ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสื่อสมเด็จฯ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 5:


 
 
<p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พระราชกรณียกิจที่สำคัญประการหนึ่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เมื่อครั้งเสด็จฯ มาประทับที่จังหวัดจันทบุรี นั่นคือ ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการทอเสื่อจันทบูรให้มีความสวยงามและทันสมัย จนกลายเป็นสินค้าหัตถกรรมและอาชีพหลักที่มีชื่อเสียงของชาวจังหวัดจันทบุรี และเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายในนาม “เสื่อสมเด็จฯ”</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จนิวัติพระนครเมื่อ พ.ศ. 2492 พร้อมทั้งทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกลับมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ร่วมกับพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุรพการีแล้วนั้น รัฐบาลได้ใช้พระตำหนักวังศุโขทัยเป็นสถานที่ทำงานของกระทรวงสาธารณสุข&nbsp;สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (พระอิสริยยศในณะนั้น) จึงได้เชิญเสด็จสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไปประทับ ณ พระตำหนักของสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์&nbsp;ในวังสระปทุม แต่เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงรบกวนสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ในการประทับ ณ วังสระปทุม นานเกินควร อีกทั้งยังมีพระราชประสงค์ที่จะมีที่ประทับสำหรับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ จึงทรงสร้างสวนบ้านแก้วขึ้นที่จังหวัดจันทบุรี ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2493</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ภายหลังจากที่เสด็จฯ มาประทับ ณ สวนบ้านแก้วได้ประมาณ 5 ปี สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี ทรงทราบว่าคนงานที่รับเข้ามาทำสวนและก่อสร้างนั้นส่วนใหญ่ถนัดงานฝีมือ งานทอเสื่อ งานทอผ้า ประกอบกับโปรดเสื่อจันทบูรอยู่แล้ว โดยเสื่อที่ชาวบ้านทอกันอยู่แต่เดิมเป็นเสื่อปูนอนเย็บริม พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทอเสื่อของแม่ชีที่วัดโรมันคาทอลิก หรือวัดญวน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสวนบ้านแก้ว และทรงเห็นถึงข้อบกพร่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสีที่มีจำกัด ไม่หลากหลาย อีกทั้งเมื่อเส้นกกที่ย้อมสีแล้วถูกน้ำสีจะตกดังที่ นายบุญมี นักเสียง อดีตผู้ทำงานซื้อกกและย้อมกก เล่าว่า[[#_ftn1|<sup><sup>[1]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''''“...พระองค์จะใช้เสื่อชาวบ้านมาเป็นบรรทัดฐานก่อน ตอนที่พระองค์เสด็จประพาสตามชนบทต่างๆ ชาวบ้านก็ใช้เสื่อที่ดีที่สุดของเขามาปูลาดพระบาท พอท่านเห็นก็ชื่นชมและนำเสื่อเหล่านั้นมาดูไว้คิดเป็นแบบและค่อยๆ ดำริมาเรื่อยๆ จากผู้ใกล้ชิดมาถึงผม ผมได้ถูกคัดเลือกในเกณฑ์นั้นด้วย ผมจะถนัดงานในด้านฟอกให้เป็นสีขาว...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การ “ฟอกกกให้เป็นสีขาว” นี้ มีสาเหตุมาจากการที่พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทอเสื่อของแม่ชีที่วัดโรมันคาทอลิก หรือวัดญวน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสวนบ้านแก้ว และทรงเห็นถึงข้อบกพร่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสีที่มีจำกัด ไม่หลากหลาย อีกทั้งเมื่อเส้นกกที่ย้อมสีแล้วถูกน้ำสีจะตก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงงานทอเสื่อขึ้น โดยสั่งซื้อกกตากแห้งจากชาวบ้าน และมีพระราชประสงค์ที่จะปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตให้ทันสมัยขึ้น เช่น การใช้เชือกที่ทำด้วยปอสำหรับถักร้อยกก ไม่ใช้เอ็นพลาสติกเหมือนที่อื่นๆ ส่วนการปรับปรุงเรื่องสีย้อมให้มีความคงทนนั้น หม่อมเจ้าชายกอกษัตริย์ สวัสดิวัตน์ พระอนุชา ซึ่งเป็นอาจารย์สอนวิชาเคมีที่มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ทรงศึกษาและแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ รวมไปถึงการผลิตสีที่ใช้ในการย้อมเส้นกกเพิ่มขึ้นเพื่อให้มีความหลากหลาย[[#_ftn2|<sup><sup>[2]</sup></sup>]] ดังเช่นที่หม่อมเจ้าชายการวิก จักรพันธุ์ ประทานสัมภาษณ์ไว้ ดังความต่อไปนี้[[#_ftn3|<sup><sup>[3]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''''“...เสื่อจันทบูรที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว แต่ปรากฏว่าสียังตก สมมติว่าคนไปนอนแล้วเหงื่อออกลุกขึ้นมาหลังจะแดงบ้างเขียวบ้าง ทรงสร้างโรงเสื่อโดยขอลูกชาวบ้านมาหัดทอเสื่อ ทรงศึกษาว่าใช้สีอะไรจะไม่ตกจนสำเร็จ โดยใช้สียี่ห้อดีของต่างประเทศ แต่ทรงข้องพระทัยอยู่ว่าทำไมมีแต่สีแก่ๆ น่าจะมีสีชมพูสีน้ำเงินอ่อนก็ทรงซักถาม เขาเลยบอกว่าไม่ได้ เพราะกกที่ทำไม่ใช่สีขาวมันเป็นสีออกเขียวถ้าจะทำเสื่อสีอ่อนต้องใช้สีขาว ทรงปรึกษากับพระอนุชาที่เป็นศาสตราจารย์ด้านเคมีอยู่ที่มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ท่านชายได้กราบบังคมทูลว่า ง่ายมาก โดยเอาสีเสียดฟอกออกแล้วจะเกือบขาว แล้วจะใช้วิธีย้อมที่ดีโดยสีไม่ตก มีการสาธิตให้ดูและได้ผลตามพระราชประสงค์ ทำให้ได้เสื่อพื้นเมืองสีสวยคุณภาพดียิ่งขึ้นอีก...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กกนั้นซื้อที่ชาวบ้านตากแห้งแล้ว นำมาต้มแล้วแช่ ใช้สารเคมีของญี่ปุ่นซึ่งมีคุณสมบัติเป็นกรดในสัดส่วนพอเหมาะ ฟอกให้ขาวก่อนย้อม จึงจะได้กกสีอ่อนๆ เช่น ชมพูอ่อน เขียวอ่อน ถ้าฟอกไม่ขาวออกมาจะเป็นสีเข้ม[[#_ftn4|<sup><sup>[4]</sup></sup>]]การดำเนินการทั้งหมดนี้ทำให้โรงงานทอเสื่อกกของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นโรงงานแห่งแรกที่รู้จักวิธีฟอกเส้นกกให้ขาวเพื่อย้อมเป็นสีต่างๆ และเมื่อย้อมแล้วสีไม่ตก โดยมีคนงานประมาณ 300 คน แบ่งงานเป็นแผนกต่างๆ เช่น แผนกฟอกเส้นกกให้ขาว แผนกย้อมกก แผนกทอ แผนกตัดเย็บ แผนกช่างไม้ทำส่วนประกอบผลิตภัณฑ์จากเสื่อ</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;นอกเหนือจากการทอเสื่อแบบปกติแล้ว ยังมีผลิตภัณฑ์สิ่งของเครื่องใช้ที่ทำด้วยเสื่อกกตามแบบพระราชทาน เช่น ถาด ที่รองแก้ว ที่ใส่กระดาษเช็ดปาก รวมไปถึงสินค้าแฟชั่นอย่างเช่นกระเป๋าถือสตรี ที่ทรงมีพระราชดำริออกแบบให้ทันสมัย ดังเช่นที่หม่อมเจ้าการวิก จักรพันธุ์ ประทานสัมภาษณ์ไว้ ดังความต่อไปนี้[[#_ftn5|<sup><sup>[5]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">'''''“...ต่อมาทรงทำกระเป๋าหิ้วแบบผู้หญิง ทรงออกแบบเอง เพราะท่านโปรดทางแฟชั่นอยู่แล้ว ทรงออกแบบแปลกๆ มีลวดลายและทำให้สีอ่อนๆ อยู่ในความนิยมมากทีเดียว...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เช่นเดียวกับที่หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ กล่าวไว้ในรายการ “ครอบจักรวาล” ดังความต่อไปนี้[[#_ftn6|<sup><sup>[6]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">'''''“...ต่อมาท่านทรงส่งเสริมเรื่องการทอเสื่อซึ่งเป็นอาชีพของชาวจันทบูร ทรงเห็นว่าแบบที่เขาทำกันมามันเชย ท่านทรงคิดค้นออกแบบกระเป๋าให้คนเขาถือไปได้ เป็นกระเป๋าคล้ายกระเป๋าดิออร์ อีฟแซงต์โลรองต์ แต่ทำด้วยเสื่อทั้งหมด ปรากฏว่าขายดิบขายดี มีคนนิยมชมชอบ...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานคำแนะนำ และทรงเน้นความละเอียดละออเป็นพิเศษในกรณีที่จะประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร และกระเป๋าเสื่อในเรื่องของลายเสื่อ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ โปรดให้ทอเป็นลายพื้นบ้านก่อน เช่น ลายลูกโซ่ ยกเป็นดอก เช่น ลายข้าวหลามตัด ดอกจันทน์ และในภายหลังทรงคิดเพิ่มเติมขึ้นอีก เช่น ลายตาเสื่อ ลายพิกุล ลายลูกคลื่น ลายลูกคลื่นใส่ 2 เส้น (ดำ 2 เส้น ขาว 2 เส้น) เป็นต้น และในภายหลัง ช่างทำกระเป๋าเสื่อได้คิดค้นลวดลายเพิ่มเติม เช่น ลายดอกกุหลาบชมจันทร์ ลายกนก ลายมะลิเลื้อย เป็นต้น ทั้งนี้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ มีความสนพระราชหฤทัยในศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านชนิดนี้มาก หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว จะเสด็จฯ มาทอดพระเนตรโรงทอเสื่อ และจะเสด็จฯ มาอีกครั้งในช่วงบ่าย บางครั้งก็โปรดที่จะทรงทอเสื่อด้วยพระองค์เอง และยังพระราชทานคำแนะนำเรื่องลวดลาย เรื่องสี เรื่องรูปทรง และยังทรงตรวจสอบชิ้นงานทุกชิ้นด้วยพระองค์เอง[[#_ftn7|<sup><sup>[7]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สินค้าที่ออกจากโรงงานทอเสื่อกกนี้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานเครื่องหมายการค้าเป็นรูปคนหาบกระจาด และใช้ชื่อสินค้าว่า “S.B.K. ส.บ.ก. อุตสาหกรรมชาวบ้าน The Peasant Industries, RAMBHAI PANA LTD. THAILAND.” [[#_ftn8|<sup><sup>[8]</sup></sup>]] แต่กลับได้รับการเรียกขานกันเป็นสามัญว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ซึ่งได้รับความนิยมมาก คนงานต้องทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน แม้กระนั้นก็ตาม โรงงานก็ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามความต้องการ เมื่อมีบริษัทที่สหรัฐอเมริกาสั่งซื้อมาจึงไม่สามารถรับงานได้ ดังนั้น การผลิตสินค้าของโรงงานจึงจำกัดอยู่เพียงภายในประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรุงเทพฯ และจันทบุรีเท่านั้น[[#_ftn9|<sup><sup>[9]</sup></sup>]] สำหรับการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่จะนำสินค้าไปจัดแสดงไว้ที่ร้านวิบูลย์สุขในตัวเมืองจันทบุรี ปรากฏว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ได้รับความนิยมเพราะฝีมือละเอียด มีรูปแบบทันสมัยสวยงาม ส่วนการจำหน่ายสินค้าในกรุงเทพฯ มีการฝากขายที่ร้านโขมพัสตร์ของหม่อมเจ้าหญิงผจงรจิตร์ กฤดากร ระยะหนึ่ง และยังเปิดร้านจำหน่ายบริเวณมุมถนนบูรพาทางเข้าโรงแรมโอเรียนเต็ล ชื่อร้าน “อุตสาหกรรมชาวบ้าน” และในภายหลัง เมื่อทรงย้ายกลับมาประทับยังวังศุโขทัยแล้ว ก็ยังมีผู้สนใจเข้ามาสั่งซื้อถึงในวังศุโขทัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปิดร้านจำหน่ายบริเวณพระตำหนักน้ำ วังศุโขทัย ตั้งแต่เวลา 8.00 – 16.00 น. ทุกวันเว้นวันอาทิตย์[[#_ftn10|<sup><sup>[10]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในกิจการทอเสื่อนั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ได้พระราชทานคำแนะนำในการทอเสื่อด้วยพระองค์เอง ให้สตรีในท้องถิ่นที่สนใจหัตถกรรมทอเสื่อได้ผลิตเสื่อออกขาย อีกทั้งผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ยังเป็นผลให้ความนิยมเสื่อและผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเสื่อจันทบูรแพร่หลายอย่างรวดเร็ว แม้ว่าในเวลาต่อมา สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 จะได้เสด็จแปรพระราชฐานกลับมาประทับ ณ วังศุโขทัยเป็นการถาวร แต่กิจการทอเสื่อสวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ก็ยังเจริญรุ่งเรือง ผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ” กำลังเป็นที่รู้จักและนิยมกันอย่างแพร่หลาย ที่สำคัญอย่างยิ่งก็คือได้ช่วยส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นให้มีรายได้ และมีอาชีพในทางหัตถกรรมเป็นของตนเอง อีกทั้งผู้ตามเสด็จฯ บางท่านยังสามารถทอเสื่อได้อีกด้วยเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมกิจกรรมการทอเสื่อนี้ไว้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายโรงงานทอเสื่อจากสวนบ้านแก้ว มายังวังศุโขทัย โดยพระราชทานบริเวณพระตำหนักน้ำเป็นสถานที่ทอเสื่อโดยเฉพาะ กิจการทอเสื่อที่วังศุโขทัยนี้เป็นลักษณะอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ดำเนินกิจการที่สวนบ้านแก้วโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจันทบุรีที่ตามเสด็จฯ มานั้นเป็นครูฝึกสอนการทอเสื่อที่วังศุโขทัย เมื่อทรงว่างจากพระราชกิจในช่วงเช้ามักจะเสด็จลงทอดพระเนตรการทอเสื่ออยู่เสมอ ทรงออกแบบและเลือกสีด้วยพระองค์เอง และเมื่อใดที่ทอดพระเนตรเห็นกระเป๋าถือสมัยใหม่ ก็จะโปรดให้ช่างทอเสื่อดูเป็นแบบอย่างเพื่อทอและประกอบเป็นกระเป๋าต่อไป นับได้ว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ” เป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพให้แก่ประชาชนให้มีรายได้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ และทำให้พวกเขามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามลำดับตราบจนทุกวันนี้</p> <div><p style="text-align: justify;">'''อ้างอิง'''</p>  
<p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; พระราชกรณียกิจที่สำคัญประการหนึ่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เมื่อครั้งเสด็จฯ มาประทับที่จังหวัดจันทบุรี นั่นคือ ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการทอเสื่อจันทบูรให้มีความสวยงามและทันสมัย จนกลายเป็นสินค้าหัตถกรรมและอาชีพหลักที่มีชื่อเสียงของชาวจังหวัดจันทบุรี และเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายในนาม “เสื่อสมเด็จฯ”</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จนิวัติพระนครเมื่อ พ.ศ. 2492 พร้อมทั้งทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกลับมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ร่วมกับพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุรพการีแล้วนั้น รัฐบาลได้ใช้พระตำหนักวังศุโขทัยเป็นสถานที่ทำงานของกระทรวงสาธารณสุข&nbsp;สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (พระอิสริยยศในณะนั้น) จึงได้เชิญเสด็จสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไปประทับ ณ พระตำหนักของสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์&nbsp;ในวังสระปทุม แต่เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงรบกวนสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ในการประทับ ณ วังสระปทุม นานเกินควร อีกทั้งยังมีพระราชประสงค์ที่จะมีที่ประทับสำหรับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ จึงทรงสร้างสวนบ้านแก้วขึ้นที่จังหวัดจันทบุรี ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2493</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ภายหลังจากที่เสด็จฯ มาประทับ ณ สวนบ้านแก้วได้ประมาณ 5 ปี สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี ทรงทราบว่าคนงานที่รับเข้ามาทำสวนและก่อสร้างนั้นส่วนใหญ่ถนัดงานฝีมือ งานทอเสื่อ งานทอผ้า ประกอบกับโปรดเสื่อจันทบูรอยู่แล้ว โดยเสื่อที่ชาวบ้านทอกันอยู่แต่เดิมเป็นเสื่อปูนอนเย็บริม พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทอเสื่อของแม่ชีที่วัดโรมันคาทอลิก หรือวัดญวน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสวนบ้านแก้ว และทรงเห็นถึงข้อบกพร่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสีที่มีจำกัด ไม่หลากหลาย อีกทั้งเมื่อเส้นกกที่ย้อมสีแล้วถูกน้ำสีจะตกดังที่ นายบุญมี นักเสียง อดีตผู้ทำงานซื้อกกและย้อมกก เล่าว่า[[#_ftn1|<sup><sup>[1]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''''“...พระองค์จะใช้เสื่อชาวบ้านมาเป็นบรรทัดฐานก่อน ตอนที่พระองค์เสด็จประพาสตามชนบทต่างๆ ชาวบ้านก็ใช้เสื่อที่ดีที่สุดของเขามาปูลาดพระบาท พอท่านเห็นก็ชื่นชมและนำเสื่อเหล่านั้นมาดูไว้คิดเป็นแบบและค่อยๆ ดำริมาเรื่อยๆ จากผู้ใกล้ชิดมาถึงผม ผมได้ถูกคัดเลือกในเกณฑ์นั้นด้วย ผมจะถนัดงานในด้านฟอกให้เป็นสีขาว...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp;การ “ฟอกกกให้เป็นสีขาว” นี้ มีสาเหตุมาจากการที่พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทอเสื่อของแม่ชีที่วัดโรมันคาทอลิก หรือวัดญวน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสวนบ้านแก้ว และทรงเห็นถึงข้อบกพร่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสีที่มีจำกัด ไม่หลากหลาย อีกทั้งเมื่อเส้นกกที่ย้อมสีแล้วถูกน้ำสีจะตก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงงานทอเสื่อขึ้น โดยสั่งซื้อกกตากแห้งจากชาวบ้าน และมีพระราชประสงค์ที่จะปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตให้ทันสมัยขึ้น เช่น การใช้เชือกที่ทำด้วยปอสำหรับถักร้อยกก ไม่ใช้เอ็นพลาสติกเหมือนที่อื่นๆ ส่วนการปรับปรุงเรื่องสีย้อมให้มีความคงทนนั้น หม่อมเจ้าชายกอกษัตริย์ สวัสดิวัตน์ พระอนุชา ซึ่งเป็นอาจารย์สอนวิชาเคมีที่มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ทรงศึกษาและแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ รวมไปถึงการผลิตสีที่ใช้ในการย้อมเส้นกกเพิ่มขึ้นเพื่อให้มีความหลากหลาย[[#_ftn2|<sup><sup>[2]</sup></sup>]] ดังเช่นที่หม่อมเจ้าชายการวิก จักรพันธุ์ ประทานสัมภาษณ์ไว้ ดังความต่อไปนี้[[#_ftn3|<sup><sup>[3]</sup></sup>]]</p>  
&nbsp;'''''“...เสื่อจันทบูรที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว แต่ปรากฏว่าสียังตก สมมติว่าคนไปนอนแล้วเหงื่อออกลุกขึ้นมาหลังจะแดงบ้างเขียวบ้าง ทรงสร้างโรงเสื่อโดยขอลูกชาวบ้านมาหัดทอเสื่อ ทรงศึกษาว่าใช้สีอะไรจะไม่ตกจนสำเร็จ โดยใช้สียี่ห้อดีของต่างประเทศ แต่ทรงข้องพระทัยอยู่ว่าทำไมมีแต่สีแก่ๆ น่าจะมีสีชมพูสีน้ำเงินอ่อนก็ทรงซักถาม เขาเลยบอกว่าไม่ได้ เพราะกกที่ทำไม่ใช่สีขาวมันเป็นสีออกเขียวถ้าจะทำเสื่อสีอ่อนต้องใช้สีขาว ทรงปรึกษากับพระอนุชาที่เป็นศาสตราจารย์ด้านเคมีอยู่ที่มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ท่านชายได้กราบบังคมทูลว่า ง่ายมาก โดยเอาสีเสียดฟอกออกแล้วจะเกือบขาว แล้วจะใช้วิธีย้อมที่ดีโดยสีไม่ตก มีการสาธิตให้ดูและได้ผลตามพระราชประสงค์ ทำให้ได้เสื่อพื้นเมืองสีสวยคุณภาพดียิ่งขึ้นอีก...”'''''
<p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;กกนั้นซื้อที่ชาวบ้านตากแห้งแล้ว นำมาต้มแล้วแช่ ใช้สารเคมีของญี่ปุ่นซึ่งมีคุณสมบัติเป็นกรดในสัดส่วนพอเหมาะ ฟอกให้ขาวก่อนย้อม จึงจะได้กกสีอ่อนๆ เช่น ชมพูอ่อน เขียวอ่อน ถ้าฟอกไม่ขาวออกมาจะเป็นสีเข้ม[[#_ftn4|<sup><sup>[4]</sup></sup>]]การดำเนินการทั้งหมดนี้ทำให้โรงงานทอเสื่อกกของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นโรงงานแห่งแรกที่รู้จักวิธีฟอกเส้นกกให้ขาวเพื่อย้อมเป็นสีต่างๆ และเมื่อย้อมแล้วสีไม่ตก โดยมีคนงานประมาณ 300 คน แบ่งงานเป็นแผนกต่างๆ เช่น แผนกฟอกเส้นกกให้ขาว แผนกย้อมกก แผนกทอ แผนกตัดเย็บ แผนกช่างไม้ทำส่วนประกอบผลิตภัณฑ์จากเสื่อ</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกเหนือจากการทอเสื่อแบบปกติแล้ว ยังมีผลิตภัณฑ์สิ่งของเครื่องใช้ที่ทำด้วยเสื่อกกตามแบบพระราชทาน เช่น ถาด ที่รองแก้ว ที่ใส่กระดาษเช็ดปาก รวมไปถึงสินค้าแฟชั่นอย่างเช่นกระเป๋าถือสตรี ที่ทรงมีพระราชดำริออกแบบให้ทันสมัย ดังเช่นที่หม่อมเจ้าการวิก จักรพันธุ์ ประทานสัมภาษณ์ไว้ ดังความต่อไปนี้[[#_ftn5|<sup><sup>[5]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">'''''“...ต่อมาทรงทำกระเป๋าหิ้วแบบผู้หญิง ทรงออกแบบเอง เพราะท่านโปรดทางแฟชั่นอยู่แล้ว ทรงออกแบบแปลกๆ มีลวดลายและทำให้สีอ่อนๆ อยู่ในความนิยมมากทีเดียว...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เช่นเดียวกับที่หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ กล่าวไว้ในรายการ “ครอบจักรวาล” ดังความต่อไปนี้[[#_ftn6|<sup><sup>[6]</sup></sup>]]</p> <p style="text-align: justify;">'''''“...ต่อมาท่านทรงส่งเสริมเรื่องการทอเสื่อซึ่งเป็นอาชีพของชาวจันทบูร ทรงเห็นว่าแบบที่เขาทำกันมามันเชย ท่านทรงคิดค้นออกแบบกระเป๋าให้คนเขาถือไปได้ เป็นกระเป๋าคล้ายกระเป๋าดิออร์ อีฟแซงต์โลรองต์ แต่ทำด้วยเสื่อทั้งหมด ปรากฏว่าขายดิบขายดี มีคนนิยมชมชอบ...”'''''</p> <p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานคำแนะนำ และทรงเน้นความละเอียดละออเป็นพิเศษในกรณีที่จะประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร และกระเป๋าเสื่อในเรื่องของลายเสื่อ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ โปรดให้ทอเป็นลายพื้นบ้านก่อน เช่น ลายลูกโซ่ ยกเป็นดอก เช่น ลายข้าวหลามตัด ดอกจันทน์ และในภายหลังทรงคิดเพิ่มเติมขึ้นอีก เช่น ลายตาเสื่อ ลายพิกุล ลายลูกคลื่น ลายลูกคลื่นใส่ 2 เส้น (ดำ 2 เส้น ขาว 2 เส้น) เป็นต้น และในภายหลัง ช่างทำกระเป๋าเสื่อได้คิดค้นลวดลายเพิ่มเติม เช่น ลายดอกกุหลาบชมจันทร์ ลายกนก ลายมะลิเลื้อย เป็นต้น ทั้งนี้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ มีความสนพระราชหฤทัยในศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านชนิดนี้มาก หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว จะเสด็จฯ มาทอดพระเนตรโรงทอเสื่อ และจะเสด็จฯ มาอีกครั้งในช่วงบ่าย บางครั้งก็โปรดที่จะทรงทอเสื่อด้วยพระองค์เอง และยังพระราชทานคำแนะนำเรื่องลวดลาย เรื่องสี เรื่องรูปทรง และยังทรงตรวจสอบชิ้นงานทุกชิ้นด้วยพระองค์เอง[[#_ftn7|<sup><sup>[7]</sup></sup>]]</p>  
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สินค้าที่ออกจากโรงงานทอเสื่อกกนี้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานเครื่องหมายการค้าเป็นรูปคนหาบกระจาด และใช้ชื่อสินค้าว่า “S.B.K. ส.บ.ก. อุตสาหกรรมชาวบ้าน The Peasant Industries, RAMBHAI PANA LTD. THAILAND.” [[#_ftn8|<sup><sup>[8]</sup></sup>]] แต่กลับได้รับการเรียกขานกันเป็นสามัญว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ซึ่งได้รับความนิยมมาก คนงานต้องทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน แม้กระนั้นก็ตาม โรงงานก็ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามความต้องการ เมื่อมีบริษัทที่สหรัฐอเมริกาสั่งซื้อมาจึงไม่สามารถรับงานได้ ดังนั้น การผลิตสินค้าของโรงงานจึงจำกัดอยู่เพียงภายในประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรุงเทพฯ และจันทบุรีเท่านั้น[[#_ftn9|<sup><sup>[9]</sup></sup>]] สำหรับการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่จะนำสินค้าไปจัดแสดงไว้ที่ร้านวิบูลย์สุขในตัวเมืองจันทบุรี ปรากฏว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ได้รับความนิยมเพราะฝีมือละเอียด มีรูปแบบทันสมัยสวยงาม ส่วนการจำหน่ายสินค้าในกรุงเทพฯ มีการฝากขายที่ร้านโขมพัสตร์ของหม่อมเจ้าหญิงผจงรจิตร์ กฤดากร ระยะหนึ่ง และยังเปิดร้านจำหน่ายบริเวณมุมถนนบูรพาทางเข้าโรงแรมโอเรียนเต็ล ชื่อร้าน “อุตสาหกรรมชาวบ้าน” และในภายหลัง เมื่อทรงย้ายกลับมาประทับยังวังศุโขทัยแล้ว ก็ยังมีผู้สนใจเข้ามาสั่งซื้อถึงในวังศุโขทัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปิดร้านจำหน่ายบริเวณพระตำหนักน้ำ วังศุโขทัย ตั้งแต่เวลา 8.00 – 16.00 น. ทุกวันเว้นวันอาทิตย์[[#_ftn10|<sup><sup>[10]</sup></sup>]]
<p style="text-align: justify;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในกิจการทอเสื่อนั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ได้พระราชทานคำแนะนำในการทอเสื่อด้วยพระองค์เอง ให้สตรีในท้องถิ่นที่สนใจหัตถกรรมทอเสื่อได้ผลิตเสื่อออกขาย อีกทั้งผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ยังเป็นผลให้ความนิยมเสื่อและผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเสื่อจันทบูรแพร่หลายอย่างรวดเร็ว แม้ว่าในเวลาต่อมา สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 จะได้เสด็จแปรพระราชฐานกลับมาประทับ ณ วังศุโขทัยเป็นการถาวร แต่กิจการทอเสื่อสวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ก็ยังเจริญรุ่งเรือง ผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ” กำลังเป็นที่รู้จักและนิยมกันอย่างแพร่หลาย ที่สำคัญอย่างยิ่งก็คือได้ช่วยส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นให้มีรายได้ และมีอาชีพในทางหัตถกรรมเป็นของตนเอง อีกทั้งผู้ตามเสด็จฯ บางท่านยังสามารถทอเสื่อได้อีกด้วยเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมกิจกรรมการทอเสื่อนี้ไว้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายโรงงานทอเสื่อจากสวนบ้านแก้ว มายังวังศุโขทัย โดยพระราชทานบริเวณพระตำหนักน้ำเป็นสถานที่ทอเสื่อโดยเฉพาะ กิจการทอเสื่อที่วังศุโขทัยนี้เป็นลักษณะอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ดำเนินกิจการที่สวนบ้านแก้วโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจันทบุรีที่ตามเสด็จฯ มานั้นเป็นครูฝึกสอนการทอเสื่อที่วังศุโขทัย เมื่อทรงว่างจากพระราชกิจในช่วงเช้ามักจะเสด็จลงทอดพระเนตรการทอเสื่ออยู่เสมอ ทรงออกแบบและเลือกสีด้วยพระองค์เอง และเมื่อใดที่ทอดพระเนตรเห็นกระเป๋าถือสมัยใหม่ ก็จะโปรดให้ช่างทอเสื่อดูเป็นแบบอย่างเพื่อทอและประกอบเป็นกระเป๋าต่อไป นับได้ว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ” เป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพให้แก่ประชาชนให้มีรายได้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ และทำให้พวกเขามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามลำดับตราบจนทุกวันนี้</p> <div><p style="text-align: justify;">'''อ้างอิง'''</p>  
----
----
<div id="ftn1"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref1|<sup><sup>[1]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 339.</p> </div> <div id="ftn2"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref2|<sup><sup>[2]</sup></sup>]] สำนักราชเลขาธิการ, <u>พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักราชเลขาธิการ, 2531),&nbsp; หน้า 143.</p> </div> <div id="ftn3"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref3|<sup><sup>[3]</sup></sup>]]“ท่านเป็นหญิงที่โดดเดี่ยว,” ใน กองบรรณาธิการมติชน, <u>พระผู้เพิ่งจากไป</u> (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 101.</p> </div> <div id="ftn4"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref4|<sup><sup>[4]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 340.</p> </div> <div id="ftn5"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref5|<sup><sup>[5]</sup></sup>]] “ท่านเป็นหญิงที่โดดเดี่ยว,” ใน กองบรรณาธิการมติชน, <u>พระผู้เพิ่งจากไป</u> (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 102.</p> </div> <div id="ftn6"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref6|<sup><sup>[6]</sup></sup>]] กองบรรณาธิการมติชน, <u>พระผู้เพิ่งจากไป</u> (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 116.</p> </div> <div id="ftn7"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref7|<sup><sup>[7]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 342-343.</p> </div> <div id="ftn8"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref8|<sup><sup>[8]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 346.</p> </div> <div id="ftn9"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref9|<sup><sup>[9]</sup></sup>]] สำนักราชเลขาธิการ, <u>พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักราชเลขาธิการ, 2531),&nbsp; หน้า 144.</p> </div> <div id="ftn10"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref10|<sup><sup>[10]</sup></sup>]] สำนักราชเลขาธิการ, <u>พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักราชเลขาธิการ, 2531),&nbsp; หน้า 170-171.</p> </div> </div> <p style="text-align: justify;">&nbsp;</p>  
<div id="ftn1"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref1|<sup><sup>[1]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 339.</p> </div> <div id="ftn2"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref2|<sup><sup>[2]</sup></sup>]] สำนักราชเลขาธิการ, <u>พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักราชเลขาธิการ, 2531),&nbsp; หน้า 143.</p> </div> <div id="ftn3"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref3|<sup><sup>[3]</sup></sup>]]“ท่านเป็นหญิงที่โดดเดี่ยว,” ใน กองบรรณาธิการมติชน, <u>พระผู้เพิ่งจากไป</u> (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 101.</p> </div> <div id="ftn4"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref4|<sup><sup>[4]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 340.</p> </div> <div id="ftn5"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref5|<sup><sup>[5]</sup></sup>]] “ท่านเป็นหญิงที่โดดเดี่ยว,” ใน กองบรรณาธิการมติชน, <u>พระผู้เพิ่งจากไป</u> (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 102.</p> </div> <div id="ftn6"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref6|<sup><sup>[6]</sup></sup>]] กองบรรณาธิการมติชน, <u>พระผู้เพิ่งจากไป</u> (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 116.</p> </div> <div id="ftn7"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref7|<sup><sup>[7]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 342-343.</p> </div> <div id="ftn8"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref8|<sup><sup>[8]</sup></sup>]] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, <u>กุลสตรีศรีสยาม&nbsp;สง่างามทุกกาลสถาน</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 346.</p> </div> <div id="ftn9"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref9|<sup><sup>[9]</sup></sup>]] สำนักราชเลขาธิการ, <u>พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักราชเลขาธิการ, 2531),&nbsp; หน้า 144.</p> </div> <div id="ftn10"><p style="text-align: justify;">[[#_ftnref10|<sup><sup>[10]</sup></sup>]] สำนักราชเลขาธิการ, <u>พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7</u> (กรุงเทพฯ&nbsp;: สำนักราชเลขาธิการ, 2531),&nbsp; หน้า 170-171.</p> </div> </div> <p style="text-align: justify;">&nbsp;</p>  
[[Category:พระปกเกล้าศึกษา]] [[Category:พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
[[Category:พระปกเกล้าศึกษา]] [[Category:พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:59, 9 กุมภาพันธ์ 2565

เสื่อสมเด็จฯ

ผู้เรียบเรียง ศิบดี นพประเสริฐ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ

 

                พระราชกรณียกิจที่สำคัญประการหนึ่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เมื่อครั้งเสด็จฯ มาประทับที่จังหวัดจันทบุรี นั่นคือ ทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการทอเสื่อจันทบูรให้มีความสวยงามและทันสมัย จนกลายเป็นสินค้าหัตถกรรมและอาชีพหลักที่มีชื่อเสียงของชาวจังหวัดจันทบุรี และเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายในนาม “เสื่อสมเด็จฯ”

           เมื่อสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จนิวัติพระนครเมื่อ พ.ศ. 2492 พร้อมทั้งทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกลับมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ร่วมกับพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุรพการีแล้วนั้น รัฐบาลได้ใช้พระตำหนักวังศุโขทัยเป็นสถานที่ทำงานของกระทรวงสาธารณสุข สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (พระอิสริยยศในณะนั้น) จึงได้เชิญเสด็จสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไปประทับ ณ พระตำหนักของสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ในวังสระปทุม แต่เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงรบกวนสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ในการประทับ ณ วังสระปทุม นานเกินควร อีกทั้งยังมีพระราชประสงค์ที่จะมีที่ประทับสำหรับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ จึงทรงสร้างสวนบ้านแก้วขึ้นที่จังหวัดจันทบุรี ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2493

                ภายหลังจากที่เสด็จฯ มาประทับ ณ สวนบ้านแก้วได้ประมาณ 5 ปี สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี ทรงทราบว่าคนงานที่รับเข้ามาทำสวนและก่อสร้างนั้นส่วนใหญ่ถนัดงานฝีมือ งานทอเสื่อ งานทอผ้า ประกอบกับโปรดเสื่อจันทบูรอยู่แล้ว โดยเสื่อที่ชาวบ้านทอกันอยู่แต่เดิมเป็นเสื่อปูนอนเย็บริม พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทอเสื่อของแม่ชีที่วัดโรมันคาทอลิก หรือวัดญวน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสวนบ้านแก้ว และทรงเห็นถึงข้อบกพร่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสีที่มีจำกัด ไม่หลากหลาย อีกทั้งเมื่อเส้นกกที่ย้อมสีแล้วถูกน้ำสีจะตกดังที่ นายบุญมี นักเสียง อดีตผู้ทำงานซื้อกกและย้อมกก เล่าว่า[1]

                  “...พระองค์จะใช้เสื่อชาวบ้านมาเป็นบรรทัดฐานก่อน ตอนที่พระองค์เสด็จประพาสตามชนบทต่างๆ ชาวบ้านก็ใช้เสื่อที่ดีที่สุดของเขามาปูลาดพระบาท พอท่านเห็นก็ชื่นชมและนำเสื่อเหล่านั้นมาดูไว้คิดเป็นแบบและค่อยๆ ดำริมาเรื่อยๆ จากผู้ใกล้ชิดมาถึงผม ผมได้ถูกคัดเลือกในเกณฑ์นั้นด้วย ผมจะถนัดงานในด้านฟอกให้เป็นสีขาว...”

 

             การ “ฟอกกกให้เป็นสีขาว” นี้ มีสาเหตุมาจากการที่พระองค์ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทอเสื่อของแม่ชีที่วัดโรมันคาทอลิก หรือวัดญวน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสวนบ้านแก้ว และทรงเห็นถึงข้อบกพร่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสีที่มีจำกัด ไม่หลากหลาย อีกทั้งเมื่อเส้นกกที่ย้อมสีแล้วถูกน้ำสีจะตก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงงานทอเสื่อขึ้น โดยสั่งซื้อกกตากแห้งจากชาวบ้าน และมีพระราชประสงค์ที่จะปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตให้ทันสมัยขึ้น เช่น การใช้เชือกที่ทำด้วยปอสำหรับถักร้อยกก ไม่ใช้เอ็นพลาสติกเหมือนที่อื่นๆ ส่วนการปรับปรุงเรื่องสีย้อมให้มีความคงทนนั้น หม่อมเจ้าชายกอกษัตริย์ สวัสดิวัตน์ พระอนุชา ซึ่งเป็นอาจารย์สอนวิชาเคมีที่มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ทรงศึกษาและแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ รวมไปถึงการผลิตสีที่ใช้ในการย้อมเส้นกกเพิ่มขึ้นเพื่อให้มีความหลากหลาย[2] ดังเช่นที่หม่อมเจ้าชายการวิก จักรพันธุ์ ประทานสัมภาษณ์ไว้ ดังความต่อไปนี้[3]

 “...เสื่อจันทบูรที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว แต่ปรากฏว่าสียังตก สมมติว่าคนไปนอนแล้วเหงื่อออกลุกขึ้นมาหลังจะแดงบ้างเขียวบ้าง ทรงสร้างโรงเสื่อโดยขอลูกชาวบ้านมาหัดทอเสื่อ ทรงศึกษาว่าใช้สีอะไรจะไม่ตกจนสำเร็จ โดยใช้สียี่ห้อดีของต่างประเทศ แต่ทรงข้องพระทัยอยู่ว่าทำไมมีแต่สีแก่ๆ น่าจะมีสีชมพูสีน้ำเงินอ่อนก็ทรงซักถาม เขาเลยบอกว่าไม่ได้ เพราะกกที่ทำไม่ใช่สีขาวมันเป็นสีออกเขียวถ้าจะทำเสื่อสีอ่อนต้องใช้สีขาว ทรงปรึกษากับพระอนุชาที่เป็นศาสตราจารย์ด้านเคมีอยู่ที่มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ท่านชายได้กราบบังคมทูลว่า ง่ายมาก โดยเอาสีเสียดฟอกออกแล้วจะเกือบขาว แล้วจะใช้วิธีย้อมที่ดีโดยสีไม่ตก มีการสาธิตให้ดูและได้ผลตามพระราชประสงค์ ทำให้ได้เสื่อพื้นเมืองสีสวยคุณภาพดียิ่งขึ้นอีก...”

             กกนั้นซื้อที่ชาวบ้านตากแห้งแล้ว นำมาต้มแล้วแช่ ใช้สารเคมีของญี่ปุ่นซึ่งมีคุณสมบัติเป็นกรดในสัดส่วนพอเหมาะ ฟอกให้ขาวก่อนย้อม จึงจะได้กกสีอ่อนๆ เช่น ชมพูอ่อน เขียวอ่อน ถ้าฟอกไม่ขาวออกมาจะเป็นสีเข้ม[4]การดำเนินการทั้งหมดนี้ทำให้โรงงานทอเสื่อกกของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นโรงงานแห่งแรกที่รู้จักวิธีฟอกเส้นกกให้ขาวเพื่อย้อมเป็นสีต่างๆ และเมื่อย้อมแล้วสีไม่ตก โดยมีคนงานประมาณ 300 คน แบ่งงานเป็นแผนกต่างๆ เช่น แผนกฟอกเส้นกกให้ขาว แผนกย้อมกก แผนกทอ แผนกตัดเย็บ แผนกช่างไม้ทำส่วนประกอบผลิตภัณฑ์จากเสื่อ

            นอกเหนือจากการทอเสื่อแบบปกติแล้ว ยังมีผลิตภัณฑ์สิ่งของเครื่องใช้ที่ทำด้วยเสื่อกกตามแบบพระราชทาน เช่น ถาด ที่รองแก้ว ที่ใส่กระดาษเช็ดปาก รวมไปถึงสินค้าแฟชั่นอย่างเช่นกระเป๋าถือสตรี ที่ทรงมีพระราชดำริออกแบบให้ทันสมัย ดังเช่นที่หม่อมเจ้าการวิก จักรพันธุ์ ประทานสัมภาษณ์ไว้ ดังความต่อไปนี้[5]

“...ต่อมาทรงทำกระเป๋าหิ้วแบบผู้หญิง ทรงออกแบบเอง เพราะท่านโปรดทางแฟชั่นอยู่แล้ว ทรงออกแบบแปลกๆ มีลวดลายและทำให้สีอ่อนๆ อยู่ในความนิยมมากทีเดียว...”

             เช่นเดียวกับที่หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ กล่าวไว้ในรายการ “ครอบจักรวาล” ดังความต่อไปนี้[6]

“...ต่อมาท่านทรงส่งเสริมเรื่องการทอเสื่อซึ่งเป็นอาชีพของชาวจันทบูร ทรงเห็นว่าแบบที่เขาทำกันมามันเชย ท่านทรงคิดค้นออกแบบกระเป๋าให้คนเขาถือไปได้ เป็นกระเป๋าคล้ายกระเป๋าดิออร์ อีฟแซงต์โลรองต์ แต่ทำด้วยเสื่อทั้งหมด ปรากฏว่าขายดิบขายดี มีคนนิยมชมชอบ...”

           สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานคำแนะนำ และทรงเน้นความละเอียดละออเป็นพิเศษในกรณีที่จะประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร และกระเป๋าเสื่อในเรื่องของลายเสื่อ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ โปรดให้ทอเป็นลายพื้นบ้านก่อน เช่น ลายลูกโซ่ ยกเป็นดอก เช่น ลายข้าวหลามตัด ดอกจันทน์ และในภายหลังทรงคิดเพิ่มเติมขึ้นอีก เช่น ลายตาเสื่อ ลายพิกุล ลายลูกคลื่น ลายลูกคลื่นใส่ 2 เส้น (ดำ 2 เส้น ขาว 2 เส้น) เป็นต้น และในภายหลัง ช่างทำกระเป๋าเสื่อได้คิดค้นลวดลายเพิ่มเติม เช่น ลายดอกกุหลาบชมจันทร์ ลายกนก ลายมะลิเลื้อย เป็นต้น ทั้งนี้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ มีความสนพระราชหฤทัยในศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านชนิดนี้มาก หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว จะเสด็จฯ มาทอดพระเนตรโรงทอเสื่อ และจะเสด็จฯ มาอีกครั้งในช่วงบ่าย บางครั้งก็โปรดที่จะทรงทอเสื่อด้วยพระองค์เอง และยังพระราชทานคำแนะนำเรื่องลวดลาย เรื่องสี เรื่องรูปทรง และยังทรงตรวจสอบชิ้นงานทุกชิ้นด้วยพระองค์เอง[7]

      สินค้าที่ออกจากโรงงานทอเสื่อกกนี้ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระราชทานเครื่องหมายการค้าเป็นรูปคนหาบกระจาด และใช้ชื่อสินค้าว่า “S.B.K. ส.บ.ก. อุตสาหกรรมชาวบ้าน The Peasant Industries, RAMBHAI PANA LTD. THAILAND.” [8] แต่กลับได้รับการเรียกขานกันเป็นสามัญว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ซึ่งได้รับความนิยมมาก คนงานต้องทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน แม้กระนั้นก็ตาม โรงงานก็ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามความต้องการ เมื่อมีบริษัทที่สหรัฐอเมริกาสั่งซื้อมาจึงไม่สามารถรับงานได้ ดังนั้น การผลิตสินค้าของโรงงานจึงจำกัดอยู่เพียงภายในประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรุงเทพฯ และจันทบุรีเท่านั้น[9] สำหรับการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่จะนำสินค้าไปจัดแสดงไว้ที่ร้านวิบูลย์สุขในตัวเมืองจันทบุรี ปรากฏว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ได้รับความนิยมเพราะฝีมือละเอียด มีรูปแบบทันสมัยสวยงาม ส่วนการจำหน่ายสินค้าในกรุงเทพฯ มีการฝากขายที่ร้านโขมพัสตร์ของหม่อมเจ้าหญิงผจงรจิตร์ กฤดากร ระยะหนึ่ง และยังเปิดร้านจำหน่ายบริเวณมุมถนนบูรพาทางเข้าโรงแรมโอเรียนเต็ล ชื่อร้าน “อุตสาหกรรมชาวบ้าน” และในภายหลัง เมื่อทรงย้ายกลับมาประทับยังวังศุโขทัยแล้ว ก็ยังมีผู้สนใจเข้ามาสั่งซื้อถึงในวังศุโขทัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปิดร้านจำหน่ายบริเวณพระตำหนักน้ำ วังศุโขทัย ตั้งแต่เวลา 8.00 – 16.00 น. ทุกวันเว้นวันอาทิตย์[10]

           ในกิจการทอเสื่อนั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ได้พระราชทานคำแนะนำในการทอเสื่อด้วยพระองค์เอง ให้สตรีในท้องถิ่นที่สนใจหัตถกรรมทอเสื่อได้ผลิตเสื่อออกขาย อีกทั้งผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จฯ” ยังเป็นผลให้ความนิยมเสื่อและผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเสื่อจันทบูรแพร่หลายอย่างรวดเร็ว แม้ว่าในเวลาต่อมา สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 จะได้เสด็จแปรพระราชฐานกลับมาประทับ ณ วังศุโขทัยเป็นการถาวร แต่กิจการทอเสื่อสวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ก็ยังเจริญรุ่งเรือง ผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ” กำลังเป็นที่รู้จักและนิยมกันอย่างแพร่หลาย ที่สำคัญอย่างยิ่งก็คือได้ช่วยส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นให้มีรายได้ และมีอาชีพในทางหัตถกรรมเป็นของตนเอง อีกทั้งผู้ตามเสด็จฯ บางท่านยังสามารถทอเสื่อได้อีกด้วยเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมกิจกรรมการทอเสื่อนี้ไว้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายโรงงานทอเสื่อจากสวนบ้านแก้ว มายังวังศุโขทัย โดยพระราชทานบริเวณพระตำหนักน้ำเป็นสถานที่ทอเสื่อโดยเฉพาะ กิจการทอเสื่อที่วังศุโขทัยนี้เป็นลักษณะอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ดำเนินกิจการที่สวนบ้านแก้วโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจันทบุรีที่ตามเสด็จฯ มานั้นเป็นครูฝึกสอนการทอเสื่อที่วังศุโขทัย เมื่อทรงว่างจากพระราชกิจในช่วงเช้ามักจะเสด็จลงทอดพระเนตรการทอเสื่ออยู่เสมอ ทรงออกแบบและเลือกสีด้วยพระองค์เอง และเมื่อใดที่ทอดพระเนตรเห็นกระเป๋าถือสมัยใหม่ ก็จะโปรดให้ช่างทอเสื่อดูเป็นแบบอย่างเพื่อทอและประกอบเป็นกระเป๋าต่อไป นับได้ว่าผลิตภัณฑ์ “เสื่อสมเด็จ” เป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพให้แก่ประชาชนให้มีรายได้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ และทำให้พวกเขามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามลำดับตราบจนทุกวันนี้

อ้างอิง


[1] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, กุลสตรีศรีสยาม สง่างามทุกกาลสถาน (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 339.

[2] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, 2531),  หน้า 143.

[3]“ท่านเป็นหญิงที่โดดเดี่ยว,” ใน กองบรรณาธิการมติชน, พระผู้เพิ่งจากไป (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 101.

[4] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, กุลสตรีศรีสยาม สง่างามทุกกาลสถาน (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 340.

[5] “ท่านเป็นหญิงที่โดดเดี่ยว,” ใน กองบรรณาธิการมติชน, พระผู้เพิ่งจากไป (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 102.

[6] กองบรรณาธิการมติชน, พระผู้เพิ่งจากไป (กรุงเทพฯ: มติชน, 2527), หน้า 116.

[7] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, กุลสตรีศรีสยาม สง่างามทุกกาลสถาน (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 342-343.

[8] หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล, กุลสตรีศรีสยาม สง่างามทุกกาลสถาน (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2560), หน้า 346.

[9] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, 2531),  หน้า 144.

[10] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, 2531),  หน้า 170-171.