ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จฯ เยือนอินโดจีน"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
หลังจากที่ฝรั่งเศสได้ชัยชนะเหนือเวียดนาม  ในปีพุทธศักราช ๒๔๒๘ ฝรั่งเศสได้รวมดินแดนทั้งหมดของเวียดนามและสถาปนา “สหพันธ์อินโดจีน” ก่อนที่จะรวมดินแดนลาว และกัมพูชาเข้าเป็นส่วนหนึ่งในอาณานิคมได้ในภายหลัง สัมพันธไมตรีระหว่างสยามกับฝรั่งเศสต้องสั่นคลอนจากวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ แต่ด้วยพระบรมวิเทโศบายทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยอมสละดินแดนบางส่วนให้แก่ฝรั่งเศส เพื่อรักษาอธิปไตยในดินแดนส่วนใหญ่ของชาติเอาไว้ อีกทั้งการเสด็จประพาสทวีปยุโรปทั้ง ๒ ครั้ง ทำให้ฝรั่งเศสยอมรับอธิปไตยของสยาม เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูความสัมพันธ์ของทั้ง ๒ ประเทศ ให้ดีขึ้น ความตึงเครียดต่างๆ ก่อนหน้านั้นได้ผ่อนคลายลง
หลังจากที่ฝรั่งเศสได้ชัยชนะเหนือเวียดนาม  ในปีพุทธศักราช ๒๔๒๘ ฝรั่งเศสได้รวมดินแดนทั้งหมดของเวียดนามและสถาปนา “สหพันธ์อินโดจีน” ก่อนที่จะรวมดินแดนลาว และกัมพูชาเข้าเป็นส่วนหนึ่งในอาณานิคมได้ในภายหลัง สัมพันธไมตรีระหว่างสยามกับฝรั่งเศสต้องสั่นคลอนจาก[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒]] แต่ด้วยพระบรมวิเทโศบายทางการเมืองของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ยอมสละดินแดนบางส่วนให้แก่ฝรั่งเศส เพื่อรักษา[[อธิปไตย]]ในดินแดนส่วนใหญ่ของชาติเอาไว้ อีกทั้งการเสด็จประพาสทวีปยุโรปทั้ง ๒ ครั้ง ทำให้ฝรั่งเศสยอมรับอธิปไตยของสยาม เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูความสัมพันธ์ของทั้ง ๒ ประเทศ ให้ดีขึ้น ความตึงเครียดต่างๆ ก่อนหน้านั้นได้ผ่อนคลายลง


เมื่อขึ้นสู่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นายอเล็กซานเดอร์ วาแรนน์ ข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีน เดินทางมาเยือนสยามในระหว่างวันที่ ๒๕ – ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๖๙ เพื่อลงนามในอนุสัญญาสยาม – อินโดจีน นับเป็นการเยือนครั้งแรกของข้าราชการระดับสูงของฝรั่งเศส ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาเป็นเวลานาน การมาเยือนของนายวาแรนน์ในครั้งนั้น ทำให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีนอย่างเป็นทางการเพื่อเป็นการตอบแทน  
เมื่อขึ้นสู่รัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] นายอเล็กซานเดอร์ วาแรนน์ ข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีน เดินทางมาเยือนสยามในระหว่างวันที่ ๒๕ – ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๖๙ เพื่อลงนามใน[[อนุสัญญาสยาม – อินโดจีน]] นับเป็นการเยือนครั้งแรกของข้าราชการระดับสูงของฝรั่งเศส ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาเป็นเวลานาน การมาเยือนของนายวาแรนน์ในครั้งนั้น ทำให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีนอย่างเป็นทางการเพื่อเป็นการตอบแทน  


การเสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งนี้ นับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์แห่งสยามประเทศ เพราะไม่เคยมีพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีเคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนในดินแดนนี้มาก่อน อันเป็นจุดเริ่มต้นของสัมพันธไมตรีที่ดีระหว่างสองประเทศ หลังจากที่เคยมีเรื่องราวบาดหมางกันมาอย่างยาวนาน ทั้งยังเป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่น่าศึกษาถึงพระบรมราโชบายด้านการต่างประเทศอีกเรื่องหนึ่งในรัชสมัยของพระองค์
การเสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งนี้ นับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์แห่งสยามประเทศ เพราะไม่เคยมีพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีเคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนในดินแดนนี้มาก่อน อันเป็นจุดเริ่มต้นของสัมพันธไมตรีที่ดีระหว่างสองประเทศ หลังจากที่เคยมีเรื่องราวบาดหมางกันมาอย่างยาวนาน ทั้งยังเป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่น่าศึกษาถึงพระบรมราโชบายด้านการต่างประเทศอีกเรื่องหนึ่งในรัชสมัยของพระองค์

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:29, 10 กุมภาพันธ์ 2559

หลังจากที่ฝรั่งเศสได้ชัยชนะเหนือเวียดนาม ในปีพุทธศักราช ๒๔๒๘ ฝรั่งเศสได้รวมดินแดนทั้งหมดของเวียดนามและสถาปนา “สหพันธ์อินโดจีน” ก่อนที่จะรวมดินแดนลาว และกัมพูชาเข้าเป็นส่วนหนึ่งในอาณานิคมได้ในภายหลัง สัมพันธไมตรีระหว่างสยามกับฝรั่งเศสต้องสั่นคลอนจากวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ แต่ด้วยพระบรมวิเทโศบายทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยอมสละดินแดนบางส่วนให้แก่ฝรั่งเศส เพื่อรักษาอธิปไตยในดินแดนส่วนใหญ่ของชาติเอาไว้ อีกทั้งการเสด็จประพาสทวีปยุโรปทั้ง ๒ ครั้ง ทำให้ฝรั่งเศสยอมรับอธิปไตยของสยาม เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูความสัมพันธ์ของทั้ง ๒ ประเทศ ให้ดีขึ้น ความตึงเครียดต่างๆ ก่อนหน้านั้นได้ผ่อนคลายลง

เมื่อขึ้นสู่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นายอเล็กซานเดอร์ วาแรนน์ ข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีน เดินทางมาเยือนสยามในระหว่างวันที่ ๒๕ – ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๖๙ เพื่อลงนามในอนุสัญญาสยาม – อินโดจีน นับเป็นการเยือนครั้งแรกของข้าราชการระดับสูงของฝรั่งเศส ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาเป็นเวลานาน การมาเยือนของนายวาแรนน์ในครั้งนั้น ทำให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีนอย่างเป็นทางการเพื่อเป็นการตอบแทน

การเสด็จพระราชดำเนินเยือนอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งนี้ นับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์แห่งสยามประเทศ เพราะไม่เคยมีพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีเคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนในดินแดนนี้มาก่อน อันเป็นจุดเริ่มต้นของสัมพันธไมตรีที่ดีระหว่างสองประเทศ หลังจากที่เคยมีเรื่องราวบาดหมางกันมาอย่างยาวนาน ทั้งยังเป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่น่าศึกษาถึงพระบรมราโชบายด้านการต่างประเทศอีกเรื่องหนึ่งในรัชสมัยของพระองค์

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖