ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:บทความล่าสุด"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Suksan (Talk) ไปยังรุ่นของ Apirom
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''[[แนวทางในการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันการเมืองของไทย : ศึกษากรณีรัฐสภา]]'''
'''[[อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]]'''


จากผลการศึกษาของคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) เห็นว่า ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยนั้นมีหลายมิติ สรุปก็คือ ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ ด้านสิทธิ ด้านโอกาส ด้านอำนาจและด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และเห็นว่า ในประเทศไทย หากจัดประชากรออกเป็น ๕ กลุ่มตามรายได้และการถือครองทรัพย์สิน ปรากฏว่ากลุ่มบนสุดมีทรัพย์สินครัวเรือนถึงร้อยละ ๖๙ ในขณะที่กลุ่มคนต่ำสุดมีทรัพย์สินครัวเรือนอยู่ที่ร้อยละ ๑ เท่านั้น ส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มรวยสุดมีถึง ร้อยละ ๕๕ ในขณะที่กลุ่มจนสุดมีส่วนแบ่งเพียงร้อยละ ๔.๔ เท่านั้น[[แนวทางในการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันการเมืองของไทย : ศึกษากรณีรัฐสภา| อ่านต่อ...]]
นับตั้งแต่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นต้นมา การปกครองประเทศจะมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดและมีรัฐสภา เป็นสถาบันหลักที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น [[อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557| อ่านต่อ...]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:33, 19 กันยายน 2557

อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557

นับตั้งแต่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นต้นมา การปกครองประเทศจะมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดและมีรัฐสภา เป็นสถาบันหลักที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น อ่านต่อ...