ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระบวนการจัดทำพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทคว...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{รอผู้ทรง}}
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร


บรรทัดที่ 19: บรรทัดที่ 21:
ต่อมาเปลี่ยนรัฐบาลจาก ฯพณฯ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี เป็น ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ซึ่งได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2540 ได้ระบุชัดเจนว่า จะจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ต่อมาเปลี่ยนรัฐบาลจาก ฯพณฯ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี เป็น ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ซึ่งได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2540 ได้ระบุชัดเจนว่า จะจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


คณะกรรมการนโยบายและประสานการดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นประธาน ได้มอบหมายให้ สศช. รับไปตรวจสอบและดำเนินการให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ โดยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายสาวิตต์ โพธิวิหค) ซึ่งเป็นผู้กำกับดูแล สศช. ได้มอบนโยบายการดำเนินการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ โดยแบ่งงานออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ  
คณะกรรมการนโยบายและประสานการดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นประธาน ได้มอบหมายให้ สศช. รับไปตรวจสอบและดำเนินการให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ โดยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายสาวิตต์ โพธิวิหค) ซึ่งเป็นผู้กำกับดูแล สศช. ได้มอบนโยบายการดำเนินการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ โดยแบ่งงานออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ<ref>พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548 หน้า 47 – 52.</ref>


(1) กำหนดกรอบแนวคิดเรื่องสภาที่ปรึกษาฯ โดยตั้งคณะทำงานฯ ร่วมระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิจากในและนอกสำนักงานฯ รวมทั้งศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ อดีตเลขาธิการสภาร่างรัฐธรรมนูญฯ
(1) กำหนดกรอบแนวคิดเรื่องสภาที่ปรึกษาฯ โดยตั้งคณะทำงานฯ ร่วมระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิจากในและนอกสำนักงานฯ รวมทั้งศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ อดีตเลขาธิการสภาร่างรัฐธรรมนูญฯ
บรรทัดที่ 38: บรรทัดที่ 40:
'''เป้าหมาย :''' เพื่อให้การร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของรัฐบาลได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน สะท้อนความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง และสามารถนำมาซึ่งกฎหมายรองรับการจัดตั้งองค์กรให้คำปรึกษาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการมีส่วนร่วมจากประชาชนอย่างแท้จริง
'''เป้าหมาย :''' เพื่อให้การร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของรัฐบาลได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน สะท้อนความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง และสามารถนำมาซึ่งกฎหมายรองรับการจัดตั้งองค์กรให้คำปรึกษาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการมีส่วนร่วมจากประชาชนอย่างแท้จริง


ขั้นตอนการดำเนินงาน : ขั้นที่ 1 สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ขั้นที่ 2 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับตัวบุคคลและองค์กร ขั้นที่ 3 จัดเวทีสัมมนารับฟังความคิดเห็น
'''ขั้นตอนการดำเนินงาน :'''
ผลการสำรวจความคิดเห็น สรุปได้ 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ (1) ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ โดยเร็ว เพื่อสนองตอบต่อหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญในการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) เสนอให้ระบุอำนาจหน้าที่ของสภาที่ปรึกษาฯ ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 89 (3) ลักษณะขององค์กรเป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นอิสระ สมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ มาจากหลากหลายอาชีพในฐานะตัวแทนของเครือข่าย ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศมีความรู้ ภูมิปัญญาในกลุ่มอาชีพของตนเป็นอย่างดี (4) การดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นองค์กรที่ดำเนินงานในลักษณะการมีส่วนร่วม สร้างและเชื่อมต่อเครือข่าย โปร่งใสผ่านสื่อมวลชนให้ประชาชนรับทราบ โดยมีสำนักงานเลขานุการอย่างถาวร ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของ สศช. หรือจัดตั้งสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขึ้นมาใหม่ ทั้งนี้ในระยะเริ่มต้นให้อยู่ใน สศช. ตามข้อเสนอในร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ (5) สร้างระบบการเข้าเป็นสมาชิกโดยยึดหลักการทำงานเพื่อรับใช้ชาติ และไม่คำนึงถึงค่าตอบแทนเป็นแรงจูงใจ
 
ขั้นที่ 1 สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  
 
ขั้นที่ 2 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับตัวบุคคลและองค์กร  
 
ขั้นที่ 3 จัดเวทีสัมมนารับฟังความคิดเห็น
 
ผลการสำรวจความคิดเห็น สรุปได้ 5 ประเด็นหลัก ดังนี้
:::(1) ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ โดยเร็ว เพื่อสนองตอบต่อหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญในการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน  
 
:::(2) เสนอให้ระบุอำนาจหน้าที่ของสภาที่ปรึกษาฯ ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 89  


(2) การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ….
:::(3) ลักษณะขององค์กรเป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นอิสระ สมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ มาจากหลากหลายอาชีพในฐานะตัวแทนของเครือข่าย ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศมีความรู้ ภูมิปัญญาในกลุ่มอาชีพของตนเป็นอย่างดี


1) การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม – 7 มีนาคม 2543 รัฐบาลได้เห็นชอบในหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ โดยมีขั้นตอนดังนี้
:::(4) การดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นองค์กรที่ดำเนินงานในลักษณะการมีส่วนร่วม สร้างและเชื่อมต่อเครือข่าย โปร่งใสผ่านสื่อมวลชนให้ประชาชนรับทราบ โดยมีสำนักงานเลขานุการอย่างถาวร ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของ สศช. หรือจัดตั้งสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขึ้นมาใหม่ ทั้งนี้ในระยะเริ่มต้นให้อยู่ใน สศช. ตามข้อเสนอในร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ


- คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี พิชัย รัตตกุล เป็นประธาน มีมติเห็นชอบให้เสนอคณะรัฐมนตรี
:::(5) สร้างระบบการเข้าเป็นสมาชิกโดยยึดหลักการทำงานเพื่อรับใช้ชาติ และไม่คำนึงถึงค่าตอบแทนเป็นแรงจูงใจ


- คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2543
'''(2) การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ….'''


- คณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจแก้ไขร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 6 มีนาคม 2543
:::1) การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม 7 มีนาคม 2543 รัฐบาลได้เห็นชอบในหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ โดยมีขั้นตอนดังนี้


- คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543
::::- คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี พิชัย รัตตกุล เป็นประธาน มีมติเห็นชอบให้เสนอคณะรัฐมนตรี


2) การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 มีนาคม – 12 กรกฎาคม 2543
::::- คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2543


- วาระที่ 1 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2543
::::- คณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจแก้ไขร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม 2543


- วาระที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยมีนายสาวิตต์ โพธิวิหค เป็นประธาน และนายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ เป็นกรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมาธิการ
::::- คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543
- วาระที่ 3 มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ


3) การพิจารณาของวุฒิสภา เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 16 กันยายน 2543
:::2) การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 12 กรกฎาคม 2543


- วาระที่ 1 วุฒิสภารับหลักการ
::::- วาระที่ 1 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2543


- วาระที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยมีนายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง เป็นประธาน และนายนิรันดร์ พิทักษ์วัชระ เป็นกรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมการวิสามัญฯ
::::- วาระที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยมีนายสาวิตต์ โพธิวิหค เป็นประธาน และนายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ เป็นกรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมาธิการ
- วาระที่ 3 มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ
 
::::- วาระที่ 3 มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ
 
:::3) การพิจารณาของวุฒิสภา เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม – 16 กันยายน 2543
 
::::- วาระที่ 1 วุฒิสภารับหลักการ
 
::::- วาระที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยมีนายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง เป็นประธาน และนายนิรันดร์ พิทักษ์วัชระ เป็นกรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมการวิสามัญฯ
 
::::- วาระที่ 3 มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ


จากนั้นสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไขแล้วมีมติเห็นชอบและนายกรัฐมนตรีได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลง
จากนั้นสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไขแล้วมีมติเห็นชอบและนายกรัฐมนตรีได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลง
พระปรมาภิไธย และประกาศใช้เป็นกฎหมาย เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2543 โดยให้มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2543.
พระปรมาภิไธย และประกาศใช้เป็นกฎหมาย เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2543 โดยให้มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2543.
== ดูเพิ่มเติม ==
สถาพร วชิรโรจน์. ความคิดเห็นของประชาชนต่อสาระสำคัญในร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ภาคนิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม)สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2543.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ประมวลความคิดเห็นของประชาชน
เรื่อง สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ม.ป.ท., 2542.
www.nesac.go.th/
== ที่มา ==
 
พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548
พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543. 


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>
<references/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:26, 7 กันยายน 2553

บทความนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยโดยผู้ืทรงคุณวุฒิ

ผู้เรียบเรียง วัชรา ไชยสาร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ พรรณราย ขันธกิจ


พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 ได้บัญญัติขึ้นตามมาตรา 89 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยเพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามหมวดว่าด้วยแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ให้รัฐจัดให้มีสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมีหน้าที่ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งให้ความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติก่อนพิจารณาประกาศใช้ ทั้งนี้ องค์ประกอบ ที่มา อำนาจหน้าที่ และการดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

ความเป็นมา

หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้แก่ ฯพณฯ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานการดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญซึ่งจะต้องจัดทำกฎหมายหลายลักษณะด้วยกัน รวมทั้งจะต้องตราพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขึ้นมารองรับการดำเนินงานให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฯ เช่นกัน

ในเบื้องต้นนั้น ให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เป็นหน่วยงานในการรับไปดำเนินการโดยมีข้อสังเกตว่า ควรจะออกกฎหมายใหม่หรือแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2521

สศช. ได้จัดแต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาปรับบทบาทและโครงสร้าง สศช. เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ โดยมีนายธรรมรักษ์ การพิศิษฎ์ เป็นประธาน และนางสาวพรรณราย ขันธกิจ เป็นคณะทำงานและเลขานุการ มีหน้าที่พิจารณาเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาตรา 89 ในการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแนวทางการออกพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ต่อมาเปลี่ยนรัฐบาลจาก ฯพณฯ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี เป็น ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ซึ่งได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2540 ได้ระบุชัดเจนว่า จะจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

คณะกรรมการนโยบายและประสานการดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นประธาน ได้มอบหมายให้ สศช. รับไปตรวจสอบและดำเนินการให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ โดยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายสาวิตต์ โพธิวิหค) ซึ่งเป็นผู้กำกับดูแล สศช. ได้มอบนโยบายการดำเนินการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ โดยแบ่งงานออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ[1]

(1) กำหนดกรอบแนวคิดเรื่องสภาที่ปรึกษาฯ โดยตั้งคณะทำงานฯ ร่วมระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิจากในและนอกสำนักงานฯ รวมทั้งศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ อดีตเลขาธิการสภาร่างรัฐธรรมนูญฯ

(2) นำกรอบแนวคิดไปรับฟังความคิดเห็นจากอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญฯ (สสร.) ที่เกี่ยวข้องกับการบทบัญญัติมาตรา 89 ตัวแทนกลุ่มประชาชนจากภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ ตัวแทนผู้ทรงคุณวุฒิจากหลายสาขา ตัวแทนอาชีพและกิจกรรม หัวหน้าหน่วยงานที่จะเกี่ยวข้องกับสภาฯ คณะกรรมการสภาพัฒน์ และคณะผู้บริหารของสภาพัฒน์

(3) จัดตั้ง “คณะกรรมการดำเนินการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” จากผู้ทรงคุณวุฒิกับบุคคลจากภาคประชาชนในทุกภาคส่วน โดยมีนายวิษณุ เครืองาม เป็นประธานคณะกรรมการ และนางสาวพรรณราย ขันธกิจ เป็นกรรมการและเลขานุการ กำหนดให้ทำหน้าที่พิจารณากำหนดรูปแบบองค์กรสภาที่ปรึกษาฯ ให้มีบทบาทและหน้าที่สอดคล้องตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญ พร้อมจัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบขององค์กรการดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาฯ และความสัมพันธ์กับรัฐบาล ยกร่างกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ

(4) มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการดำเนินการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจัดทำ “โครงการรับฟังความคิดเห็นเรื่อง สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” โดยมีร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ของคณะกรรมการดำเนินการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นร่างต้นแบบออกรับความคิดเห็นจากประชาชน

กระบวนการตราพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

(1) การรับฟังความคิดเห็น

วัตถุประสงค์: เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นที่จะนำไปสู่การจัดตั้งองค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ และตรงความต้องการของประชาชนทุกกลุ่ม

เป้าหมาย : เพื่อให้การร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของรัฐบาลได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน สะท้อนความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง และสามารถนำมาซึ่งกฎหมายรองรับการจัดตั้งองค์กรให้คำปรึกษาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการมีส่วนร่วมจากประชาชนอย่างแท้จริง

ขั้นตอนการดำเนินงาน :

ขั้นที่ 1 สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ขั้นที่ 2 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับตัวบุคคลและองค์กร

ขั้นที่ 3 จัดเวทีสัมมนารับฟังความคิดเห็น

ผลการสำรวจความคิดเห็น สรุปได้ 5 ประเด็นหลัก ดังนี้

(1) ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรจัดตั้งสภาที่ปรึกษาฯ โดยเร็ว เพื่อสนองตอบต่อหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญในการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
(2) เสนอให้ระบุอำนาจหน้าที่ของสภาที่ปรึกษาฯ ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 89
(3) ลักษณะขององค์กรเป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นอิสระ สมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ มาจากหลากหลายอาชีพในฐานะตัวแทนของเครือข่าย ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศมีความรู้ ภูมิปัญญาในกลุ่มอาชีพของตนเป็นอย่างดี
(4) การดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นองค์กรที่ดำเนินงานในลักษณะการมีส่วนร่วม สร้างและเชื่อมต่อเครือข่าย โปร่งใสผ่านสื่อมวลชนให้ประชาชนรับทราบ โดยมีสำนักงานเลขานุการอย่างถาวร ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งของ สศช. หรือจัดตั้งสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขึ้นมาใหม่ ทั้งนี้ในระยะเริ่มต้นให้อยู่ใน สศช. ตามข้อเสนอในร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ
(5) สร้างระบบการเข้าเป็นสมาชิกโดยยึดหลักการทำงานเพื่อรับใช้ชาติ และไม่คำนึงถึงค่าตอบแทนเป็นแรงจูงใจ

(2) การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ….

1) การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม – 7 มีนาคม 2543 รัฐบาลได้เห็นชอบในหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ โดยมีขั้นตอนดังนี้
- คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี พิชัย รัตตกุล เป็นประธาน มีมติเห็นชอบให้เสนอคณะรัฐมนตรี
- คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2543
- คณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจแก้ไขร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม 2543
- คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543
2) การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 มีนาคม – 12 กรกฎาคม 2543
- วาระที่ 1 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2543
- วาระที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยมีนายสาวิตต์ โพธิวิหค เป็นประธาน และนายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ เป็นกรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมาธิการ
- วาระที่ 3 มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ
3) การพิจารณาของวุฒิสภา เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม – 16 กันยายน 2543
- วาระที่ 1 วุฒิสภารับหลักการ
- วาระที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ โดยมีนายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง เป็นประธาน และนายนิรันดร์ พิทักษ์วัชระ เป็นกรรมาธิการและเลขานุการคณะกรรมการวิสามัญฯ
- วาระที่ 3 มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ

จากนั้นสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไขแล้วมีมติเห็นชอบและนายกรัฐมนตรีได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลง พระปรมาภิไธย และประกาศใช้เป็นกฎหมาย เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2543 โดยให้มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2543.

ดูเพิ่มเติม

สถาพร วชิรโรจน์. ความคิดเห็นของประชาชนต่อสาระสำคัญในร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษา

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ภาคนิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม)สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2543.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ประมวลความคิดเห็นของประชาชน

เรื่อง สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ม.ป.ท., 2542.

www.nesac.go.th/

ที่มา

พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548

พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543.

อ้างอิง

  1. พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548 หน้า 47 – 52.