานผลการสังเกตการณ์เกี่ยวกับการทุจริตในการเลือกตั้งและข้อสังเกตต่อการปฎิบัติงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งทั้งในภาพรวมระดับจังหวัดและเขตเลือกตั้ง เป็นต้น
รายการอ้างอิง
We Watch Thailand สืบค้นจาก https://wewatchthailand.org/
“We Watch อีสาน ส่งอาสาสมัครจับตาเลือกตั้งซ่อมขอนแก่น”.สืบค้นจาก https://isaanrecord.com/ 2019/12/20/we-watch-thai-election-2019/(17 กรกฎาคม 2563).
“กลุ่มนศ.เปิดตัว We Watch จับตาเลือกตั้ง จี้คสช.แทรกแซงกกต.” สืบค้นจาก https://www.Bangkok biznews.com/news/detail/821334 (17 กรกฎาคม 2563).
“สรุปผลการประชุม คณะกรรมาธิการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 7 วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน 2562”. สืบค้นจาก https://www.parliament.go.th/ ewtcommittee/ewt/25_politic/ewt_dl_link.php?nid=309&filename=index(17 กรกฎาคม 2563).