ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหรียญที่ระลึกในการสมโภชพระนคร 150 ปี"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
== ประวัติความเป็นมา == | == ประวัติความเป็นมา == | ||
เมื่อ พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นปีที่กรุงเทพมหานครครบ 150 ปี ในโอกาสนี้ นางสอาด ศิริสัมพันธ์ ช่างทอง ได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสร้างเหรียญที่ระลึกเพื่อจำหน่ายและนำรายได้ส่วนหนึ่งมอบสมทบทุนในการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม | เมื่อ พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นปีที่กรุงเทพมหานครครบ 150 ปี ในโอกาสนี้ นางสอาด ศิริสัมพันธ์ ช่างทอง ได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสร้างเหรียญที่ระลึกเพื่อจำหน่ายและนำรายได้ส่วนหนึ่งมอบสมทบทุนในการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานพระบรมราชานุญาต และได้มีพระราชหัตถเลขาชมเชยฝีมือและความคิด ทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตไปยัง[[กระทรวงกลาโหม]] ให้นายทหารตลอดจนนายสิบประดับเหรียญนี้ได้เช่นเดียวกับเสมาที่ได้รับพระราชทาน<ref>สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ร.7 บ.5 / 4 ขออนุญาตทำเหรียญและสิ่งของจำหน่ายในงานฉลองพระนครและวัดพระแก้ว.</ref> | ||
==อ้างอิง== | ==อ้างอิง== | ||
<references/> | <references/> | ||
[[หมวดหมู่:วัตถุชิ้นเอก|หเหรียญที่ระลึกในการสมโภชพระนคร 150 ปี]] | [[หมวดหมู่:วัตถุชิ้นเอก|หเหรียญที่ระลึกในการสมโภชพระนคร 150 ปี]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:41, 13 กันยายน 2553
ผู้เรียบเรียงพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว


ลักษณะ
ทองแดง
เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.0 เซนติเมตร
เป็นเหรียญกลม มีห่วงด้านบน ด้านหน้าแสดงพระบรมรูปทั้ง 7 รัชกาล (รัชกาลที่ 1 – 7) ด้านหลังเป็นรูปวัดพระศรีรัตนศาสดารามกับมีข้อความว่า ที่ระลึกในการสมโภชพระนครครบ 150 ปี พ.ศ. 2475
ประวัติความเป็นมา
เมื่อ พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นปีที่กรุงเทพมหานครครบ 150 ปี ในโอกาสนี้ นางสอาด ศิริสัมพันธ์ ช่างทอง ได้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสร้างเหรียญที่ระลึกเพื่อจำหน่ายและนำรายได้ส่วนหนึ่งมอบสมทบทุนในการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราชานุญาต และได้มีพระราชหัตถเลขาชมเชยฝีมือและความคิด ทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตไปยังกระทรวงกลาโหม ให้นายทหารตลอดจนนายสิบประดับเหรียญนี้ได้เช่นเดียวกับเสมาที่ได้รับพระราชทาน[1]
อ้างอิง
- ↑ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ร.7 บ.5 / 4 ขออนุญาตทำเหรียญและสิ่งของจำหน่ายในงานฉลองพระนครและวัดพระแก้ว.