ผลต่างระหว่างรุ่นของ "29 มกราคม พ.ศ. 2491"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:


----
----
วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491 เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ครั้งที่ 5 ของประเทศไทย แต่เป็นการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามปกติ หากแต่เกิดขึ้นหลังการยึดอำนาจโดยการรัฐประหารของคณะทหาร เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 และคณะทหารได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490 ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นายกรัฐมนตรีที่เข้ามาดำรงตำแหน่งหลังการรัฐประหาร คือ นายควง  อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491 เป็น[[การเลือกตั้งทั่วไป ครั้งที่ 5]] ของประเทศไทย แต่เป็นการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามปกติ หากแต่เกิดขึ้นหลัง[[การยึดอำนาจ]]โดยการ[[รัฐประหาร]]ของคณะทหาร เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 และคณะทหารได้ประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490]] ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 [[นายกรัฐมนตรี]]ที่เข้ามาดำรงตำแหน่งหลังการรัฐประหาร คือ [[นายควง  อภัยวงศ์]] หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
การเลือกตั้งครั้งนี้ใช้กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2490 และกฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2479 ที่กำหนดให้มีการเลือกตั้งแบบรวมเขต โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวนผู้แทนราษฎรที่ถูกกำหนดใหม่ตามกฎหมายในครั้งนี้ลดลงจากคราวก่อน เหลือจำนวน 99 คน  
การเลือกตั้งครั้งนี้ใช้[[กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2490]] และ[[กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2479]] ที่กำหนดให้มี[[การเลือกตั้งแบบรวมเขต]] โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวนผู้แทนราษฎรที่ถูกกำหนดใหม่ตามกฎหมายในครั้งนี้ลดลงจากคราวก่อน เหลือจำนวน 99 คน  
หลังการเลือกตั้งครั้งนี้ นายควง  อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ได้เข้าเป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศต่อมาอีกในระยะเวลาอันสั้น ครั้นถึงวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 คณะรัฐประหารก็ส่งนายทหารสี่คนมา “จี้” ให้นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง และนายควง  อภัยวงศ์ ก็ยอมลาออก หลังจากนั้นจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่มีคณะทหารสนับสนุนก็เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีสภาประกอบด้วยวุฒิสภากับสภาผู้แทนราษฎร โดยที่สภาชุดนี้ได้ทำหน้าที่นิติบัญญัติมาจนถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 คณะทหารชุดเดิมได้ยึดอำนาจอีกครั้ง เพื่อล้มรัฐธรรมนูญ ล้มรัฐบาลตัวเองและล้มรัฐสภา
หลังการเลือกตั้งครั้งนี้ นายควง  อภัยวงศ์ [[หัวหน้าพรรค]]ประชาธิปัตย์ ได้เข้าเป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศต่อมาอีกในระยะเวลาอันสั้น ครั้นถึงวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 คณะรัฐประหารก็ส่งนายทหารสี่คนมา “จี้” ให้นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง และนายควง  อภัยวงศ์ ก็ยอมลาออก หลังจากนั้น[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ที่มีคณะทหารสนับสนุนก็เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีสภาประกอบด้วย[[วุฒิสภา]]กับ[[สภาผู้แทนราษฎร]] โดยที่สภาชุดนี้ได้ทำหน้าที่นิติบัญญัติมาจนถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 คณะทหารชุดเดิมได้ยึดอำนาจอีกครั้ง เพื่อล้มรัฐธรรมนูญ ล้มรัฐบาลตัวเองและล้ม[[รัฐสภา]]


[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:25, 16 กันยายน 2556

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491 เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ครั้งที่ 5 ของประเทศไทย แต่เป็นการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามปกติ หากแต่เกิดขึ้นหลังการยึดอำนาจโดยการรัฐประหารของคณะทหาร เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 และคณะทหารได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490 ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นายกรัฐมนตรีที่เข้ามาดำรงตำแหน่งหลังการรัฐประหาร คือ นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งครั้งนี้ใช้กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2490 และกฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2479 ที่กำหนดให้มีการเลือกตั้งแบบรวมเขต โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวนผู้แทนราษฎรที่ถูกกำหนดใหม่ตามกฎหมายในครั้งนี้ลดลงจากคราวก่อน เหลือจำนวน 99 คน

หลังการเลือกตั้งครั้งนี้ นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ได้เข้าเป็นนายกรัฐมนตรี บริหารประเทศต่อมาอีกในระยะเวลาอันสั้น ครั้นถึงวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 คณะรัฐประหารก็ส่งนายทหารสี่คนมา “จี้” ให้นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง และนายควง อภัยวงศ์ ก็ยอมลาออก หลังจากนั้นจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่มีคณะทหารสนับสนุนก็เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีสภาประกอบด้วยวุฒิสภากับสภาผู้แทนราษฎร โดยที่สภาชุดนี้ได้ทำหน้าที่นิติบัญญัติมาจนถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 คณะทหารชุดเดิมได้ยึดอำนาจอีกครั้ง เพื่อล้มรัฐธรรมนูญ ล้มรัฐบาลตัวเองและล้มรัฐสภา