ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาธิปัตย์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 22: | บรรทัดที่ 22: | ||
ในวันที่ 12 ธันวาคม 2533 พรรคประชาธิปัตย์ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นพรรค ร่วมพรัฐบาลพลเอกชาติชายชุณหะวัณซึ่งหลังจากนั้นได้เกิดผันแปรทางการเมือง อย่างรุนแรงนำ มาถึงเหตุการณ์ยึดอำนาจของ“คณะ รสช.” และเหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” ในที่สุด ท่ามกลางวิกฤติการทางการเมองในยุคที่สี่นี้พรรคประชาธิปัตย์ได้เข้ามามี บทบาทในการ ต่อต้านเผด็จการเคียงบ่าเคียงไหล่กับประชาชนจนกระทั่งเหตุการณ์สงบและนำไป สู่การเลือก ตั้งในเดือนกันยายน 2535 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้รับชัยชนะขาวสะอาดมีส.ส ได้รับเลือกตั้ง มากที่สุดเป็นจำนวน 79 คนและได้เป็นพรรคแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลโดยมีนายชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนดำเนินการ บริหารบ้าน เมือง มาเป็นระยะเวลา2ปีครึ่งจนมาถึงกลางปี2538 ซึ่งมีเหตุการณ์พลิกผันทางการเมืองจน นำมาสู่ การยุบสภาทำให้มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 กรกฏาคม2538 ซึ่งสมาชิกพรรค ประชาธิปัตย์ได้ รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นส.ส 86 คนและดำเนินการทางการเมืองเป็นฝ่ายค้าน รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา ซึ่งทางพรรคได้พิสูจน์ถึงการเป็นพรรคฝ่ายค้านที่มีประสิทธิ ภาพต่อสู้กับการปกครองประเทศที่ไม่โปร่งใส จนในที่สุดนายบรรหาร ศิลปอาชาต้อง ประกาศ ยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 จากการดำเนินการทางการเมืองที่ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 60 ปี พรรคประชาธิปัตย์ ได้ต่อสู้ กับระบอบเผด็จการเดิมมาในหลายยุคสมัยบางครั้งแสดงบทบาทในฐานะพรรคฝ่ายค้าน บางครั้งแสดงบทบาทในฐานะฝ่ายรัฐบาลแต่ทั้งนี้ไม่ว่าจะมีบทบาทและฐานะอย่างไร ในการต่อสู้ ทางการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ยังคงยึดมั่นการดำเนินการทางการเมืองในระบอบ ประชาธิป ไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขยึดถืออุดมคติ 4 ประการของพรรคยืนหยัดพิทักษ์รักษา ผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่และมุ่งมั่นสร้างสังคมที่เป็นธรรมให้บังเกิดขึ้น ด้วยจิตใจและ การอุทิศตัวในหลักการแห่งความซื่อสัตย์สุจริต | ในวันที่ 12 ธันวาคม 2533 พรรคประชาธิปัตย์ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นพรรค ร่วมพรัฐบาลพลเอกชาติชายชุณหะวัณซึ่งหลังจากนั้นได้เกิดผันแปรทางการเมือง อย่างรุนแรงนำ มาถึงเหตุการณ์ยึดอำนาจของ“คณะ รสช.” และเหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” ในที่สุด ท่ามกลางวิกฤติการทางการเมองในยุคที่สี่นี้พรรคประชาธิปัตย์ได้เข้ามามี บทบาทในการ ต่อต้านเผด็จการเคียงบ่าเคียงไหล่กับประชาชนจนกระทั่งเหตุการณ์สงบและนำไป สู่การเลือก ตั้งในเดือนกันยายน 2535 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้รับชัยชนะขาวสะอาดมีส.ส ได้รับเลือกตั้ง มากที่สุดเป็นจำนวน 79 คนและได้เป็นพรรคแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลโดยมีนายชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนดำเนินการ บริหารบ้าน เมือง มาเป็นระยะเวลา2ปีครึ่งจนมาถึงกลางปี2538 ซึ่งมีเหตุการณ์พลิกผันทางการเมืองจน นำมาสู่ การยุบสภาทำให้มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 กรกฏาคม2538 ซึ่งสมาชิกพรรค ประชาธิปัตย์ได้ รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นส.ส 86 คนและดำเนินการทางการเมืองเป็นฝ่ายค้าน รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา ซึ่งทางพรรคได้พิสูจน์ถึงการเป็นพรรคฝ่ายค้านที่มีประสิทธิ ภาพต่อสู้กับการปกครองประเทศที่ไม่โปร่งใส จนในที่สุดนายบรรหาร ศิลปอาชาต้อง ประกาศ ยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 จากการดำเนินการทางการเมืองที่ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 60 ปี พรรคประชาธิปัตย์ ได้ต่อสู้ กับระบอบเผด็จการเดิมมาในหลายยุคสมัยบางครั้งแสดงบทบาทในฐานะพรรคฝ่ายค้าน บางครั้งแสดงบทบาทในฐานะฝ่ายรัฐบาลแต่ทั้งนี้ไม่ว่าจะมีบทบาทและฐานะอย่างไร ในการต่อสู้ ทางการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ยังคงยึดมั่นการดำเนินการทางการเมืองในระบอบ ประชาธิป ไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขยึดถืออุดมคติ 4 ประการของพรรคยืนหยัดพิทักษ์รักษา ผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่และมุ่งมั่นสร้างสังคมที่เป็นธรรมให้บังเกิดขึ้น ด้วยจิตใจและ การอุทิศตัวในหลักการแห่งความซื่อสัตย์สุจริต | ||
[[หมวดหมู่: | [[หมวดหมู่:รายชื่อพรรคการเมืองไทย]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:51, 9 มีนาคม 2552
พรรคประชาธิปัตย์ เป็นพรรคการเมืองที่เก่าแก่ที่สุดที่ได้มีการก่อตั้งก่อนที่จะมีพระราช บัญญัติพรรคการเมืองโดยก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2489 โดยมี นายควง อภัยวงศ์ เป็น หัวหน้าพรรคคนแรกและ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก ตลอดระยะเวลา 60 ปีที่ ผ่านมาพรรคประชาธิปัตย์ได้ดำเนินการต่อสู้ทางการเมืองใน ระบอบประชาธิปไตยอย่างต่อเนื่องซึ่งพอจะจำแนกออกได้เป็น 4 ยุค กล่าวคือ
ยุคที่หนึ่ง (2489-2501) : ยุคแห่งการสร้างพรรค และสร้างประชาธิปไตย ต่อต้านเผด็จการ ในระยะต้นสภาพการเ มืองของประเทศไทยมีความผันผวนเนื่องจากอยู่ใน ระหว่าง การเริ่มต้น การดำเนินงานทางการเมืองอยู่ในวงแคบพรรคประชาธิปัตย์ได้มีการดำเนินการ ทางการเมืองที่ สำคัญสรุปได้ดังนี้ * ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคฝ่ายค้านรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นรัฐบาลรับเชิญของคณะรัฐประหาร พ.ศ 2490
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคฝ่ายค้านรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลย์สงคราม
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคฝ่ายค้านรัฐบาลแห่งกลุ่มจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
ระหว่างปี 2501-2511 บทบาททางการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์ได้หยุดชั่วคราว เมื่อ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ทำการยึดอำนาจการปกครอง และเป็นเผด็จการเบ็ดเสร็จในปี 2501
ยุคที่สอง (2511-2519) : ยุคแห่งการฟื้นฟูพรรค และเชิดชูประชาธิปไตย ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 ทางพรรคฯได้มีการ ดำเนินการทางการเมืองที่สำคัญดังนี้
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคฝ่ายค้านรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2518
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นฝ่ายค้านรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2519
ยุคที่สาม (2522-2533) : ยุคแห่งการปรับปรุงนโยบาย และเข้ามีส่วนร่วมในการบริหารบ้านเมือง ในปี พ.ศ. 2521 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ และจัดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 22 เมษายน 2522 นับเป็นการเข้าสู่ยุคที่สามทางการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งทางพรรคฯ ได้มีการดำเนินการทางการเมืองที่สำคัญสรุปได้ดังนี้
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคฝ่ายค้านรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (1, 2, 3, 4, 5)
- ปฏิบัติหน้าที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
ยุคที่สี่ (ปลายปี 2533-ปัจจุบัน) :ยุคแห่งการเป็นรัฐบาลของประชาชนและฝ่ายค้านที่มี ประสิทธิภาพ ในวันที่ 12 ธันวาคม 2533 พรรคประชาธิปัตย์ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นพรรค ร่วมพรัฐบาลพลเอกชาติชายชุณหะวัณซึ่งหลังจากนั้นได้เกิดผันแปรทางการเมือง อย่างรุนแรงนำ มาถึงเหตุการณ์ยึดอำนาจของ“คณะ รสช.” และเหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” ในที่สุด ท่ามกลางวิกฤติการทางการเมองในยุคที่สี่นี้พรรคประชาธิปัตย์ได้เข้ามามี บทบาทในการ ต่อต้านเผด็จการเคียงบ่าเคียงไหล่กับประชาชนจนกระทั่งเหตุการณ์สงบและนำไป สู่การเลือก ตั้งในเดือนกันยายน 2535 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ได้รับชัยชนะขาวสะอาดมีส.ส ได้รับเลือกตั้ง มากที่สุดเป็นจำนวน 79 คนและได้เป็นพรรคแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลโดยมีนายชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนดำเนินการ บริหารบ้าน เมือง มาเป็นระยะเวลา2ปีครึ่งจนมาถึงกลางปี2538 ซึ่งมีเหตุการณ์พลิกผันทางการเมืองจน นำมาสู่ การยุบสภาทำให้มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 กรกฏาคม2538 ซึ่งสมาชิกพรรค ประชาธิปัตย์ได้ รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นส.ส 86 คนและดำเนินการทางการเมืองเป็นฝ่ายค้าน รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา ซึ่งทางพรรคได้พิสูจน์ถึงการเป็นพรรคฝ่ายค้านที่มีประสิทธิ ภาพต่อสู้กับการปกครองประเทศที่ไม่โปร่งใส จนในที่สุดนายบรรหาร ศิลปอาชาต้อง ประกาศ ยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2539 จากการดำเนินการทางการเมืองที่ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 60 ปี พรรคประชาธิปัตย์ ได้ต่อสู้ กับระบอบเผด็จการเดิมมาในหลายยุคสมัยบางครั้งแสดงบทบาทในฐานะพรรคฝ่ายค้าน บางครั้งแสดงบทบาทในฐานะฝ่ายรัฐบาลแต่ทั้งนี้ไม่ว่าจะมีบทบาทและฐานะอย่างไร ในการต่อสู้ ทางการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ยังคงยึดมั่นการดำเนินการทางการเมืองในระบอบ ประชาธิป ไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขยึดถืออุดมคติ 4 ประการของพรรคยืนหยัดพิทักษ์รักษา ผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่และมุ่งมั่นสร้างสังคมที่เป็นธรรมให้บังเกิดขึ้น ด้วยจิตใจและ การอุทิศตัวในหลักการแห่งความซื่อสัตย์สุจริต