ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2471"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ระบบการเงินของสยามอยู่ในมาตราแลกเปลี่ยนทองคำซึ่งไม่ได้ใช้ทองคำเป็นหลักโดยตรง อาศัยผูกพันกับการเงินของประเทศอื่น โดยเฉพาะเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษ ทั้งนี้เพราะสยามทำการค้ากับอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ | |||
ในเวลานั้นกรุงลอนดอนเป็นแหล่งกลางทางการเงิน การแลกเปลี่ยนหรือชำระหนี้ระหว่างประเทศต่างๆ ทำกันที่นั่น ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ที่เข้ามาตั้งในสยาม จะซื้อขายแลกเปลี่ยนกับพระคลังเฉพาะเงินปอนด์สเตอร์ลิง สยามจึงเก็บเงินทุนสำรองธนบัตรและเงินทุนสำรองมาตราทองคำไว้ในกรุงลอนดอนเป็นส่วนใหญ่ แต่ต่อมาพบว่าการผูกพันในลักษณะนี้เป็นข้อบกพร่อง เพราะทำให้สถานการณ์ทางการเงินของสยามกระทบกระเทือนไปตามค่าเงินปอนด์ | ในเวลานั้นกรุงลอนดอนเป็นแหล่งกลางทางการเงิน การแลกเปลี่ยนหรือชำระหนี้ระหว่างประเทศต่างๆ ทำกันที่นั่น ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ที่เข้ามาตั้งในสยาม จะซื้อขายแลกเปลี่ยนกับพระคลังเฉพาะเงินปอนด์สเตอร์ลิง สยามจึงเก็บเงินทุนสำรองธนบัตรและเงินทุนสำรองมาตราทองคำไว้ในกรุงลอนดอนเป็นส่วนใหญ่ แต่ต่อมาพบว่าการผูกพันในลักษณะนี้เป็นข้อบกพร่อง เพราะทำให้สถานการณ์ทางการเงินของสยามกระทบกระเทือนไปตามค่าเงินปอนด์ | ||
เซอร์ เอ็ดเวิร์ด คุก ที่ปรึกษาทางการเงิน เสนอให้ผูกค่าเงินบาทเข้ากับทองคำโดยตรง ทำให้เงินบาทไม่ต้องขึ้นอยู่กับการเทียบค่าทองคำของเงินสกุลใดสกุลหนึ่ง | เซอร์ เอ็ดเวิร์ด คุก ที่ปรึกษาทางการเงิน เสนอให้ผูกค่าเงินบาทเข้ากับทองคำโดยตรง ทำให้เงินบาทไม่ต้องขึ้นอยู่กับการเทียบค่าทองคำของเงินสกุลใดสกุลหนึ่ง จึงออก[[พระราชบัญญัติ]]ประกาศอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทเป็น ๑ ต่อ ๑๑ ของเหรียญโสเวอเรน (sovereign) | ||
พระราชบัญญัติเงินตรา พุทธศักราช ๒๔๗๑ เป็นการรวบรวม ปรับปรุงกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวด้วยเงินตราของสยามที่เดิมนั้นมีอยู่หลายฉบับ มารวมกันไว้ในที่เดียวกัน พร้อมกันนั้นได้กำหนดค่าของเงินบาทเข้ามาสู่มาตราทองคำ โดยกำหนดค่าที่แน่นอนไว้ รวมทั้งเปลี่ยนฐานะทางกฎหมายของธนบัตรให้เป็นธนบัตรที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายและเทียบค่าของเงินบาทเข้ากับทองคำโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา | [[พระราชบัญญัติเงินตรา พุทธศักราช ๒๔๗๑]] เป็นการรวบรวม ปรับปรุงกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวด้วยเงินตราของสยามที่เดิมนั้นมีอยู่หลายฉบับ มารวมกันไว้ในที่เดียวกัน พร้อมกันนั้นได้กำหนดค่าของเงินบาทเข้ามาสู่มาตราทองคำ โดยกำหนดค่าที่แน่นอนไว้ รวมทั้งเปลี่ยนฐานะทางกฎหมายของธนบัตรให้เป็นธนบัตรที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายและเทียบค่าของเงินบาทเข้ากับทองคำโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา | ||
'''ที่มา ''' | '''ที่มา ''' |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:22, 10 กุมภาพันธ์ 2559
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวระบบการเงินของสยามอยู่ในมาตราแลกเปลี่ยนทองคำซึ่งไม่ได้ใช้ทองคำเป็นหลักโดยตรง อาศัยผูกพันกับการเงินของประเทศอื่น โดยเฉพาะเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษ ทั้งนี้เพราะสยามทำการค้ากับอังกฤษเป็นส่วนใหญ่
ในเวลานั้นกรุงลอนดอนเป็นแหล่งกลางทางการเงิน การแลกเปลี่ยนหรือชำระหนี้ระหว่างประเทศต่างๆ ทำกันที่นั่น ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ที่เข้ามาตั้งในสยาม จะซื้อขายแลกเปลี่ยนกับพระคลังเฉพาะเงินปอนด์สเตอร์ลิง สยามจึงเก็บเงินทุนสำรองธนบัตรและเงินทุนสำรองมาตราทองคำไว้ในกรุงลอนดอนเป็นส่วนใหญ่ แต่ต่อมาพบว่าการผูกพันในลักษณะนี้เป็นข้อบกพร่อง เพราะทำให้สถานการณ์ทางการเงินของสยามกระทบกระเทือนไปตามค่าเงินปอนด์
เซอร์ เอ็ดเวิร์ด คุก ที่ปรึกษาทางการเงิน เสนอให้ผูกค่าเงินบาทเข้ากับทองคำโดยตรง ทำให้เงินบาทไม่ต้องขึ้นอยู่กับการเทียบค่าทองคำของเงินสกุลใดสกุลหนึ่ง จึงออกพระราชบัญญัติประกาศอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทเป็น ๑ ต่อ ๑๑ ของเหรียญโสเวอเรน (sovereign)
พระราชบัญญัติเงินตรา พุทธศักราช ๒๔๗๑ เป็นการรวบรวม ปรับปรุงกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวด้วยเงินตราของสยามที่เดิมนั้นมีอยู่หลายฉบับ มารวมกันไว้ในที่เดียวกัน พร้อมกันนั้นได้กำหนดค่าของเงินบาทเข้ามาสู่มาตราทองคำ โดยกำหนดค่าที่แน่นอนไว้ รวมทั้งเปลี่ยนฐานะทางกฎหมายของธนบัตรให้เป็นธนบัตรที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายและเทียบค่าของเงินบาทเข้ากับทองคำโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖