ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นายทหารปืนใหญ่ม้าแห่งอังกฤษ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
พุทธศักราช ๒๔๕๓ หลังจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ฯ ทรงสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยอีตัน ทรงเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก ณ เมืองวูลิชซึ่งมีชื่อเสียงทางวิชาการทหารสมัยใหม่  สมดังพระราชประสงค์ในสมเด็จพระบรมชนกนาถที่จะให้พระราชโอรสทรงศึกษาวิชาทหารในต่างประเทศ  ด้วยทรงเห็นว่าการเรียนวิชาทหารจะเหมาะสำหรับพระบรมวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าที่จะทรงดำรงพระเกียรติยศเอาไว้ได้สมฐานะ “ขัตติยะ” ทรงเริ่มต้นศึกษาในปีถัดไปและทรงสำเร็จการศึกษาใน พุทธศักราช ๒๔๕๖ รัฐบาลอังกฤษได้ถวายพระยศ ว่าที่นายร้อยตรีและจัดให้ทรงเข้าประจำการ ณ หน่วยทหารปืนใหญ่ม้าหรือทหารปืนใหญ่เคลื่อนที่เร็ว เป็นต้นแบบของรถถังในปัจจุบันที่เมืองอัลเดอร์ชอต  
พุทธศักราช ๒๔๕๓ หลังจาก[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ฯ]] ทรงสำเร็จการศึกษาจาก[[วิทยาลัยอีตัน]] ทรงเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก ณ เมืองวูลิชซึ่งมีชื่อเสียงทางวิชาการทหารสมัยใหม่  สมดังพระราชประสงค์ในสมเด็จพระบรมชนกนาถที่จะให้พระราชโอรสทรงศึกษาวิชาทหารในต่างประเทศ  ด้วยทรงเห็นว่าการเรียนวิชาทหารจะเหมาะสำหรับพระบรมวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าที่จะทรงดำรงพระเกียรติยศเอาไว้ได้สมฐานะ “ขัตติยะ” ทรงเริ่มต้นศึกษาในปีถัดไปและทรงสำเร็จการศึกษาใน พุทธศักราช ๒๔๕๖ รัฐบาลอังกฤษได้ถวายพระยศ ว่าที่นายร้อยตรีและจัดให้ทรงเข้าประจำการ ณ หน่วยทหารปืนใหญ่ม้าหรือทหารปืนใหญ่เคลื่อนที่เร็ว เป็นต้นแบบของรถถังในปัจจุบันที่เมืองอัลเดอร์ชอต  


จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๕๗  สงครามโลกครั้งที่ ๑ อุบัติขึ้นในทวีปยุโรป  อังกฤษเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร แม้ทรงมีพระประสงค์จะเสด็จไปร่วมรบแต่ไม่ได้รับสนองพระประสงค์นั้น เพราแรกที่เดียวสยามเป็นประเทศเป็นกลาง ต่อมาเมื่อสงครามรุนแรงขึ้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ทรงลาออกจากกองทัพอังกฤษและเสด็จนิวัตพระนคร
จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๕๗  [[สงครามโลกครั้งที่ ๑]] อุบัติขึ้นในทวีปยุโรป  อังกฤษเข้าร่วมกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]] แม้ทรงมีพระประสงค์จะเสด็จไปร่วมรบแต่ไม่ได้รับสนองพระประสงค์นั้น เพราแรกที่เดียวสยามเป็นประเทศเป็นกลาง ต่อมาเมื่อสงครามรุนแรงขึ้น[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้ทรงลาออกจากกองทัพอังกฤษและเสด็จนิวัตพระนคร


ในเวลาต่อมาทรงเล่าความในพระราชหฤทัยครั้งนั้นพระราชทานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระราชนัดดาไว้ว่า
ในเวลาต่อมาทรงเล่าความในพระราชหฤทัยครั้งนั้นพระราชทาน[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] พระราชนัดดาไว้ว่า


“...เมื่อพวกเพื่อนนายทหารอังกฤษมาลาจะไปรบ และบอกท่านว่าเคราะห์ดีที่ไม่ต้องไปรบ ท่านละอายพระทัยจนไม่ทรงทราบว่าจะทำอย่างไร...”
“...เมื่อพวกเพื่อนนายทหารอังกฤษมาลาจะไปรบ และบอกท่านว่าเคราะห์ดีที่ไม่ต้องไปรบ ท่านละอายพระทัยจนไม่ทรงทราบว่าจะทำอย่างไร...”

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:19, 19 มกราคม 2559

พุทธศักราช ๒๔๕๓ หลังจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ฯ ทรงสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยอีตัน ทรงเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก ณ เมืองวูลิชซึ่งมีชื่อเสียงทางวิชาการทหารสมัยใหม่ สมดังพระราชประสงค์ในสมเด็จพระบรมชนกนาถที่จะให้พระราชโอรสทรงศึกษาวิชาทหารในต่างประเทศ ด้วยทรงเห็นว่าการเรียนวิชาทหารจะเหมาะสำหรับพระบรมวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าที่จะทรงดำรงพระเกียรติยศเอาไว้ได้สมฐานะ “ขัตติยะ” ทรงเริ่มต้นศึกษาในปีถัดไปและทรงสำเร็จการศึกษาใน พุทธศักราช ๒๔๕๖ รัฐบาลอังกฤษได้ถวายพระยศ ว่าที่นายร้อยตรีและจัดให้ทรงเข้าประจำการ ณ หน่วยทหารปืนใหญ่ม้าหรือทหารปืนใหญ่เคลื่อนที่เร็ว เป็นต้นแบบของรถถังในปัจจุบันที่เมืองอัลเดอร์ชอต

จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๕๗ สงครามโลกครั้งที่ ๑ อุบัติขึ้นในทวีปยุโรป อังกฤษเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร แม้ทรงมีพระประสงค์จะเสด็จไปร่วมรบแต่ไม่ได้รับสนองพระประสงค์นั้น เพราแรกที่เดียวสยามเป็นประเทศเป็นกลาง ต่อมาเมื่อสงครามรุนแรงขึ้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ทรงลาออกจากกองทัพอังกฤษและเสด็จนิวัตพระนคร

ในเวลาต่อมาทรงเล่าความในพระราชหฤทัยครั้งนั้นพระราชทานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระราชนัดดาไว้ว่า

“...เมื่อพวกเพื่อนนายทหารอังกฤษมาลาจะไปรบ และบอกท่านว่าเคราะห์ดีที่ไม่ต้องไปรบ ท่านละอายพระทัยจนไม่ทรงทราบว่าจะทำอย่างไร...”

แม้จะมิได้ทรงเข้าร่วมรบ แต่ได้ทรงมีน้ำพระราชหฤทัยเป็นที่ประจักษ์ว่าทรงกล้าหาญสมเป็นชายชาติทหารโดยแท้

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖