ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง"
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒิป... |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
== กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง == | == กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง == | ||
คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง ประกอบด้วยกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 9 คน สำหรับองค์ประกอบของคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการ 2 คน | คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง ประกอบด้วยกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 9 คน สำหรับองค์ประกอบของคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการ 2 คน ซึ่งได้รับการพิจารณาแต่งตั้งโดย[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]]ประจำ[[เขตเลือกตั้ง]]โดยตรง และกรรมการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งขึ้นจากรายชื่อบุคคล ซึ่งได้รับการเสนอรายชื่อโดยผู้แทน[[พรรคการเมือง]]ที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น หรือพรรคที่ส่งสมัคร[[การเลือกตั้งแบบระบบบัญชีรายชื่อ|แบบบัญชีรายชื่อ]] โดยแต่ละพรรคจะเสนอรายชื่อตัวแทนของพรรคเพื่อเข้ารับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งได้จำนวนพรรคละ 1 คนในแต่ละหน่วยเลือกตั้ง และต้องเสนอรายชื่อตัวแทนพรรคต่อคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน | ||
คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมีหน้าที่กำกับดูแลให้การเลือกตั้งในหน่วยที่รับผิดชอบ เป็นไปด้วยความสุจริตและเที่ยงธรรม นอกจากนี้ คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งยังมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม[[กฎหมาย]] ประกาศ ระเบียบ ข้อกำหนด คำสั่ง และมติของคณะกรรมการการเลือกตั้งอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ในการ[[กำกับดูแล]][[การเลือกตั้ง]]นั้น คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจะต้องผ่านการเข้ารับการอบรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบของตน ตลอดจนรับทราบถึงกฎหมาย ระเบียบ ข้อกำหนด คำสั่ง และมติของคณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างครบถ้วนเสียก่อน โดยผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งจะต้องให้มีการฝึกอบรมคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน | |||
ในการปฏิบัติหน้าที่ในวันเลือกตั้งนั้น คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจะต้องจัดแบ่งหน้าที่กัน โดยแบ่งออกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ประกอบด้วย ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย | ในการปฏิบัติหน้าที่ในวันเลือกตั้งนั้น คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจะต้องจัดแบ่งหน้าที่กัน โดยแบ่งออกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ประกอบด้วย ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย ฝ่ายตรวจ[[บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง]] ฝ่ายส่ง[[บัตรเลือกตั้ง]] ฝ่ายควบคุมดูแล[[คูหาลงคะแนน]] และฝ่ายควบคุม[[หีบบัตร]]เลือกตั้ง ส่วนกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่เหลือ จะคอยทำหน้าที่สับเปลี่ยนช่วยเหลือกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งฝ่ายต่าง ๆ ดังกล่าว | ||
กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งแต่ละฝ่าย มีขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบโดยสังเขป ดังนี้ ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อยในที่เลือกตั้ง | กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งแต่ละฝ่าย มีขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบโดยสังเขป ดังนี้ ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อยในที่เลือกตั้ง มีหน้าที่จัดระเบียบและควบคุมดูแลให้ความสะดวกแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาแสดงตนใช้สิทธิ[[ลงคะแนน]] โดยกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งฝ่ายนี้จะต้องกำกับดูแลให้การดำเนินการเลือกตั้งเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นระเบียบ โดยมีเจ้าหน้าที่ของรัฐทำหน้าที่รักษาความปลอดภัย หรือผู้ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเหลือ | ||
ฝ่ายตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง อ่านชื่อ และที่อยู่และหมายเหตุในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ฝ่ายส่งบัตรเลือกตั้ง มีหน้าที่ส่งบัตรเลือกตั้งให้กับผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาแสดงตนเพื่อใช้สิทธิลงคะแนน เมื่อได้ตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งจากฝ่ายตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งแล้ว ฝ่ายควบคุมดูแลคูหาลงคะแนน มีหน้าที่จัดระเบียบในการเข้าไปลงคะแนนในคูหาลงคะแนนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สุจริตและเที่ยงธรรม รวมถึงการอำนวยความสะดวกแก่ผู้พิการ ฝ่ายควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง มีหน้าที่ควบคุมดูแลหีบบัตรเลือกตั้ง และอำนวยความสะดวกในการหย่อนบัตรเลือกตั้งของ[[ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง]] | |||
== ที่มา == | == ที่มา == | ||
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 | |||
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 | ||
บรรทัดที่ 29: | บรรทัดที่ 29: | ||
ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งและคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 | ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งและคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 | ||
“ข้อกำหนดคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการแต่งตั้งและวิธีการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร” ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 115 ตอนที่ 95 ก วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2541 หน้า 9-16 | |||
[[หมวดหมู่:ตำแหน่งสำำคัญในพรรคการเมือง]] | [[หมวดหมู่:ตำแหน่งสำำคัญในพรรคการเมือง]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:57, 3 พฤษภาคม 2554
ผู้เรียบเรียง นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง
คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง ประกอบด้วยกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 9 คน สำหรับองค์ประกอบของคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการ 2 คน ซึ่งได้รับการพิจารณาแต่งตั้งโดยคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งโดยตรง และกรรมการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งขึ้นจากรายชื่อบุคคล ซึ่งได้รับการเสนอรายชื่อโดยผู้แทนพรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น หรือพรรคที่ส่งสมัครแบบบัญชีรายชื่อ โดยแต่ละพรรคจะเสนอรายชื่อตัวแทนของพรรคเพื่อเข้ารับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งได้จำนวนพรรคละ 1 คนในแต่ละหน่วยเลือกตั้ง และต้องเสนอรายชื่อตัวแทนพรรคต่อคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน
คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมีหน้าที่กำกับดูแลให้การเลือกตั้งในหน่วยที่รับผิดชอบ เป็นไปด้วยความสุจริตและเที่ยงธรรม นอกจากนี้ คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งยังมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ ข้อกำหนด คำสั่ง และมติของคณะกรรมการการเลือกตั้งอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ในการกำกับดูแลการเลือกตั้งนั้น คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจะต้องผ่านการเข้ารับการอบรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบของตน ตลอดจนรับทราบถึงกฎหมาย ระเบียบ ข้อกำหนด คำสั่ง และมติของคณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างครบถ้วนเสียก่อน โดยผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งจะต้องให้มีการฝึกอบรมคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน
ในการปฏิบัติหน้าที่ในวันเลือกตั้งนั้น คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจะต้องจัดแบ่งหน้าที่กัน โดยแบ่งออกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ประกอบด้วย ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย ฝ่ายตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ฝ่ายส่งบัตรเลือกตั้ง ฝ่ายควบคุมดูแลคูหาลงคะแนน และฝ่ายควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง ส่วนกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่เหลือ จะคอยทำหน้าที่สับเปลี่ยนช่วยเหลือกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งฝ่ายต่าง ๆ ดังกล่าว
กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งแต่ละฝ่าย มีขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบโดยสังเขป ดังนี้ ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อยในที่เลือกตั้ง มีหน้าที่จัดระเบียบและควบคุมดูแลให้ความสะดวกแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาแสดงตนใช้สิทธิลงคะแนน โดยกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งฝ่ายนี้จะต้องกำกับดูแลให้การดำเนินการเลือกตั้งเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นระเบียบ โดยมีเจ้าหน้าที่ของรัฐทำหน้าที่รักษาความปลอดภัย หรือผู้ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเหลือ
ฝ่ายตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง อ่านชื่อ และที่อยู่และหมายเหตุในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ฝ่ายส่งบัตรเลือกตั้ง มีหน้าที่ส่งบัตรเลือกตั้งให้กับผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มาแสดงตนเพื่อใช้สิทธิลงคะแนน เมื่อได้ตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งจากฝ่ายตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งแล้ว ฝ่ายควบคุมดูแลคูหาลงคะแนน มีหน้าที่จัดระเบียบในการเข้าไปลงคะแนนในคูหาลงคะแนนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สุจริตและเที่ยงธรรม รวมถึงการอำนวยความสะดวกแก่ผู้พิการ ฝ่ายควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง มีหน้าที่ควบคุมดูแลหีบบัตรเลือกตั้ง และอำนวยความสะดวกในการหย่อนบัตรเลือกตั้งของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ที่มา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550
ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งและคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง พ.ศ. 2550
“ข้อกำหนดคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการแต่งตั้งและวิธีการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร” ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 115 ตอนที่ 95 ก วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2541 หน้า 9-16