ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบันทึก Democracy in Siam"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ผลจากการพัฒนาสยามตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจ...' |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 11: | บรรทัดที่ 11: | ||
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | ||
*[https://www.youtube.com/watch?v=rVfYyPINpfE&index=22&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo YOU TUBE : ทรงครองสิริราชสมบัติ : พระราชบันทึก Democracy in Siam] | |||
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]] | [[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:11, 8 กันยายน 2558
ผลจากการพัฒนาสยามตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อให้เกิดความตื่นตัว ทางการเมืองในกลุ่มบุคคลที่ได้รับการศึกษาแบบตะวันตกจากทั้งในประเทศและต่างประเทศมาอย่างต่อเนื่อง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความจริงข้อนั้นทรงแสดงพระราชดำริต่อข้อถกเถียงที่ว่า .. การปกครองระบอบประชาธิปไตยเหมาะสมกับสยามหรือไม่ไว้ครั้งหนึ่งในพระราชบันทึกภาษาอังกฤษ “Democracy of Siam” ความว่า
“...ถ้าเรายอมรับกันว่าวันหนึ่งเราจะต้องถูกบังคับให้มีประชาธิปไตยบางแบบขึ้นในประเทศสยามแล้ว เราก็ต้องเตรียมตัวของเราให้พร้อมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เราจะต้องพยายามให้การศึกษาแก่ประชาชน ให้เขามีการรับรู้ในทางการเมือง ให้เขารู้จักผลประโยชน์อันแท้จริงของเขา ....ถ้าเราจะต้องมีรัฐสภากันแล้ว เราก็จะต้องสอนให้ประชาชนรู้จักเลือกตั้งว่าทำกันอย่างไร และรู้จักเลือกผู้แทนซึ่งเห็นแก่ประโยชน์ของประชาชนอยู่ในใจอย่างแท้จริง....”
กล่าวกันว่าการปรับปรุงสภาองคมนตรีในครั้งนั้น เป็นพระราชประสงค์ให้เป็นขั้นแรกแห่งความคิดการทดลองเพื่อศึกษาวิธีการอภิปรายในรัฐสภาสำหรับใช้งานจริงในวันข้างหน้า
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖