ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
กว่า ๒๓๐ ปี ที่กรุงรัตนโกสินทร์เดินทางผ่านเรื่องราวและกาลเวลามาอย่างยาวนาน และย้อนกลับไปในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕ ได้มีเหตุการณ์การสมโภชพระนครครั้งยิ่งใหญ่และสำคัญเกิดขึ้น  
 
กว่า ๒๓๐ ปี ที่กรุงรัตนโกสินทร์เดินทางผ่านเรื่องราวและกาลเวลามาอย่างยาวนาน และย้อนกลับไปในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕ ได้มีเหตุการณ์การสมโภชพระนครครั้งยิ่งใหญ่และสำคัญเกิดขึ้น
พระบาทสมเด็จพระปกเล้าเจ้าอยู่หัวทรงเข้าพระราชหฤทัยในสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างดี จึงทรงมีพระราชดำริที่จะจัดการสมโภชพระนครตามโบราณราชประเพณี โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าขณะเดียวกันก็เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน อันเป็นที่มาของพระราชดำริให้สร้างสะพานข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อกระจายความเจริญจากฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี และสร้าง[[พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ขึ้น ประกอบกันเป็นปฐมบรมราชานุสรณ์ เพื่อยังประโยชน์สูงสุดแห่งมหาชน และเป็นการแสดงความกตัญญูต่อบูรพมหากษัตริยาธิราชย์  
 
พระบาทสมเด็จพระปกเล้าเจ้าอยู่หัวทรงเข้าพระราชหฤทัยในสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างดี จึงทรงมีพระราชดำริที่จะจัดการสมโภชพระนครตามโบราณราชประเพณี โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าขณะเดียวกันก็เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน อันเป็นที่มาของพระราชดำริให้สร้างสะพานข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อกระจายความเจริญจากฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี และสร้าง[[พระราชดำริสร้างพระปฐมบรมราชานุสรณ์|พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ขึ้น ประกอบกันเป็นปฐมบรมราชานุสรณ์ เพื่อยังประโยชน์สูงสุดแห่งมหาชน และเป็นการแสดงความกตัญญูต่อบูรพมหากษัตริยาธิราชย์
 
ด้วยความสนพระราชหฤทัยการถ่ายทำภาพยนตร์ และทรงตระหนักดีว่าเหตุการณ์การสมโภชพระนคร ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๕ จะเป็นหลักฐานสำคัญทางประวัติศาสตร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง เป็นผู้บันทึกเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ครั้งนั้นไว้ และเผยแพร่ไปยังจังหวัดต่างๆเพื่อให้ประชาชนที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมได้เห็นเหตุการณ์การสมโภชพระนครตลอดพิธี
ด้วยความสนพระราชหฤทัยการถ่ายทำภาพยนตร์ และทรงตระหนักดีว่าเหตุการณ์การสมโภชพระนคร ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๕ จะเป็นหลักฐานสำคัญทางประวัติศาสตร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง เป็นผู้บันทึกเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ครั้งนั้นไว้ และเผยแพร่ไปยังจังหวัดต่างๆเพื่อให้ประชาชนที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมได้เห็นเหตุการณ์การสมโภชพระนครตลอดพิธี
ในวาระที่กรุงรัตนโกสินทร์มีอายุ ๑๕๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดการสร้างโรงมหรสพนั้นขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๓ เพื่อเป็นถาวรวัตถุในการเฉลิมฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี การก่อสร้างโรงมหรสพดำเนินการมาจนแล้วเสร็จในปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อว่า “[[ศาลาเฉลิมกรุง]]”


'''ที่มา '''
ในวาระที่กรุงรัตนโกสินทร์มีอายุ ๑๕๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดการสร้างโรงมหรสพนั้นขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๓ เพื่อเป็นถาวรวัตถุในการเฉลิมฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี การก่อสร้างโรงมหรสพดำเนินการมาจนแล้วเสร็จในปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อว่า “[[ศาลาเฉลิมกรุง|ศาลาเฉลิมกรุง]]”
 
'''ที่มา'''
 
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖


*[https://www.youtube.com/watch?v=VkwQO0FF2WM&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo&index=96 YOU TUBE : 150 ปีแผ่นดินรัตนโกสินทร์ : สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี]
*[https://www.youtube.com/watch?v=VkwQO0FF2WM&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo&index=96 YOU TUBE : 150 ปีแผ่นดินรัตนโกสินทร์ : สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี]  


[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]
[[Category:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:02, 28 ตุลาคม 2564

กว่า ๒๓๐ ปี ที่กรุงรัตนโกสินทร์เดินทางผ่านเรื่องราวและกาลเวลามาอย่างยาวนาน และย้อนกลับไปในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕ ได้มีเหตุการณ์การสมโภชพระนครครั้งยิ่งใหญ่และสำคัญเกิดขึ้น

พระบาทสมเด็จพระปกเล้าเจ้าอยู่หัวทรงเข้าพระราชหฤทัยในสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างดี จึงทรงมีพระราชดำริที่จะจัดการสมโภชพระนครตามโบราณราชประเพณี โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าขณะเดียวกันก็เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน อันเป็นที่มาของพระราชดำริให้สร้างสะพานข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อกระจายความเจริญจากฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี และสร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขึ้น ประกอบกันเป็นปฐมบรมราชานุสรณ์ เพื่อยังประโยชน์สูงสุดแห่งมหาชน และเป็นการแสดงความกตัญญูต่อบูรพมหากษัตริยาธิราชย์

ด้วยความสนพระราชหฤทัยการถ่ายทำภาพยนตร์ และทรงตระหนักดีว่าเหตุการณ์การสมโภชพระนคร ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๕ จะเป็นหลักฐานสำคัญทางประวัติศาสตร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง เป็นผู้บันทึกเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ครั้งนั้นไว้ และเผยแพร่ไปยังจังหวัดต่างๆเพื่อให้ประชาชนที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมได้เห็นเหตุการณ์การสมโภชพระนครตลอดพิธี

ในวาระที่กรุงรัตนโกสินทร์มีอายุ ๑๕๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดการสร้างโรงมหรสพนั้นขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๓ เพื่อเป็นถาวรวัตถุในการเฉลิมฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี การก่อสร้างโรงมหรสพดำเนินการมาจนแล้วเสร็จในปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อว่า “ศาลาเฉลิมกรุง

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖