ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวนมติพรรค"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ศุทธิกานต์ มีจั่น '''ผู้ทรงคุณวุฒิปร..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:
          สวนมติพรรค หมายถึง การลงคะแนนหรือลงมติของสมาชิกพรรคในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ไม่เป็นไปตามมติหรือข้อตกลงของพรรคที่กำหนดแนวทางไว้ในการลงมติในวาระการประชุมนั้นๆ ซึ่งตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ไม่ได้มีบทบัญญัติให้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต้องปฏิบัติตามมติพรรค รวมทั้งการลงมติในถือเป็นเอกสิทธิ์ของสภาผู้แทนราษฎร ดังมาตรา 114 ของรัฐธรรมนูญ ที่บัญญัติว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม ปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์
          สวนมติพรรค หมายถึง การลงคะแนนหรือลงมติของสมาชิกพรรคในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ไม่เป็นไปตามมติหรือข้อตกลงของพรรคที่กำหนดแนวทางไว้ในการลงมติในวาระการประชุมนั้นๆ ซึ่งตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ไม่ได้มีบทบัญญัติให้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต้องปฏิบัติตามมติพรรค รวมทั้งการลงมติในถือเป็นเอกสิทธิ์ของสภาผู้แทนราษฎร ดังมาตรา 114 ของรัฐธรรมนูญ ที่บัญญัติว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม ปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี ปรากฏการณ์การลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ขัดต่อมติพรรคหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ.2562 ที่สำคัญและได้รับการจับตามองอย่างมาก เนื่องจากถูกตั้งคำถามถึงความเป็นเอกภาพ<br/> ในพรรคการเมืองนั้นๆ รวมไปถึงส่งผลต่อการแข่งขันระหว่างพรรคฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านที่มีคะแนนเสียงใกล้เคียงกัน ได้แก่
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี ปรากฏการณ์การลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ขัดต่อมติพรรคหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ.2562 ที่สำคัญและได้รับการจับตามองอย่างมาก เนื่องจากถูกตั้งคำถามถึงความเป็นเอกภาพ ในพรรคการเมืองนั้นๆ รวมไปถึงส่งผลต่อการแข่งขันระหว่างพรรคฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านที่มีคะแนนเสียงใกล้เคียงกัน ได้แก่


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''(1) การเสนอให้เลื่อนการประชุมสภาผู้แทนราษฎร '''ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 1 ครั้งที่ 1 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เมื่อนายวีระกร คำประกอบ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พรรคพลังประชารัฐ เสนอให้เลื่อนการประชุมออกไป โดยผลการลงมติในครั้งนั้นมีสมาชิกจากพรรคพลังประชารัฐไม่เห็นชอบกับการเลื่อนประชุม 5 เสียง ประกอบด้วย<br/> นายอนุชา นาคาศัย นายอัครวัฒน์ อัศวเหม นายอนุชา น้อยวงศ์ นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ นายอัฎฐพล<br/> โพธิพิพิธ เป็นผลให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วย 248 ต่อ 246 เสียงไม่เห็นด้วย
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''(1) การเสนอให้เลื่อนการประชุมสภาผู้แทนราษฎร '''ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 1 ครั้งที่ 1 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เมื่อนายวีระกร คำประกอบ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พรรคพลังประชารัฐ เสนอให้เลื่อนการประชุมออกไป โดยผลการลงมติในครั้งนั้นมีสมาชิกจากพรรคพลังประชารัฐไม่เห็นชอบกับการเลื่อนประชุม 5 เสียง ประกอบด้วย นายอนุชา นาคาศัย นายอัครวัฒน์ อัศวเหม นายอนุชา น้อยวงศ์ นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ นายอัฎฐพล โพธิพิพิธ เป็นผลให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วย 248 ต่อ 246 เสียงไม่เห็นด้วย


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''2)''' '''การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี&nbsp; '''ในการประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ซึ่งมีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ระหว่างนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ และ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคพลังประชารัฐ ปรากฏว่า นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ศรีสะเกษ พรรคภูมิใจไทย งดออกเสียง ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นไปตามมติ<br/> ของพรรคภูมิใจไทยที่สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกรัฐมนตรี
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''2)''' '''การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี&nbsp; '''ในการประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ซึ่งมีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ระหว่างนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ และ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคพลังประชารัฐ ปรากฏว่า นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ศรีสะเกษ พรรคภูมิใจไทย งดออกเสียง ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นไปตามมติ ของพรรคภูมิใจไทยที่สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกรัฐมนตรี


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''(3) การพิจารณาพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลฯ และร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563&nbsp; '''ในการประชุมวาระพิจารณาพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลและงบประมาณบางส่วนของกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ไปเป็นของหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ซึ่งเป็นส่วนราชการในพระองค์ พ<span dir="RTL">.ศ.</span>2562&nbsp;ตามที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ<span dir="RTL">.ศ. </span>2562 &nbsp;โดยที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติเห็นชอบด้วยคะแนน 374 ต่อ 70 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง<br/> โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ออกเสียงขัดกับมติของพรรค ได้แก่ พล<span dir="RTL">.ต.ต.สุรินทร์ ปาลาเร่ </span>สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ที่งดออกเสียง แต่ที่ได้รับการจับตามองอย่างมาก คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคอนาคตใหม่ ได้แก่ น.ส. '''<span dir="RTL">ศรีนวล บุญลือ</span>''' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ<span dir="RTL">.</span>เชียงใหม่ น.ส. '''<span dir="RTL">กวินนาถตาคีย์</span>'''&nbsp;สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ชลบุรี นายจารึก ศรีอ่อน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.จันทบุรี<br/> และ พ.ต.ท.ฐนภัทร กิตติวงศา '''สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.จันทบุรี'''&nbsp;ที่ลงมติ “เห็นด้วย” ซึ่งขัดกับมติและท่าทีของพรรคอนาคตใหม่ที่ <span dir="RTL">"ไม่เ</span>ห็นด้วย<span dir="RTL">"</span> กับการตราพระราชกำหนดฉบับนี้ และในการประชุมครั้งต่อมา คือ การลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563 &nbsp;เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2562 &nbsp;น.ส.กวินนาถ ตาคีย์ ก็ได้ลงคะแนนขัดกับมติพรรคอนาคตใหม่และพรรคร่วมฝ่ายค้านในการลงมติเห็นด้วยกับรัฐบาล ซึ่งได้นำมาสู่ความไม่พอใจต่อผู้สนับสนุนพรรคเป็นอย่างมากถึงท่าทีในการลงมติที่ขัดต่อมติพรรคอย่างต่อเนื่อง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''(3) การพิจารณาพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลฯ และร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563&nbsp; '''ในการประชุมวาระพิจารณาพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลและงบประมาณบางส่วนของกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ไปเป็นของหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ซึ่งเป็นส่วนราชการในพระองค์ พ<span dir="RTL">.ศ.</span>2562&nbsp;ตามที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ<span dir="RTL">.ศ. </span>2562 &nbsp;โดยที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติเห็นชอบด้วยคะแนน 374 ต่อ 70 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ออกเสียงขัดกับมติของพรรค ได้แก่ พล<span dir="RTL">.ต.ต.สุรินทร์ ปาลาเร่ </span>สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ที่งดออกเสียง แต่ที่ได้รับการจับตามองอย่างมาก คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคอนาคตใหม่ ได้แก่ น.ส. '''<span dir="RTL">ศรีนวล บุญลือ</span>''' สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ<span dir="RTL">.</span>เชียงใหม่ น.ส. '''<span dir="RTL">กวินนาถตาคีย์</span>'''&nbsp;สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ชลบุรี นายจารึก ศรีอ่อน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.จันทบุรี และ พ.ต.ท.ฐนภัทร กิตติวงศา '''สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.จันทบุรี'''&nbsp;ที่ลงมติ “เห็นด้วย” ซึ่งขัดกับมติและท่าทีของพรรคอนาคตใหม่ที่ <span dir="RTL">"ไม่เ</span>ห็นด้วย<span dir="RTL">"</span> กับการตราพระราชกำหนดฉบับนี้ และในการประชุมครั้งต่อมา คือ การลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563 &nbsp;เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2562 &nbsp;น.ส.กวินนาถ ตาคีย์ ก็ได้ลงคะแนนขัดกับมติพรรคอนาคตใหม่และพรรคร่วมฝ่ายค้านในการลงมติเห็นด้วยกับรัฐบาล ซึ่งได้นำมาสู่ความไม่พอใจต่อผู้สนับสนุนพรรคเป็นอย่างมากถึงท่าทีในการลงมติที่ขัดต่อมติพรรคอย่างต่อเนื่อง


'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) การขอถอนญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาผลกระทบการบังคับใช้ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้'''
'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) การขอถอนญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาผลกระทบการบังคับใช้ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้'''


ในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เพื่อ[http://msbis.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_report/download/vote_detail/20191128082252A1.pdf ขอถอนญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาผลกระทบการบังคับใช้ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้]&nbsp;ซึ่ง นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ยะลา พรรคพลังประชารัฐ เป็นผู้เสนอ<br/> โดยผลการลงมติในญัตติดังกล่าว ถูกแบ่งเป็นสามฝ่าย คือ ฝ่ายรัฐบาล ที่เห็นด้วยให้ถอนญัตติ ฝ่ายพรรคเพื่อไทย และ พรรคร่วมฝ่ายค้าน งดออกเสียง ในขณะที่พรรคอนาคตใหม่ ไม่เห็นด้วย ซึ่งในการลงมติดังกล่าว<br/> มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ออกเสียงขัดกับมติพรรค ได้แก่ นายขจิตร ชัยนิคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร<br/> จ.อุดรธานี นายประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุบลราชธานี นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สุรินทร์ จากพรรคพรรคเพื่อไทย ลงมติไม่เห็นด้วย ในขณะที่นายศรีเรศ โกฏคำลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.เชียงใหม่<br/> พรรคเพื่อไทย และนายอนุมัติ ซูสารอ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปัตตานี พรรคประชาชาติ ลงมติเห็นด้วย นอกจากนี้ยังมี นายสฤษดิ์ บุตรเนียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปราจีนบุรี พรรคภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคฝ่ายรัฐบาล ไม่ลงคะแนนเสียง ส่วนพรรคอนาคตใหม่นั้น นายปิยบุตร แสงกนกกุล และ น.ส.ศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ งดออกเสียง
ในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เพื่อ[http://msbis.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_report/download/vote_detail/20191128082252A1.pdf ขอถอนญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาผลกระทบการบังคับใช้ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้]&nbsp;ซึ่ง นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ยะลา พรรคพลังประชารัฐ เป็นผู้เสนอ โดยผลการลงมติในญัตติดังกล่าว ถูกแบ่งเป็นสามฝ่าย คือ ฝ่ายรัฐบาล ที่เห็นด้วยให้ถอนญัตติ ฝ่ายพรรคเพื่อไทย และ พรรคร่วมฝ่ายค้าน งดออกเสียง ในขณะที่พรรคอนาคตใหม่ ไม่เห็นด้วย ซึ่งในการลงมติดังกล่าว มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ออกเสียงขัดกับมติพรรค ได้แก่ นายขจิตร ชัยนิคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุดรธานี นายประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุบลราชธานี นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สุรินทร์ จากพรรคพรรคเพื่อไทย ลงมติไม่เห็นด้วย ในขณะที่นายศรีเรศ โกฏคำลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย และนายอนุมัติ ซูสารอ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปัตตานี พรรคประชาชาติ ลงมติเห็นด้วย นอกจากนี้ยังมี นายสฤษดิ์ บุตรเนียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปราจีนบุรี พรรคภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคฝ่ายรัฐบาล ไม่ลงคะแนนเสียง ส่วนพรรคอนาคตใหม่นั้น นายปิยบุตร แสงกนกกุล และ น.ส.ศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ งดออกเสียง


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''(5) การพิจารณา'''[http://msbis.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_report/download/vote_detail/20191128082252A2.pdf ญัตติด่วน เรื่อง ให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาผลกระทบจากการกระทำ ประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และการใช้อำนาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามมาตรา 44]&nbsp; ในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562<br/> ซึ่งผลการลงมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญคณะดังกล่าว<br/> ด้วยคะแนนเสียง 236 เสียง ไม่เห็นด้วย 231 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง ซึ่งเป็นการลงมติที่ทำให้พรรคฝ่ายรัฐบาลแพ้การลงมติ โดยพบว่า มีสมาชิกพรรคฝ่ายรัฐบาลที่ไม่ออกเสียงตามมติของพรรคร่วมรัฐบาล ได้แก่ นางกันตวรรณ ตันเถียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.พังงา นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ตาก&nbsp;'''นายเทพไท เสนพงศ์'''&nbsp;สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช นายพนิต วิกิตเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ตรัง นายอันวาร์ สาและ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปัตตานี จากพรรคประชาธิปัตย์ และยังถือเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ฝ่ายรัฐบาลแพ้การลงมติให้แก่ฝ่ายค้านในครั้งนี้ แม้ว่าในการประชุมจะได้มีการเสนอจากฝ่ายรัฐบาลให้ที่ประชุมมีการนับคะแนนใหม่เป็นรายบุคคล แต่ก็ได้นำไปสู่เหตุการณ์ที่สมาชิกพรรคฝ่ายค้านประท้วงโดยเดินออกจากห้องประชุมอันเป็นผลให้การดำเนินการประชุมประสบความล้มเหลวถึงสองครั้งในการประชุมสองวันติดต่อกัน
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''(5) การพิจารณา'''[http://msbis.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_report/download/vote_detail/20191128082252A2.pdf ญัตติด่วน เรื่อง ให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาผลกระทบจากการกระทำ ประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และการใช้อำนาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามมาตรา 44]&nbsp; ในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562<br/> ซึ่งผลการลงมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญคณะดังกล่าว<br/> ด้วยคะแนนเสียง 236 เสียง ไม่เห็นด้วย 231 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง ซึ่งเป็นการลงมติที่ทำให้พรรคฝ่ายรัฐบาลแพ้การลงมติ โดยพบว่า มีสมาชิกพรรคฝ่ายรัฐบาลที่ไม่ออกเสียงตามมติของพรรคร่วมรัฐบาล ได้แก่ นางกันตวรรณ ตันเถียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.พังงา นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ตาก&nbsp;'''นายเทพไท เสนพงศ์'''&nbsp;สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช นายพนิต วิกิตเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ตรัง นายอันวาร์ สาและ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปัตตานี จากพรรคประชาธิปัตย์ และยังถือเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ฝ่ายรัฐบาลแพ้การลงมติให้แก่ฝ่ายค้านในครั้งนี้ แม้ว่าในการประชุมจะได้มีการเสนอจากฝ่ายรัฐบาลให้ที่ประชุมมีการนับคะแนนใหม่เป็นรายบุคคล แต่ก็ได้นำไปสู่เหตุการณ์ที่สมาชิกพรรคฝ่ายค้านประท้วงโดยเดินออกจากห้องประชุมอันเป็นผลให้การดำเนินการประชุมประสบความล้มเหลวถึงสองครั้งในการประชุมสองวันติดต่อกัน
บรรทัดที่ 32: บรรทัดที่ 32:
'''รายการอ้างอิง'''
'''รายการอ้างอิง'''


“ชินวรณ์ เชื่อ ส.ส.บางคนโหวตสวนมติพรรคไม่เกิดรอยร้าวใน ปชป.” (2562).สืบค้นจาก https:// &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; mgronline.com/uptodate/detail/9620000114798 (10 กรกฎาคม 2563).
“ชินวรณ์ เชื่อ ส.ส.บางคนโหวตสวนมติพรรคไม่เกิดรอยร้าวใน ปชป.” (2562).สืบค้นจาก https://mgronline.com/uptodate/detail/9620000114798 (10 กรกฎาคม 2563).


“เทพไท ยัน 6 ส.ส.ปชป.หนุนตั้ง กมธ.ศึกษาผลกระทบ ม.44 ตามญัตติพรรค”.(2562).สืบค้นจาก https:// mgronline.com/uptodate/detail/9620000114080(10 กรกฎาคม 2563).
“เทพไท ยัน 6 ส.ส.ปชป.หนุนตั้ง กมธ.ศึกษาผลกระทบ ม.44 ตามญัตติพรรค”.(2562).สืบค้นจาก https:// mgronline.com/uptodate/detail/9620000114080(10 กรกฎาคม 2563).


“เพื่อไทยฟัน ‘3 งูเห่า’ ไม่ส่งลงสนามเลือกตั้งอีก”.(2563).สืบค้นจาก https://www.thaiquote.org/con &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; tent/231631(10 กรกฎาคม 2563).
“เพื่อไทยฟัน ‘3 งูเห่า’ ไม่ส่งลงสนามเลือกตั้งอีก”.(2563).สืบค้นจาก [https://www.thaiquote.org/con https://www.thaiquote.org/con]tent/231631(10 กรกฎาคม 2563).


&nbsp;“ไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง เชือดงูเห่า เพื่อไทย-อนาคตใหม่ ลงดาบ”.(2562). สืบค้นจาก https://www.thairath. co.th/news/politic/1720840(10 กรกฎาคม 2563).
&nbsp;“ไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง เชือดงูเห่า เพื่อไทย-อนาคตใหม่ ลงดาบ”.(2562). สืบค้นจาก [https://www.thairath https://www.thairath]. co.th/news/politic/1720840(10 กรกฎาคม 2563).


&nbsp;“เปิดสถิติ ส.ส.ขึ้นแท่นมือ 1-2-3 ดาวโหวตสวนมติพรรคกลางสภา–สมฉายาสภางูเห่า”.(2562). สืบค้นจาก &nbsp;&nbsp;&nbsp; http://www.voicetv.co.th/read/4y9LG0go6(10 กรกฎาคม 2563).
&nbsp;“เปิดสถิติ ส.ส.ขึ้นแท่นมือ 1-2-3 ดาวโหวตสวนมติพรรคกลางสภา–สมฉายาสภางูเห่า”.(2562). สืบค้นจาก &nbsp;&nbsp;&nbsp;[http://www.voicetv.co.th/read/4y9LG0go6(10 http://www.voicetv.co.th/read/4y9LG0go6(10] กรกฎาคม 2563).


“สุดารัตน์"ชี้การโหวตสวนมติพรรคเป็นความผิดร้ายแรง ส.ส.งูเห่าต้องถูกลงดาบ”.(2562).สืบค้นจาก&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; https://www.posttoday.com/politic/news/608613(10 กรกฎาคม 2563).
“สุดารัตน์"ชี้การโหวตสวนมติพรรคเป็นความผิดร้ายแรง ส.ส.งูเห่าต้องถูกลงดาบ”.(2562).สืบค้นจาก&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;[https://www.posttoday.com/politic/news/608613(10 https://www.posttoday.com/politic/news/608613(10] กรกฎาคม 2563).


“เสี่ยหนู รับสะอึก สิริพงศ์ แหกมติ ภท.สวนโหวตหนุน บิ๊กตู่ เบิ้ลเก้าอี้”.(2562).สืบค้นจาก https://www. &nbsp; thairath.co.th/news/politic/1585328(10 กรกฎาคม 2563).
“เสี่ยหนู รับสะอึก สิริพงศ์ แหกมติ ภท.สวนโหวตหนุน บิ๊กตู่ เบิ้ลเก้าอี้”.(2562).สืบค้นจาก [https://www https://www]. &nbsp; thairath.co.th/news/politic/1585328(10 กรกฎาคม 2563).


“อนาคตใหม่ : ที่ประชุมสามัญของพรรคมีมติขับ ส.ส. 4 คน ออกจากสมาชิก”.(2562). สืบค้นจาก https:// &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; www.bbc.com/thai/thailand-50805484 (10 กรกฎาคม 2563).
“อนาคตใหม่&nbsp;: ที่ประชุมสามัญของพรรคมีมติขับ ส.ส. 4 คน ออกจากสมาชิก”.(2562). สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-50805484 (10 กรกฎาคม 2563).


Aim Sinpeng.(2019).“Defections to expulsions: Future Forward Party’s internal turmoil”. &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Retrieved from [https://www.newmandala.org/defections-to-expulsions-future- https://www.newmandala.org/defections-to-expulsions-future-]&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; forward-partys-internal-turmoil/(10 กรกฎาคม 2563).
Aim Sinpeng.(2019).“Defections to expulsions: Future Forward Party’s internal turmoil”. Retrieved from [https://www.newmandala.org/defections-to-expulsions-future- https://www.newmandala.org/defections-to-expulsions-future-]&nbsp; forward-partys-internal-turmoil/(10 กรกฎาคม 2563).


“Seripisut says expulsion of 4 rebel MPs a gain for the Government”.(2019).Retrieved from &nbsp;&nbsp; [https://www.thaipbsworld.com/seripisut-says-expulsion-of-4-rebel-mps-a-gain-for-the- https://www.thaipbsworld.com/seripisut-says-expulsion-of-4-rebel-mps-a-gain-for-the-]&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; government/(10 กรกฎาคม 2563).
“Seripisut says expulsion of 4 rebel MPs a gain for the Government”.(2019).Retrieved from &nbsp;&nbsp; [https://www.thaipbsworld.com/seripisut-says-expulsion-of-4-rebel-mps-a-gain-for-the- https://www.thaipbsworld.com/seripisut-says-expulsion-of-4-rebel-mps-a-gain-for-the-]&nbsp; &nbsp;government/(10 กรกฎาคม 2563).


&nbsp;
&nbsp;

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:13, 15 พฤศจิกายน 2565

ผู้เรียบเรียง ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


สวนมติพรรค

          สวนมติพรรค หมายถึง การลงคะแนนหรือลงมติของสมาชิกพรรคในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ไม่เป็นไปตามมติหรือข้อตกลงของพรรคที่กำหนดแนวทางไว้ในการลงมติในวาระการประชุมนั้นๆ ซึ่งตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ไม่ได้มีบทบัญญัติให้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต้องปฏิบัติตามมติพรรค รวมทั้งการลงมติในถือเป็นเอกสิทธิ์ของสภาผู้แทนราษฎร ดังมาตรา 114 ของรัฐธรรมนูญ ที่บัญญัติว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม ปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์

          อย่างไรก็ดี ปรากฏการณ์การลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ขัดต่อมติพรรคหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ.2562 ที่สำคัญและได้รับการจับตามองอย่างมาก เนื่องจากถูกตั้งคำถามถึงความเป็นเอกภาพ ในพรรคการเมืองนั้นๆ รวมไปถึงส่งผลต่อการแข่งขันระหว่างพรรคฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านที่มีคะแนนเสียงใกล้เคียงกัน ได้แก่

          (1) การเสนอให้เลื่อนการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 1 ครั้งที่ 1 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เมื่อนายวีระกร คำประกอบ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พรรคพลังประชารัฐ เสนอให้เลื่อนการประชุมออกไป โดยผลการลงมติในครั้งนั้นมีสมาชิกจากพรรคพลังประชารัฐไม่เห็นชอบกับการเลื่อนประชุม 5 เสียง ประกอบด้วย นายอนุชา นาคาศัย นายอัครวัฒน์ อัศวเหม นายอนุชา น้อยวงศ์ นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ นายอัฎฐพล โพธิพิพิธ เป็นผลให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วย 248 ต่อ 246 เสียงไม่เห็นด้วย

          2) การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี  ในการประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ซึ่งมีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ระหว่างนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ และ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคพลังประชารัฐ ปรากฏว่า นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ศรีสะเกษ พรรคภูมิใจไทย งดออกเสียง ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นไปตามมติ ของพรรคภูมิใจไทยที่สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกรัฐมนตรี

          (3) การพิจารณาพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลฯ และร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563  ในการประชุมวาระพิจารณาพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลและงบประมาณบางส่วนของกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ไปเป็นของหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ซึ่งเป็นส่วนราชการในพระองค์ พ.ศ.2562 ตามที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562  โดยที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีมติเห็นชอบด้วยคะแนน 374 ต่อ 70 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ออกเสียงขัดกับมติของพรรค ได้แก่ พล.ต.ต.สุรินทร์ ปาลาเร่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ที่งดออกเสียง แต่ที่ได้รับการจับตามองอย่างมาก คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคอนาคตใหม่ ได้แก่ น.ส. ศรีนวล บุญลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.เชียงใหม่ น.ส. กวินนาถตาคีย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ชลบุรี นายจารึก ศรีอ่อน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.จันทบุรี และ พ.ต.ท.ฐนภัทร กิตติวงศา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.จันทบุรี ที่ลงมติ “เห็นด้วย” ซึ่งขัดกับมติและท่าทีของพรรคอนาคตใหม่ที่ "ไม่เห็นด้วย" กับการตราพระราชกำหนดฉบับนี้ และในการประชุมครั้งต่อมา คือ การลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563  เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2562  น.ส.กวินนาถ ตาคีย์ ก็ได้ลงคะแนนขัดกับมติพรรคอนาคตใหม่และพรรคร่วมฝ่ายค้านในการลงมติเห็นด้วยกับรัฐบาล ซึ่งได้นำมาสู่ความไม่พอใจต่อผู้สนับสนุนพรรคเป็นอย่างมากถึงท่าทีในการลงมติที่ขัดต่อมติพรรคอย่างต่อเนื่อง

          (4) การขอถอนญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาผลกระทบการบังคับใช้ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

ในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เพื่อขอถอนญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาผลกระทบการบังคับใช้ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่ง นายอาดิลัน อาลีอิสเฮาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ยะลา พรรคพลังประชารัฐ เป็นผู้เสนอ โดยผลการลงมติในญัตติดังกล่าว ถูกแบ่งเป็นสามฝ่าย คือ ฝ่ายรัฐบาล ที่เห็นด้วยให้ถอนญัตติ ฝ่ายพรรคเพื่อไทย และ พรรคร่วมฝ่ายค้าน งดออกเสียง ในขณะที่พรรคอนาคตใหม่ ไม่เห็นด้วย ซึ่งในการลงมติดังกล่าว มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ออกเสียงขัดกับมติพรรค ได้แก่ นายขจิตร ชัยนิคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุดรธานี นายประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุบลราชธานี นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สุรินทร์ จากพรรคพรรคเพื่อไทย ลงมติไม่เห็นด้วย ในขณะที่นายศรีเรศ โกฏคำลือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย และนายอนุมัติ ซูสารอ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปัตตานี พรรคประชาชาติ ลงมติเห็นด้วย นอกจากนี้ยังมี นายสฤษดิ์ บุตรเนียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปราจีนบุรี พรรคภูมิใจไทยซึ่งเป็นพรรคฝ่ายรัฐบาล ไม่ลงคะแนนเสียง ส่วนพรรคอนาคตใหม่นั้น นายปิยบุตร แสงกนกกุล และ น.ส.ศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ งดออกเสียง

          (5) การพิจารณาญัตติด่วน เรื่อง ให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาผลกระทบจากการกระทำ ประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และการใช้อำนาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามมาตรา 44  ในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ซึ่งผลการลงมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญคณะดังกล่าว
ด้วยคะแนนเสียง 236 เสียง ไม่เห็นด้วย 231 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง ซึ่งเป็นการลงมติที่ทำให้พรรคฝ่ายรัฐบาลแพ้การลงมติ โดยพบว่า มีสมาชิกพรรคฝ่ายรัฐบาลที่ไม่ออกเสียงตามมติของพรรคร่วมรัฐบาล ได้แก่ นางกันตวรรณ ตันเถียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.พังงา นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ตาก นายเทพไท เสนพงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช นายพนิต วิกิตเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ตรัง นายอันวาร์ สาและ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ปัตตานี จากพรรคประชาธิปัตย์ และยังถือเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ฝ่ายรัฐบาลแพ้การลงมติให้แก่ฝ่ายค้านในครั้งนี้ แม้ว่าในการประชุมจะได้มีการเสนอจากฝ่ายรัฐบาลให้ที่ประชุมมีการนับคะแนนใหม่เป็นรายบุคคล แต่ก็ได้นำไปสู่เหตุการณ์ที่สมาชิกพรรคฝ่ายค้านประท้วงโดยเดินออกจากห้องประชุมอันเป็นผลให้การดำเนินการประชุมประสบความล้มเหลวถึงสองครั้งในการประชุมสองวันติดต่อกัน

การลงมติสวนมติพรรคและการลงโทษของพรรคการเมือง

          แม้ว่ารัฐธรรมนูญจะให้เอกสิทธิ์ในการลงมติแก่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่พรรคการเมืองสามารถมีมติขับ สมาชิกพ้นจากพรรคการเมืองได้ ดังบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา101 (9) สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงเมื่อพ้นจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิกตามมติพรรคการเมืองนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของที่ประชุมร่วมกันของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้น ในกรณีนี้หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นมิได้เข้าเป็นสมาชิกพรรคการเมืองอื่นภายใน 30 วันนับแต่วันที่พรรคการเมืองมีมติ ให้ถือว่าสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแต่วันที่พ้น 30 วันดังกล่าว

          ในกรณีการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ขัดกับมติของพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ผ่านมานั้น พรรคการเมืองต่างๆ ได้มีแนวทางและมาตรการการลงโทษ อาทิ พรรคเพื่อไทยได้มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงฯ และส่งผลการพิจารณาให้คณะกรรมการจริยธรรมของพรรคและคณะกรรมการบริหารพรรคพิจารณา มีมาตรการลงโทษ ซึ่งระดับของการลงโทษเป็นไปตามระดับการกระทำความผิดวินัยของพรรค เช่น การไม่ให้เข้าร่วมกิจกรรมของพรรคและการพิจารณาไม่ส่งสมัครในการเลือกตั้งครั้งต่อไป เป็นต้น ในขณะที่พรรคอนาคตใหม่ มีมติให้ขับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ลงมติขัดต่อมติของพรรคออกจากการเป็นสมาชิกพรรคในกรณีของ น.ส.ศรีนวล บุญลือ นายจารึก ศรีอ่อน พ.ต.ท.ฐนภัทร กิตติวงศา และ น.ส.กวินนาถ ตาคีย์

รายการอ้างอิง

“ชินวรณ์ เชื่อ ส.ส.บางคนโหวตสวนมติพรรคไม่เกิดรอยร้าวใน ปชป.” (2562).สืบค้นจาก https://mgronline.com/uptodate/detail/9620000114798 (10 กรกฎาคม 2563).

“เทพไท ยัน 6 ส.ส.ปชป.หนุนตั้ง กมธ.ศึกษาผลกระทบ ม.44 ตามญัตติพรรค”.(2562).สืบค้นจาก https:// mgronline.com/uptodate/detail/9620000114080(10 กรกฎาคม 2563).

“เพื่อไทยฟัน ‘3 งูเห่า’ ไม่ส่งลงสนามเลือกตั้งอีก”.(2563).สืบค้นจาก https://www.thaiquote.org/content/231631(10 กรกฎาคม 2563).

 “ไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง เชือดงูเห่า เพื่อไทย-อนาคตใหม่ ลงดาบ”.(2562). สืบค้นจาก https://www.thairath. co.th/news/politic/1720840(10 กรกฎาคม 2563).

 “เปิดสถิติ ส.ส.ขึ้นแท่นมือ 1-2-3 ดาวโหวตสวนมติพรรคกลางสภา–สมฉายาสภางูเห่า”.(2562). สืบค้นจาก    http://www.voicetv.co.th/read/4y9LG0go6(10 กรกฎาคม 2563).

“สุดารัตน์"ชี้การโหวตสวนมติพรรคเป็นความผิดร้ายแรง ส.ส.งูเห่าต้องถูกลงดาบ”.(2562).สืบค้นจาก    https://www.posttoday.com/politic/news/608613(10 กรกฎาคม 2563).

“เสี่ยหนู รับสะอึก สิริพงศ์ แหกมติ ภท.สวนโหวตหนุน บิ๊กตู่ เบิ้ลเก้าอี้”.(2562).สืบค้นจาก https://www.   thairath.co.th/news/politic/1585328(10 กรกฎาคม 2563).

“อนาคตใหม่ : ที่ประชุมสามัญของพรรคมีมติขับ ส.ส. 4 คน ออกจากสมาชิก”.(2562). สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-50805484 (10 กรกฎาคม 2563).

Aim Sinpeng.(2019).“Defections to expulsions: Future Forward Party’s internal turmoil”. Retrieved from https://www.newmandala.org/defections-to-expulsions-future-  forward-partys-internal-turmoil/(10 กรกฎาคม 2563).

“Seripisut says expulsion of 4 rebel MPs a gain for the Government”.(2019).Retrieved from    https://www.thaipbsworld.com/seripisut-says-expulsion-of-4-rebel-mps-a-gain-for-the-   government/(10 กรกฎาคม 2563).